1.2.2 กลไกการแยกทางสืบพันธุ์หลังระยะไซโกต

 

 

          1.2.2 กลไกการแยกทางสืบพันธุ์หลังระยะไซโกต

                   ในกรณีที่เซลล์สืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตต่างสปีชีส์สามารถเข้าไปผสมพันธุ์กันได้ไซโกตที่เป็นลูกผสมเกิดขึ้นแล้ว

กลไกนี้จะป้องกันไม่ให้ลูกผสมสามารถเจริญเติบโตเป็นตัวเต็มวัยหรือสืบพันธุ์ต่อไปได้ กลไกเหล่านี้ได้แก่

                    1. ลูกผสมตายก่อนถึงวัยเจริญพันธุ์

                        เช่น การผสมพันธุ์กบ (Rana spp.) ต่างสปีชีส์กัน พบว่าจะมีการตายของตัวอ่อนในระยะต่างๆกัน และไม่สามารถ

เจริญเติบโตเป็นตัวเต็มวัยได้

                    2. ลูกผสมเป็นหมัน

                        เช่น ล่อ เกิดจากการผสมระหว่างม้ากับลา แต่ล่อเป็นหมันไม่สามารถให้กำเนิดลูกในรุ่นต่อไปได้

        

                                 ภาพที่ 19-24 หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐานและเพิ่มเติมชีววิทยาเล่ม 5 หน้า145

                    3. ลูกผสมล้มเหลว

                        เช่น การผสมระหว่างดอกทานตะวัน(Layia spp.) 2 สปีชีส์พบว่า ลูกผสมที่เกิดขึ้นสามารถเจริญเติบโต

และให้ลูกผสมในรุ่น F1 ได้ แต่ในรุ่น F2 เริ่มอ่อนแอและเป็นหมันประมาณร้อยละ 80 และจะปรากฎเช่นนี้ในรุ่นต่อๆไป

 

 

สร้างโดย: 
อาจารย์กวิสรา ชาลาภคำ และ น.ส.ทิพย์วรรณ บุตรละคร โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย กรุงเทพมหานคร

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 416 คน กำลังออนไลน์