• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:6e11a79f9503d06a29df19171779ab4b' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><div align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff6600\"><b>เศรษฐกิจ</b> </span>\n</div>\n<p style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" src=\"/files/u19301/465d2f0d3ab59.gif\" style=\"width: 77px; height: 13px\" height=\"13\" width=\"280\" />\n</p>\n<p>\n<br />\n    <span style=\"color: #0000ff\">สมัยรัชกาลที่ 2 บ้านเมืองว่างจากการศึกสงคราม จึงมีการค้าขายเจริญรุ่งเรืองกว่าแต่ก่อนกล่าวคือ มีการติดต่อค้าขายกับประเทศเพื่อนบ้านมากมาย เช่น จีน อินเดีย มะละกา สิงคโปร์ ญวน และเขมร เป็นต้น สำหรับประเทศทางตะวันตก ได้แก่ โปรตุเกส อังกฤษ อเมริกาโดยวิธีดำเนินการค้าขาย ของหลวงยังคงให้พระคลังสินค้าจัดการ ตามที่เคย ปฎิบัติมา มีเจ้าลูกยาเธอกรมหมื่นเจษฎาบดินทร์ เป็นหัวแรง ในการแต่งสำเภาหลวงติดต่อค้าขายกับจีนและประเทศอื่น ๆ จนได้รับพระราชทานสมญาว่า“เจ้าสัว” ในรัชการนี้มีเรือกำปันหลวงที่ใช้ในการค้าขายที่สำคัญ 2 ลำ คือ เรือมาลาพระนครและเรือเหราข้ามสมุทร สินค้าที่ผูกขาย ในสมัยนี้ ที่เป็นสินค้าขาออกมี 10 ชนิด คือ รังนก ฝาง ดีบุก พริกไทย เนื้อไม้ ผลเร่ว ตะกั่ว งาช้าง รงและช้าง สินค้า ที่ห้ามส่งออกโดยเด็ดขาด คือ ข้าวเปลือกและข้าวสาร ส่วนสินค้าขาเข้าก็มี ปืนและดินปืน<br />\nการปรับปรุงภาษีอากร ลักษณะการเก็บภาษีอากรยังคงเหมือนสมัยรัชกาลที่1 มีการปรับปรุงเพิ่มเติมดังนี้<br />\n1 . การเดินสวน คือการแต่งเจ้าพนักงานออกไปสำรวจสวนของราษฎร ์ในการเก็บอากรสวนตามชนิดของ ผลไม้ ดังนี้ <br />\n1.1 อากรสวนใหญ่ เป็นการเก็บภาษีจากผลไม้ยืนต้นชั้นดี มี 7 ชนิด ได้แก่<br />\nทุเรียน มังคุด มะม่วง มะปราง ลางสาด หมากและพลูค้างทองหลาง <br />\n1.2 พลากร เป็นภาษีที่เก็บจากผลไม้ชั้นรอง มี 8 ชนิด ได้แก่<br />\nขนุน สะท้อน เงาะ ส้ม มะไฟ ฝรั่ง สับปะรดและสาเก <br />\n1.3 อากรสมพัตสร เป็นภาษีที่เก็บจากผลไม้ล้มลุก เช่น กล้วย อ้อย เป็นต้น</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\">2 . การเดินนา คล้ายกับการเดินสวน การเก็บอากรค่านา เรียกว่า “<strong>หางข้าว</strong>” โดยแบ่งนาออกเป็น 2 ประเภท คือ นาน้ำท่า และนางฟางลอย<br />\n2.1 นาน้ำท่า หรือ นาคู่โค หมายถึงนาที่สามารถปลูกข้าวได้หลายครั้งในหนึ่งปีโดยอาศัยน้ำฝนหรือน้ำท่า วิธีการเก็บภาษี หรือหางข้าว*ของนาประเภทนี้ เก็บด้วยวิธีดูคู่โคคือการนับโคหรือกระบือที่ใช้ไถนาโดยการคำนวณว่าโคหนึ่งคู่จะสามารถใช้ทำนาในผืนดินที่นานั้น ๆ ได้ปีละเท่าใดแล้วเอาเกณฑ์จำนวนโคขึ้นจั้งเป็นอัตราหางข้าวที่จะต้องเสียภาษี นาประเภทนี้จึงเรียกอีกนัยหนึ่งว่า &quot;<strong>นาคู่โค</strong>&quot; ฉะนั้นนาคู่โคนี้ราษฎรจะทำนาหรือไม่ก็ตามก็จะต้องเสียภาษี(หางข้าว)ตลอดไป เมื่อทางราชการ จัดพนักงานหรือข้าหลวงเดินนามาสำรวจแล้วรัฐบาลจะออกหนังสือให้เจ้าของที่นาถือไว้เป็นหลักฐานในการเรียกเก็บหางข้าวหรืออากร<br />\nค่านาต่อไป หนังสือสัญญานี้เรียกว่า &quot;<strong>ตราแดง</strong>&quot; <br />\n2.2 นาฟางลอย หรือ นาดอน หมายถึงนาที่สามารถปลูกข้าวโดยอาศัยน้ำฝนเพียงอย่างเดียว เป็นนาในที่ดอนน้ำท่าขึ้นไม่ถึง วิธีเก็บภาษีหางข้าวสำหรับนาประเภทนี้เก็บจากนาที่สามารถปลูกข้าวได้จริง ถ้าปีใดไม่ได้ทำหรือทำไม่ได้ ก็ไม่ต้องเสียอากรค่านาและถือเอาตอฟางที่เก็บเกี่ยวแล้ว เป็นเกณฑ์ในการเก็บค่านา เมื่อทางราชการ จัดพนักงานหรือข้าหลวงเดินนา มาสำรวจแล้ว รัฐบาลจะออกหนังสือให้เจ้าของที่นาถือไว้เป็นหลักฐานในการเรียกเก็บหางข้าวหรืออากรค่านาต่อไป หนังสือสัญญานี้ เรียกว่า &quot;<strong>ใบจอง</strong>&quot; </span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/46362\"><span style=\"color: #ff0000\"><strong><img border=\"0\" src=\"/files/u19301/826561xilx6k07c6.gif\" height=\"70\" width=\"70\" />กลับหน้าหลัก</strong></span></a><span style=\"color: #ff0000\"><strong>                               </strong></span><a href=\"/node/45491\"><span style=\"color: #ff0000\"><strong>หน้าถัดไป</strong></span></a><span style=\"color: #ff0000\"><strong>                </strong></span><a href=\"/node/45496\"><span style=\"color: #ff0000\"><strong>ย้อนกลับ</strong></span></a><img border=\"0\" src=\"/files/u19301/826561xilx6k07c6.gif\" height=\"70\" width=\"70\" /> \n</p>\n', created = 1727912641, expire = 1727999041, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:6e11a79f9503d06a29df19171779ab4b' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

