• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:ade8b932e7e0e3b43a70f6eaf9c2cf50' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n&nbsp;\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n <img border=\"0\" src=\"/files/u19987/spicies2.gif\" height=\"100\" width=\"500\" />\n</div>\n<p>\n<a href=\"/node/42715\"><img border=\"0\" src=\"/files/u19987/Home_2.jpg\" height=\"80\" width=\"80\" /></a><a href=\"/node/47220\"><img border=\"0\" src=\"/files/u19987/Main_Menu.jpg\" height=\"40\" width=\"125\" /></a>\n</p>\n<p>\n          <strong><span style=\"background-color: #0000ff; color: #ffffff\">2.2 การเกิดสปีชีส์ใหม่ในเขตภูมิศาสตร์เดียวกัน</span></strong> \n</p>\n<p>\n               เป็นการเกิดสปีชีส์ใหม่ในถิ่นอาศัยเดียวกับบรรพบุรุษ โดยมีกลไกมาป้องกันทำให้ไม่สามารถผสมพันธุ์กันได้\n</p>\n<p>\nแม้ว่าจะอยู่ในพื้นที่เดียวกันก็ตาม\n</p>\n<p>\n               การเกิดสปีชีส์ใหม่ลักษณะนี้เห็นได้ชัดเจนในวิวัฒนาการของพืช เช่น การเกิดพอลิพลอยดีของพืชในการเพิ่มจำนวนชุด\n</p>\n<p>\nของโครโมโซม       \n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" src=\"/files/u19987/thaibanana-polyploidy.jpg\" height=\"212\" width=\"468\" />\n</div>\n<p>\n                       ที่มารูปภาพ : <a href=\"http://www.ipst.ac.th/biology/Article-pic/year4th/no36/thaibanana1.jpg\">http://www.ipst.ac.th/biology/Article-pic/year4th/no36/thaibanana1.jpg</a>\n</p>\n<p>\n               พอลิพลอยดีเกิดจากความผิดปกติของกระบวนการแบ่งเซลล์แบบไมโอซิสในการสร้างเซลล์สืบพันธุ์ ทำให้เซลล์สืบพันธุ์\n</p>\n<p>\nมีจำนวนโครโมโซม 2 ชุด (2 n) เมื่อเซลล์สืบพันธุ์นี้เกิดการปฏิสนธิจะได้ไซโกตที่มีจำนวนโครโมโซมมากกว่า 2 ชุด\n</p>\n<p>\nเช่น มีโครโมโซม 3 ชุด (3 n) หรือมีโครโมโซม 4 ชุด (4 n) เป็นต้น การเกิดพอลิพลอยดีอาจเกิดจากสิ่งมีชีวิตสปีชีส์เดียวกัน\n</p>\n<p>\nหรือสิ่งมีชีวิตต่างสปีชีส์กัน\n</p>\n<p>\n            <strong>ตัวอย่างการเกิดพอลิพลอยดีของสิ่งมีชีวิตต่างสปีชีส์กัน คือ การทดลองของคาร์ปิเชงโก (Karpechengo) </strong>     \n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" src=\"/files/u19987/Karpechengo.jpg\" style=\"width: 401px; height: 262px\" height=\"369\" width=\"500\" />\n</div>\n<p>\nที่มารูปภาพ : <a href=\"http://images.14516.multiply.multiplycontent.com/attachment/0/R5ceHQoKCmYAAHCASBg1/%E0%B8%AA%E0%B8%9B%E0%B8%B5%E0%B8%8A%E0%B8%B5%E0%B8%AA%E0%B9%8C%E0%B8%97%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%8A%E0%B8%B5%E0%B8%A7%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%97%E0%B8%A2%E0%B8%B2.ppt?nmid=78843744#303,45,Slide\">http://images.14516.multiply.multiplycontent.com/attachment/0/R5ceHQoKCmYAAHCASBg1/%E0%B8%AA%E0%B8%9B%E0%B8%B5%E0%B8%8A%E0%B8%B5%E0%B8%AA%E0%B9%8C%E0%B8%97%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%8A%E0%B8%B5%E0%B8%A7%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%97%E0%B8%A2%E0%B8%B2.ppt?nmid=78843744#303,45,Slide</a> 45\n</p>\n<p>\n               คาร์ปิเชงโกนักพันธุศาสตร์ขาวรัสเซียซึ่งได้ผสมพันธุ์ผักกาดแดง ซึ่งมีจำนวนโครโมโซม18 โครโมโซม (2 n = 18)\n</p>\n<p>\nกับกระหล่ำปลีซึ่งมีจำนวนโครโมโซม 18 โครโมโซม (2 n = 18) เท่ากัน พบว่าลูกผสมที่เกิดขึ้นในรุ่น F<sub>1</sub> มีขนาดแข็งแรง\n</p>\n<p>\nแต่ไม่สามารถผสมพันธุ์ต่อไปได้ แต่ลูกผสมในรุ่น F<sub>1</sub> บางต้นสามารถผสมพันธุ์กันและได้ลูกผสมในรุ่น F<sub>2</sub> ซึ่งมีโอกาสเกิดได้น้อยมาก\n</p>\n<p>\nเมื่อนำลูกผสมในรุ่น F<sub>2</sub> มาตรวจดูโครโมโซมพบว่ามีจำนวนโครโมโซม 36 โครโมโซม (2n = 36) และไม่เป็นหมัน\n</p>\n<p>\n                ถึงแม้ว่าการเกิดสปีชีส์ใหม่แบบพอลิพลอยดีในสัตว์จะพบได้น้อยกว่าในพืช แต่ก็สามารถเกิดขึ้นได้\n</p>\n<p>\nอย่างไรก็ตามยังมีกลไกอื่นอีกที่สามารถทำให้สัตว์เกิดสปีชีส์ใหม่ แม้ว่าจะยังคงอาศัยอยู่ในพื้นที่เดียวกับบรรพบุรุษ เช่น\n</p>\n<p>\nการเปลี่ยนแปลงยีนเพียงไม่กี่ยีนในตัวต่อซึ่งเป็นแมลงช่วยในการผสมเกสรของพืชพวกมะเดื่อ ทำให้ตัวต่อที่มียีนเปลี่ยนแปลง\n</p>\n<p>\nเลือกไปอาศัยอยู่ในต้นมะเดื่อสปีชีส์ใหม่ทำให้ไม่มีโอกาสได้พบและผสมกับตัวต่อประชากรเดิม แต่จะได้พบและผสมกับตัวต่อ\n</p>\n<p>\nที่มียีนเปลี่ยนแปลงเหมือนกัน จนกระทั่งเกิดตัวต่อ 2 สปีชีส์ที่อาศัยอยู่ในบริเวณเดียวกันในที่สุด\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1715608294, expire = 1715694694, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:ade8b932e7e0e3b43a70f6eaf9c2cf50' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

