• user warning: Duplicate entry '536306482' for key 'PRIMARY' query: INSERT INTO accesslog (title, path, url, hostname, uid, sid, timer, timestamp) values('งานม.1 ครั้งที่ 5 ภาคเรียนที่ 1/2551', 'node/3662', '', '3.147.104.179', 0, '53ec54352c5e1cf349470c9080e4c695', 123, 1716893760) in /home/tgv/htdocs/modules/statistics/statistics.module on line 63.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:4a46f950a39a53b966cb7670895eaaf9' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><span style=\"font-size: small\"></span></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<p>\n<b><span style=\"font-size: 11pt; color: #ff6600\" lang=\"TH\">เซลประสาท(</span></b><b><span style=\"font-size: 11pt; color: #ff6600\">Neuron):<span lang=\"TH\"> องค์ประกอบ โครงสร้างและหน้าที่</span></span></b>\n</p>\n<p></p>\n<p>\n<b><span style=\"font-size: 11pt; color: #ff6600\"><span lang=\"TH\"></span></span></b>\n</p>\n<p>\n<b><span style=\"font-size: 11pt; color: #ff6600\"><span lang=\"TH\">     </span></span></b><b><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\">ระบบสมองและประสาทของมนุษย์ประกอบด้วยเซลประสาทจำนวนแสนล้านเซล แต่ละเซลมีความสามารถในการสร้างและส่งสัญญาณประสาท เซลประสาทแต่ละเซลได้มีการรวมตัวกันสร้างวงจรซึ่งมีความซับซ้อนอย่างยิ่ง การที่เรามีการเรียนรู้และสร้างความจำ ความรู้สึกและอารมณ์ การเคลื่อนไหว การพูด การรับรู้โลกรอบตัวเรา และกิจกรรมต่างๆในชีวิตทั้งสิ้นขึ้นอยู่กับคุณสมบัติพื้นฐานของเซลประสาทและลักษณะของการเชื่อมต่อกันของวงจรเซลประสาท ในสมองและระบบประสาท ยังมีเซลอีกชนิดหนึ่งเรียกว่า </span></b><b><span style=\"font-size: 11pt; color: #ff6600\" lang=\"TH\">เกลียลเซล (</span></b><b><span style=\"font-size: 11pt; color: #ff6600\">Glial<span lang=\"TH\"> </span>cell)</span></b><b><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\"> ซึ่งเป็นเซลพี่เลี้ยงให้เซลประสาท โดยให้อาหารและกำจัดของเสีย ช่วยแยกเซลประสาทนั้นๆออกจากเซลประสาทอื่นๆ นอกจากนั้นยังจัดเตรียมโครงสร้างพื้นฐานและเคมีที่จำเป็น เกลียลเซลบางกลุ่มสร้างเยื่อหุ้มไขมันเส้นประสาทซึ่งเรียกว่า เยื่อหุ้มไมอีลิน เยื่อหุ้มไมอีลินนี้ช่วยให้การส่งสัญญาณประสาทเร็วขึ้น</span></b>\n</p>\n<p>\n<b><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\"></span></b>\n</p>\n<p><b><span style=\"font-size: 11pt; color: black\" lang=\"TH\"></span></b><b><span style=\"font-size: 14pt; color: #ff6600\" lang=\"TH\">โครงสร้างของเซลประสาท</span></b><span style=\"font-size: 9pt; color: #333333\" lang=\"TH\"> <o:p></o:p></span></p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"395\" src=\"/files/u18977/arc_reflex.jpg\" height=\"270\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-size: 9pt; color: gray; font-family: \'Times New Roman\'\"><strong>http://medical-dictionary.thefreedictionary.com/_/viewer.aspx?path=dorland&amp;name=arc_reflex.jpg</strong></span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 14pt; color: #ff6600; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\">เซลประสาทเมื่อแบ่งตามรูปร่างและขนาดมีประมาณ ๒๐๐ กว่าชนิด โครงสร้างเฉพาะของเซลประสาทเป็นตัวกำหนดหน้าที่ต่างๆ เมื่อแบ่งตามหน้าที่ เซลประสาทจะถูกแบ่งออกเป็น ๓ กลุ่มดังนี้</span><span style=\"font-size: 14pt; color: #ff6600; font-family: Tahoma\"> </span><b><span style=\"color: gray\"><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\">     </span></span></b><span style=\"font-size: 9pt; color: #333333; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"> </span><span style=\"font-size: small\"><b><span style=\"color: gray\"><span style=\"font-family: Times New Roman\">            </span></span></b><b><span style=\"color: gray; font-family: Tahoma\"> </span></b></span><span style=\"font-size: 9pt; color: #333333; font-family: Tahoma\">                                                                                                                                                 </span><b><span style=\"color: #333333\"><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\">  </span></span></b><span style=\"font-size: 9pt; color: #333333; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"> </span>\n</p>\n<p>\n<b><span style=\"font-size: 11pt; color: gray; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"></span></b>\n</p>\n<ul>\n<li><b><span style=\"font-size: 11pt; color: gray; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"></span></b><b><span style=\"font-size: 11pt; color: #ff6600; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\">เซลประสาทรับรู้ความรู้สึก (</span></b><b><span style=\"font-size: 11pt; color: #ff6600; font-family: Tahoma\">Sensory Neurons)</span></b><b><span style=\"font-size: 11pt; color: gray; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"> ทำหน้าที่รับกระแสและส่งสัญญาณประสาทจากอวัยวะต่างๆ ซึ่งตอบสนองต่อความเปลี่ยนแปลงของสภาวะแวดล้อม ได้แก่ แสง เสียง อุณหภูมิ ความดัน เมื่อถูกกระตุ้นแล้วจึงเกิดกระบวนการรับรู้ต่อแสง เสียง รส กลิ่น และสัมผัส</span></b><b><span style=\"font-size: 11pt; color: gray; font-family: Tahoma\"> </span></b><b><span style=\"font-size: 9pt; color: gray; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"> <o:p></o:p></span></b></li>\n<li><b><span style=\"font-size: 10pt; color: #333333; font-family: \'Times New Roman\'\"> </span><span style=\"font-size: 11pt; color: #ff6600; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\">เซลประสาทสั่งการ (</span><span style=\"font-size: 11pt; color: #ff6600; font-family: Tahoma\">Motor<span lang=\"TH\"> </span>Neurons)</span><span style=\"font-size: 11pt; color: gray; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"> เป็นเซลประสาทที่เชื่อมต่อไปยังกล้ามเนื้อต่างๆ ของร่างกาย ก่อให้เกิดการทำงานของกล้ามเนื้อโดยทำให้ร่างกายเคลื่อนไหว</span><span style=\"font-size: 11pt; color: #333333; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"> </span><span style=\"font-size: 11pt; color: gray; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\">ถึงแม้ว่าเซลประสาท (รูปที่ ๑) จะมีความแตกต่างในรูปร่างและหน้าที่ แต่มีองค์ประกอบพื้นฐานที่ไม่แตกต่างกันคือ มีตัวเซลซึ่งทำหน้าที่สร้างพลังงานที่จำเป็นต่อการทำหน้าที่เซลประสาทจะมีแขนงที่แตกออกไป เรียกว่า เด็นไดรท์ (</span><span style=\"font-size: 11pt; color: gray; font-family: Tahoma\">Dendrite)<span lang=\"TH\"> เด็นไดรท์ เป็นทางเข้าของสัญญาณประสาทโดยมีหน้าที่รับสัญญาณจากเซลอื่นๆ เมื่อถูกกระตุ้นจนถึงระดับแล้วก็จะเกิดการส่งต่อไปยังเส้นประสาทอีกชนิดหนึ่งชื่อว่า แอ็กซอน (</span>Axon)<span lang=\"TH\"> ซึ่งเป็นทางออกของสัญญาณประสาทณที่สุดปลายเส้นประสาทมีส่วนที่เรียกว่า แถบปลายประสาท ส่วนนี้จะทำหน้าที่เชื่อมสัญญาณประสาทกับเซลประสาทอื่นๆ โดยปกติ สัญญาณประสาทจะผ่านเข้าที่เด็นไดรท์ แล้วส่งไปยังแอ็กซอน ผ่านแถบปลายประสาทแล้วเข้าเด็นไดรท์ของอีกเซลหนึ่ง ซึ่งเป็นการส่งในระบบปกติ ทั้งนี้จะมีการส่งสัญญาณประสาทที่ไม่ปกติได้ โดยส่งจากเด็นไดรท์ไปยังเด็นไดรท์ เด็นไดรท์ไปยังตัวเซลประสาท หรือแม้กระทั่งจากแอ็กซอนไปยังแอ็กซอนโดยส่งสัญญาณประสาทไปยังเซลประสาทที่สามอย่างรวดเร็ว</span></span><span style=\"font-size: 12pt; color: #ff6600; font-family: Tahoma\"> </span><span style=\"font-size: 9pt; color: gray; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"> </span></b></li>\n</ul>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/41698\"><img border=\"0\" width=\"150\" src=\"/files/u18977/HOME.gif\" height=\"50\" /></a>\n</p>\n', created = 1716893769, expire = 1716980169, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:4a46f950a39a53b966cb7670895eaaf9' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