เศรษฐกิจ ร.2

เศรษฐกิจ


    สมัยรัชกาลที่ 2 บ้านเมืองว่างจากการศึกสงคราม จึงมีการค้าขายเจริญรุ่งเรืองกว่าแต่ก่อนกล่าวคือ มีการติดต่อค้าขายกับประเทศเพื่อนบ้านมากมาย เช่น จีน อินเดีย มะละกา สิงคโปร์ ญวน และเขมร เป็นต้น สำหรับประเทศทางตะวันตก ได้แก่ โปรตุเกส อังกฤษ อเมริกาโดยวิธีดำเนินการค้าขาย ของหลวงยังคงให้พระคลังสินค้าจัดการ ตามที่เคย ปฎิบัติมา มีเจ้าลูกยาเธอกรมหมื่นเจษฎาบดินทร์ เป็นหัวแรง ในการแต่งสำเภาหลวงติดต่อค้าขายกับจีนและประเทศอื่น ๆ จนได้รับพระราชทานสมญาว่า“เจ้าสัว” ในรัชการนี้มีเรือกำปันหลวงที่ใช้ในการค้าขายที่สำคัญ 2 ลำ คือ เรือมาลาพระนครและเรือเหราข้ามสมุทร สินค้าที่ผูกขาย ในสมัยนี้ ที่เป็นสินค้าขาออกมี 10 ชนิด คือ รังนก ฝาง ดีบุก พริกไทย เนื้อไม้ ผลเร่ว ตะกั่ว งาช้าง รงและช้าง สินค้า ที่ห้ามส่งออกโดยเด็ดขาด คือ ข้าวเปลือกและข้าวสาร ส่วนสินค้าขาเข้าก็มี ปืนและดินปืน
การปรับปรุงภาษีอากร ลักษณะการเก็บภาษีอากรยังคงเหมือนสมัยรัชกาลที่1 มีการปรับปรุงเพิ่มเติมดังนี้
1 . การเดินสวน คือการแต่งเจ้าพนักงานออกไปสำรวจสวนของราษฎร ์ในการเก็บอากรสวนตามชนิดของ ผลไม้ ดังนี้
1.1 อากรสวนใหญ่ เป็นการเก็บภาษีจากผลไม้ยืนต้นชั้นดี มี 7 ชนิด ได้แก่
ทุเรียน มังคุด มะม่วง มะปราง ลางสาด หมากและพลูค้างทองหลาง
1.2 พลากร เป็นภาษีที่เก็บจากผลไม้ชั้นรอง มี 8 ชนิด ได้แก่
ขนุน สะท้อน เงาะ ส้ม มะไฟ ฝรั่ง สับปะรดและสาเก
1.3 อากรสมพัตสร เป็นภาษีที่เก็บจากผลไม้ล้มลุก เช่น กล้วย อ้อย เป็นต้น