2.2 การเกิดสปีชีส์ใหม่ในเขตภูมิศาสตร์เดียวกัน

 

 

          2.2 การเกิดสปีชีส์ใหม่ในเขตภูมิศาสตร์เดียวกัน 

               เป็นการเกิดสปีชีส์ใหม่ในถิ่นอาศัยเดียวกับบรรพบุรุษ โดยมีกลไกมาป้องกันทำให้ไม่สามารถผสมพันธุ์กันได้

แม้ว่าจะอยู่ในพื้นที่เดียวกันก็ตาม

               การเกิดสปีชีส์ใหม่ลักษณะนี้เห็นได้ชัดเจนในวิวัฒนาการของพืช เช่น การเกิดพอลิพลอยดีของพืชในการเพิ่มจำนวนชุด

ของโครโมโซม       

                       ที่มารูปภาพ : http://www.ipst.ac.th/biology/Article-pic/year4th/no36/thaibanana1.jpg

               พอลิพลอยดีเกิดจากความผิดปกติของกระบวนการแบ่งเซลล์แบบไมโอซิสในการสร้างเซลล์สืบพันธุ์ ทำให้เซลล์สืบพันธุ์

มีจำนวนโครโมโซม 2 ชุด (2 n) เมื่อเซลล์สืบพันธุ์นี้เกิดการปฏิสนธิจะได้ไซโกตที่มีจำนวนโครโมโซมมากกว่า 2 ชุด

เช่น มีโครโมโซม 3 ชุด (3 n) หรือมีโครโมโซม 4 ชุด (4 n) เป็นต้น การเกิดพอลิพลอยดีอาจเกิดจากสิ่งมีชีวิตสปีชีส์เดียวกัน

หรือสิ่งมีชีวิตต่างสปีชีส์กัน

            ตัวอย่างการเกิดพอลิพลอยดีของสิ่งมีชีวิตต่างสปีชีส์กัน คือ การทดลองของคาร์ปิเชงโก (Karpechengo)      

ที่มารูปภาพ : http://images.14516.multiply.multiplycontent.com/attachment/0/R5ceHQoKCmYAAHCASBg1/%E0%B8%AA%E0%B8%9B%E0%B8%B5%E0%B8%8A%E0%B8%B5%E0%B8%AA%E0%B9%8C%E0%B8%97%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%8A%E0%B8%B5%E0%B8%A7%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%97%E0%B8%A2%E0%B8%B2.ppt?nmid=78843744#303,45,Slide 45

               คาร์ปิเชงโกนักพันธุศาสตร์ขาวรัสเซียซึ่งได้ผสมพันธุ์ผักกาดแดง ซึ่งมีจำนวนโครโมโซม18 โครโมโซม (2 n = 18)

กับกระหล่ำปลีซึ่งมีจำนวนโครโมโซม 18 โครโมโซม (2 n = 18) เท่ากัน พบว่าลูกผสมที่เกิดขึ้นในรุ่น F1 มีขนาดแข็งแรง

แต่ไม่สามารถผสมพันธุ์ต่อไปได้ แต่ลูกผสมในรุ่น F1 บางต้นสามารถผสมพันธุ์กันและได้ลูกผสมในรุ่น F2 ซึ่งมีโอกาสเกิดได้น้อยมาก

เมื่อนำลูกผสมในรุ่น F2 มาตรวจดูโครโมโซมพบว่ามีจำนวนโครโมโซม 36 โครโมโซม (2n = 36) และไม่เป็นหมัน

                ถึงแม้ว่าการเกิดสปีชีส์ใหม่แบบพอลิพลอยดีในสัตว์จะพบได้น้อยกว่าในพืช แต่ก็สามารถเกิดขึ้นได้

อย่างไรก็ตามยังมีกลไกอื่นอีกที่สามารถทำให้สัตว์เกิดสปีชีส์ใหม่ แม้ว่าจะยังคงอาศัยอยู่ในพื้นที่เดียวกับบรรพบุรุษ เช่น

การเปลี่ยนแปลงยีนเพียงไม่กี่ยีนในตัวต่อซึ่งเป็นแมลงช่วยในการผสมเกสรของพืชพวกมะเดื่อ ทำให้ตัวต่อที่มียีนเปลี่ยนแปลง

เลือกไปอาศัยอยู่ในต้นมะเดื่อสปีชีส์ใหม่ทำให้ไม่มีโอกาสได้พบและผสมกับตัวต่อประชากรเดิม แต่จะได้พบและผสมกับตัวต่อ

ที่มียีนเปลี่ยนแปลงเหมือนกัน จนกระทั่งเกิดตัวต่อ 2 สปีชีส์ที่อาศัยอยู่ในบริเวณเดียวกันในที่สุด

 

สร้างโดย: 
อาจารย์กวิสรา ชาลาภคำ และ น.ส.ทิพย์วรรณ บุตรละคร โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย กรุงเทพมหานคร

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 252 คน กำลังออนไลน์