• user warning: Duplicate entry '536306482' for key 'PRIMARY' query: INSERT INTO accesslog (title, path, url, hostname, uid, sid, timer, timestamp) values('พุทธรักษา... ดอกไม้ที่คุณลืม', 'node/4812', '', '3.147.49.81', 0, 'b850ae6068377c1a7fed6c832ae07ff6', 142, 1716889478) in /home/tgv/htdocs/modules/statistics/statistics.module on line 63.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:da364e2f4983aaa472d8d1e86c3eef83' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<img border=\"0\" src=\"/files/u19678/1.jpg\" style=\"width: 628px; height: 124px\" align=\"top\" height=\"124\" width=\"600\" />\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n <a href=\"/node/45196\"><img border=\"0\" src=\"/files/u19678/a.jpg\" style=\"width: 159px; height: 54px\" align=\"top\" height=\"62\" width=\"200\" /></a><a href=\"/node/47108\"><img border=\"0\" src=\"/files/u19678/c.jpg\" style=\"width: 153px; height: 54px\" align=\"top\" height=\"62\" width=\"200\" /></a><a href=\"/node/47162\"><img border=\"0\" src=\"/files/u19678/e.jpg\" style=\"width: 152px; height: 53px\" align=\"top\" height=\"62\" width=\"200\" /></a><a href=\"/node/47170\"><img border=\"0\" src=\"/files/u19678/h.jpg\" style=\"width: 150px; height: 52px\" align=\"top\" height=\"62\" width=\"200\" /></a>\n</p>\n<p>\n<a href=\"/node/47262\"><img border=\"0\" src=\"/files/u19678/b.jpg\" style=\"width: 161px; height: 55px\" align=\"top\" height=\"62\" width=\"200\" /></a><a href=\"/node/45873\"><img border=\"0\" src=\"/files/u19678/d.jpg\" style=\"width: 156px; height: 54px\" align=\"top\" height=\"62\" width=\"200\" /></a><a href=\"/node/46175\"><img border=\"0\" src=\"/files/u19678/f.jpg\" style=\"width: 149px; height: 54px\" align=\"top\" height=\"62\" width=\"200\" /></a><a href=\"/node/42214\"><img border=\"0\" src=\"/files/u19678/clock111.jpg\" style=\"width: 130px; height: 146px\" align=\"top\" height=\"589\" width=\"387\" /> </a></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" src=\"/files/u19678/47afce77794ef.gif\" style=\"width: 588px; height: 27px\" height=\"30\" width=\"250\" />\n</div>\n<p>\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #ffff00; color: #ff0000\"><strong>1. การแบ่งเซลล์ของร่างกายมนุษย์ มีการแบ่งตัวประมาณ 50 ครั้ง ในชั่วอายุขัย</strong></span>\n</p>\n<p>\n<br />\n                   <span style=\"color: #d42a83\">สเต็มเซลล์ (Stem Cell)</span> <span style=\"color: #3366ff\">หรือที่เรียกว่า</span> <span style=\"color: #d42a83\">เซลล์ต้นกำเนิด</span> <span style=\"color: #3366ff\">เป็นเซลล์อ่อนที่พร้อมจะเจริญเติบโต แบ่งตัวเองขึ้น </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">มาใหม่ และเปลี่ยนแปลงเพื่อไปทำหน้าที่อย่างใดอย่างหนึ่ง เซลล์แต่ละเซลล์ในร่างกายของมนุษย์จะทำหน้าที่จำเพาะ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">อย่างใดอย่างหนึ่งโดยไม่ย้อนกลับมา ซึ่งเซลล์ที่พัฒนาไปจนสุดทางจนเป็นเซลล์ที่ทำหน้าที่เฉพาะเจาะจง ตัวอย่างเช่น </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\"> เซลล์กล้ามเนื้อหัวใจ หรือเซลล์สมอง เซลล์เหล่านี้เมื่อตายไปแล้ว จะไม่มีเซลล์ใหม่มาทดแทน ในขณะเดียวกันร่างกาย </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">ของคนเราก็ยังมีเซลล์อีกกลุ่มหนึ่งที่สามารถเติบโตได้อีก โดยสเต็มเซลล์ หรือเซลล์ต้นกำเนิดพวกนี้สามารถพัฒนาไป </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">เป็นเซลล์ที่ทำหน้าที่เฉพาะเจาะจงได้ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\"></span>\n</p>\n<p>\n                 <span style=\"color: #3366ff\">  สเต็มเซลล์ หรือเซลล์ต้นกำเนิด มีคุณสมบัติเด่นที่เป็นปัจจัยให้นักวิทยาศาสตร์ทั่วโลกสนใจเซลล์ชนิดนี้กันมาก </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">เนื่องจาก</span><span style=\"color: #d42a83\">เป็นเซลล์ที่ไม่ได้ทำหน้าที่เฉพาะเจาะจง แต่สามารถเปลี่ยนไปเป็นเซลล์ที่ทำหน้าที่เฉพาะเจาะจงได้</span><span style=\"color: #3366ff\"> และสเต็มเซลล์ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">เป็นเซลล์ที่มีความสามารถแบ่งตัวเองขึ้นมาใหม่ครั้งแล้วครั้งเล่า </span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #d42a83\"><strong><u>*** การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส (mitosis) ****</u></strong></span>\n</p>\n<p>\n<br />\n                   <span style=\"color: #3366ff\">การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส เป็นการแบ่งเซลล์ เพื่อเพิ่มจำนวนเซลล์ของร่างกาย ในการเจริญเติบโต ในสิ่งมีชีวิต </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">หลายเซลล์ หรือในการแบ่งเซลล์ เพื่อการสืบพันธุ์ ในสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว และหลายเซลล์บางชนิด </span>\n</p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"color: #339966\">•  ไม่มีการลดจำนวนชุดโครโมโซม ( 2n ไป 2n หรือ n ไป n )</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">•  เมื่อสิ้นสุดการแบ่งเซลล์จะได้ 2 เซลล์ใหม่ที่มีโครโมโซมเท่าๆ กัน และเท่ากับเซลล์ตั้งต้น</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #339966\">•  พบที่เนื้อเยื่อเจริญปลายยอด , ปลายราก , แคมเบียม ของพืชหรือเนื้อเยื่อบุผิว , ไขกระดูกในสัตว์ , การสร้างสเปิร์ม </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #339966\">และไข่ของพืช</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">•  มี 5 ระยะ คือ อินเตอร์เฟส ( interphase), โพรเฟส ( prophase), เมทาเฟส (metaphase), แอนาเฟส ( anaphase) </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\">และเทโลเฟส ( telophase) </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #3366ff\"></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" src=\"/files/u19678/mitosis.jpg\" align=\"middle\" height=\"507\" width=\"500\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\nขอขอบคุณที่มาของภาพจาก : <a href=\"https://dbscience3.wikispaces.com/file/view/mitosis.jpg/63281416\">https://dbscience3.wikispaces.com/file/view/mitosis.jpg/63281416</a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<br />\n \n</p>\n', created = 1716889508, expire = 1716975908, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:da364e2f4983aaa472d8d1e86c3eef83' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