เซลประสาท(Neuron): องค์ประกอบ โครงสร้างและหน้าที่

เซลประสาท(Neuron): องค์ประกอบ โครงสร้างและหน้าที่

     ระบบสมองและประสาทของมนุษย์ประกอบด้วยเซลประสาทจำนวนแสนล้านเซล แต่ละเซลมีความสามารถในการสร้างและส่งสัญญาณประสาท เซลประสาทแต่ละเซลได้มีการรวมตัวกันสร้างวงจรซึ่งมีความซับซ้อนอย่างยิ่ง การที่เรามีการเรียนรู้และสร้างความจำ ความรู้สึกและอารมณ์ การเคลื่อนไหว การพูด การรับรู้โลกรอบตัวเรา และกิจกรรมต่างๆในชีวิตทั้งสิ้นขึ้นอยู่กับคุณสมบัติพื้นฐานของเซลประสาทและลักษณะของการเชื่อมต่อกันของวงจรเซลประสาท ในสมองและระบบประสาท ยังมีเซลอีกชนิดหนึ่งเรียกว่า เกลียลเซล (Glial cell) ซึ่งเป็นเซลพี่เลี้ยงให้เซลประสาท โดยให้อาหารและกำจัดของเสีย ช่วยแยกเซลประสาทนั้นๆออกจากเซลประสาทอื่นๆ นอกจากนั้นยังจัดเตรียมโครงสร้างพื้นฐานและเคมีที่จำเป็น เกลียลเซลบางกลุ่มสร้างเยื่อหุ้มไขมันเส้นประสาทซึ่งเรียกว่า เยื่อหุ้มไมอีลิน เยื่อหุ้มไมอีลินนี้ช่วยให้การส่งสัญญาณประสาทเร็วขึ้น

โครงสร้างของเซลประสาท

http://medical-dictionary.thefreedictionary.com/_/viewer.aspx?path=dorland&name=arc_reflex.jpg

 

เซลประสาทเมื่อแบ่งตามรูปร่างและขนาดมีประมาณ ๒๐๐ กว่าชนิด โครงสร้างเฉพาะของเซลประสาทเป็นตัวกำหนดหน้าที่ต่างๆ เมื่อแบ่งตามหน้าที่ เซลประสาทจะถูกแบ่งออกเป็น ๓ กลุ่มดังนี้                                                                                                                                                                       

  • เซลประสาทรับรู้ความรู้สึก (Sensory Neurons) ทำหน้าที่รับกระแสและส่งสัญญาณประสาทจากอวัยวะต่างๆ ซึ่งตอบสนองต่อความเปลี่ยนแปลงของสภาวะแวดล้อม ได้แก่ แสง เสียง อุณหภูมิ ความดัน เมื่อถูกกระตุ้นแล้วจึงเกิดกระบวนการรับรู้ต่อแสง เสียง รส กลิ่น และสัมผัส 
  •  เซลประสาทสั่งการ (Motor Neurons) เป็นเซลประสาทที่เชื่อมต่อไปยังกล้ามเนื้อต่างๆ ของร่างกาย ก่อให้เกิดการทำงานของกล้ามเนื้อโดยทำให้ร่างกายเคลื่อนไหว ถึงแม้ว่าเซลประสาท (รูปที่ ๑) จะมีความแตกต่างในรูปร่างและหน้าที่ แต่มีองค์ประกอบพื้นฐานที่ไม่แตกต่างกันคือ มีตัวเซลซึ่งทำหน้าที่สร้างพลังงานที่จำเป็นต่อการทำหน้าที่เซลประสาทจะมีแขนงที่แตกออกไป เรียกว่า เด็นไดรท์ (Dendrite) เด็นไดรท์ เป็นทางเข้าของสัญญาณประสาทโดยมีหน้าที่รับสัญญาณจากเซลอื่นๆ เมื่อถูกกระตุ้นจนถึงระดับแล้วก็จะเกิดการส่งต่อไปยังเส้นประสาทอีกชนิดหนึ่งชื่อว่า แอ็กซอน (Axon) ซึ่งเป็นทางออกของสัญญาณประสาทณที่สุดปลายเส้นประสาทมีส่วนที่เรียกว่า แถบปลายประสาท ส่วนนี้จะทำหน้าที่เชื่อมสัญญาณประสาทกับเซลประสาทอื่นๆ โดยปกติ สัญญาณประสาทจะผ่านเข้าที่เด็นไดรท์ แล้วส่งไปยังแอ็กซอน ผ่านแถบปลายประสาทแล้วเข้าเด็นไดรท์ของอีกเซลหนึ่ง ซึ่งเป็นการส่งในระบบปกติ ทั้งนี้จะมีการส่งสัญญาณประสาทที่ไม่ปกติได้ โดยส่งจากเด็นไดรท์ไปยังเด็นไดรท์ เด็นไดรท์ไปยังตัวเซลประสาท หรือแม้กระทั่งจากแอ็กซอนไปยังแอ็กซอนโดยส่งสัญญาณประสาทไปยังเซลประสาทที่สามอย่างรวดเร็ว 

 

สร้างโดย: 
น.ส.เพ็ญนภา ติษยางกูร และ อาจารย์วิริยะ โภคาพันธ์

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 242 คน กำลังออนไลน์