2 . การเดินนา คล้ายกับการเดินสวน การเก็บอากรค่านา เรียกว่า “หางข้าว” โดยแบ่งนาออกเป็น 2 ประเภท คือ นาน้ำท่า และนางฟางลอย
2.1 นาน้ำท่า หรือ นาคู่โค หมายถึงนาที่สามารถปลูกข้าวได้หลายครั้งในหนึ่งปีโดยอาศัยน้ำฝนหรือน้ำท่า วิธีการเก็บภาษี หรือหางข้าว*ของนาประเภทนี้ เก็บด้วยวิธีดูคู่โคคือการนับโคหรือกระบือที่ใช้ไถนาโดยการคำนวณว่าโคหนึ่งคู่จะสามารถใช้ทำนาในผืนดินที่นานั้น ๆ ได้ปีละเท่าใดแล้วเอาเกณฑ์จำนวนโคขึ้นจั้งเป็นอัตราหางข้าวที่จะต้องเสียภาษี นาประเภทนี้จึงเรียกอีกนัยหนึ่งว่า "นาคู่โค" ฉะนั้นนาคู่โคนี้ราษฎรจะทำนาหรือไม่ก็ตามก็จะต้องเสียภาษี(หางข้าว)ตลอดไป เมื่อทางราชการ จัดพนักงานหรือข้าหลวงเดินนามาสำรวจแล้วรัฐบาลจะออกหนังสือให้เจ้าของที่นาถือไว้เป็นหลักฐานในการเรียกเก็บหางข้าวหรืออากร
ค่านาต่อไป หนังสือสัญญานี้เรียกว่า "ตราแดง"
2.2 นาฟางลอย หรือ นาดอน หมายถึงนาที่สามารถปลูกข้าวโดยอาศัยน้ำฝนเพียงอย่างเดียว เป็นนาในที่ดอนน้ำท่าขึ้นไม่ถึง วิธีเก็บภาษีหางข้าวสำหรับนาประเภทนี้เก็บจากนาที่สามารถปลูกข้าวได้จริง ถ้าปีใดไม่ได้ทำหรือทำไม่ได้ ก็ไม่ต้องเสียอากรค่านาและถือเอาตอฟางที่เก็บเกี่ยวแล้ว เป็นเกณฑ์ในการเก็บค่านา เมื่อทางราชการ จัดพนักงานหรือข้าหลวงเดินนา มาสำรวจแล้ว รัฐบาลจะออกหนังสือให้เจ้าของที่นาถือไว้เป็นหลักฐานในการเรียกเก็บหางข้าวหรืออากรค่านาต่อไป หนังสือสัญญานี้ เรียกว่า "ใบจอง"

 

กลับหน้าหลัก                               หน้าถัดไป                ย้อนกลับ 

สร้างโดย: 
นางสาวสิริมา ธนมาศพูนทรัพย์

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 433 คน กำลังออนไลน์