การแบ่งเซลล์ของร่างกายมนุษย์

 

 

 

1. การแบ่งเซลล์ของร่างกายมนุษย์ มีการแบ่งตัวประมาณ 50 ครั้ง ในชั่วอายุขัย


                   สเต็มเซลล์ (Stem Cell) หรือที่เรียกว่า เซลล์ต้นกำเนิด เป็นเซลล์อ่อนที่พร้อมจะเจริญเติบโต แบ่งตัวเองขึ้น

มาใหม่ และเปลี่ยนแปลงเพื่อไปทำหน้าที่อย่างใดอย่างหนึ่ง เซลล์แต่ละเซลล์ในร่างกายของมนุษย์จะทำหน้าที่จำเพาะ

อย่างใดอย่างหนึ่งโดยไม่ย้อนกลับมา ซึ่งเซลล์ที่พัฒนาไปจนสุดทางจนเป็นเซลล์ที่ทำหน้าที่เฉพาะเจาะจง ตัวอย่างเช่น

 เซลล์กล้ามเนื้อหัวใจ หรือเซลล์สมอง เซลล์เหล่านี้เมื่อตายไปแล้ว จะไม่มีเซลล์ใหม่มาทดแทน ในขณะเดียวกันร่างกาย

ของคนเราก็ยังมีเซลล์อีกกลุ่มหนึ่งที่สามารถเติบโตได้อีก โดยสเต็มเซลล์ หรือเซลล์ต้นกำเนิดพวกนี้สามารถพัฒนาไป

เป็นเซลล์ที่ทำหน้าที่เฉพาะเจาะจงได้

                   สเต็มเซลล์ หรือเซลล์ต้นกำเนิด มีคุณสมบัติเด่นที่เป็นปัจจัยให้นักวิทยาศาสตร์ทั่วโลกสนใจเซลล์ชนิดนี้กันมาก

เนื่องจากเป็นเซลล์ที่ไม่ได้ทำหน้าที่เฉพาะเจาะจง แต่สามารถเปลี่ยนไปเป็นเซลล์ที่ทำหน้าที่เฉพาะเจาะจงได้ และสเต็มเซลล์

เป็นเซลล์ที่มีความสามารถแบ่งตัวเองขึ้นมาใหม่ครั้งแล้วครั้งเล่า

 

 

*** การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส (mitosis) ****


                   การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส เป็นการแบ่งเซลล์ เพื่อเพิ่มจำนวนเซลล์ของร่างกาย ในการเจริญเติบโต ในสิ่งมีชีวิต

หลายเซลล์ หรือในการแบ่งเซลล์ เพื่อการสืบพันธุ์ ในสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว และหลายเซลล์บางชนิด


•  ไม่มีการลดจำนวนชุดโครโมโซม ( 2n ไป 2n หรือ n ไป n )

•  เมื่อสิ้นสุดการแบ่งเซลล์จะได้ 2 เซลล์ใหม่ที่มีโครโมโซมเท่าๆ กัน และเท่ากับเซลล์ตั้งต้น

•  พบที่เนื้อเยื่อเจริญปลายยอด , ปลายราก , แคมเบียม ของพืชหรือเนื้อเยื่อบุผิว , ไขกระดูกในสัตว์ , การสร้างสเปิร์ม

และไข่ของพืช

•  มี 5 ระยะ คือ อินเตอร์เฟส ( interphase), โพรเฟส ( prophase), เมทาเฟส (metaphase), แอนาเฟส ( anaphase)

และเทโลเฟส ( telophase)

 

ขอขอบคุณที่มาของภาพจาก : https://dbscience3.wikispaces.com/file/view/mitosis.jpg/63281416

 


 

สร้างโดย: 
นางสาว พธูกมล พานิชนก และนางสาว ศศนันท์ กฤษณะวนิช โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย กรุงเทพมหานคร

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 186 คน กำลังออนไลน์