• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:ba270873cf1d2dd1687b983589a60f75' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<strong><span style=\"color: #9e1ee0\">(1)   เรื่องนี้เชื่อกันว่าเกิดขึ้นจริงในสมัยสมเด็จพระพันวษา แห่ง กรุงศรีอยุธยา</span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #9e1ee0\">      - ตำนวนเดิมเล่าเพียงว่า มีนายทหารผู้มีฝีมือนายหนึ่ง มีตำแหน่งเป็นขุนแผน ได้ถวาย ดาบฟ้าฟื้นแด่สมเด็จพระพันวษา</span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #9e1ee0\"></span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #9e1ee0\">(2)   ต่อมามีการนำเรื่อง ขุนช้างขุนแผน มาแต่งเป็นกลอนสุภาพและใช้ บทขับเสภา โดยใช้กรับเป็นเครื่องประกอบจังหวะ</span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #9e1ee0\">     - บทขับเสภาที่นิยมมากที่สุดคือเรื่อง ขุนช้างขุนแผน ซึ่งได้รับการยกย่อจากวรรณคดีสโมสรว่า เป็นยอดของกลอนสุภาพที่มีความไพเราะ ดีเลิศทั้งเนื้อเรื่องและ กระบวนกลอน </span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #9e1ee0\"></span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #9e1ee0\">(3)   บทเสภาเรื่องขุนช้างขุนแผน มีกวีเอกหลายท่านร่วมกันแต่ง สันนิษฐานว่าแต่งตั้งแต่สมัย สมเด็จพระนารายณ์มหาราช </span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #9e1ee0\">     - สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ทรงสันนิษฐานว่า</span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #9e1ee0\">          *ตอน ขุนแผนขึ้นเรือนขุนช้าง และตอน ขุนแผนพานางวันทองหนี เป็นพระราชนิพนธ์พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย</span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #9e1ee0\">          *ตอนขุนช้างขอนางพิม และ ตอนขุนช้างตามนางวันทอง เป็นพระราชนิพนธ์พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว (เมื่อครั้งยังดำรงพระอิสริยยศเป็นกรมหมื่นเจษฎาบดินทร์)</span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #9e1ee0\">          *ตอน กำเนิดพลายงาม เป็นสำนวนของสุนทรภู่</span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #9e1ee0\">(4)   ตอน ขุนช้างถวายฎีกานี้ ไม่ปรากฏนามผู้แต่ง แต่เป็นหนึ่งใน 8 ตอนที่ได้รับการยกย่องจากสมาคมวรรณคดี (สมัย ร.7) ว่าแต่งดีเป็นเยี่ยม โดยเฉพาะกระบวนกลอนที่สื่ออารมณ์สะเทือนใจ</span></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"500\" src=\"/files/u20345/line8.gif\" height=\"23\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/43197\"><img border=\"0\" width=\"88\" src=\"/files/u20345/home1.gif\" height=\"31\" /></a>\n</p>\n', created = 1715870256, expire = 1715956656, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:ba270873cf1d2dd1687b983589a60f75' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ที่มาของเรื่อง ขุนช้างขุนแผน

(1)   เรื่องนี้เชื่อกันว่าเกิดขึ้นจริงในสมัยสมเด็จพระพันวษา แห่ง กรุงศรีอยุธยา

      - ตำนวนเดิมเล่าเพียงว่า มีนายทหารผู้มีฝีมือนายหนึ่ง มีตำแหน่งเป็นขุนแผน ได้ถวาย ดาบฟ้าฟื้นแด่สมเด็จพระพันวษา

(2)   ต่อมามีการนำเรื่อง ขุนช้างขุนแผน มาแต่งเป็นกลอนสุภาพและใช้ บทขับเสภา โดยใช้กรับเป็นเครื่องประกอบจังหวะ

     - บทขับเสภาที่นิยมมากที่สุดคือเรื่อง ขุนช้างขุนแผน ซึ่งได้รับการยกย่อจากวรรณคดีสโมสรว่า เป็นยอดของกลอนสุภาพที่มีความไพเราะ ดีเลิศทั้งเนื้อเรื่องและ กระบวนกลอน

(3)   บทเสภาเรื่องขุนช้างขุนแผน มีกวีเอกหลายท่านร่วมกันแต่ง สันนิษฐานว่าแต่งตั้งแต่สมัย สมเด็จพระนารายณ์มหาราช

     - สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ทรงสันนิษฐานว่า

          *ตอน ขุนแผนขึ้นเรือนขุนช้าง และตอน ขุนแผนพานางวันทองหนี เป็นพระราชนิพนธ์พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย

          *ตอนขุนช้างขอนางพิม และ ตอนขุนช้างตามนางวันทอง เป็นพระราชนิพนธ์พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว (เมื่อครั้งยังดำรงพระอิสริยยศเป็นกรมหมื่นเจษฎาบดินทร์)

          *ตอน กำเนิดพลายงาม เป็นสำนวนของสุนทรภู่

(4)   ตอน ขุนช้างถวายฎีกานี้ ไม่ปรากฏนามผู้แต่ง แต่เป็นหนึ่งใน 8 ตอนที่ได้รับการยกย่องจากสมาคมวรรณคดี (สมัย ร.7) ว่าแต่งดีเป็นเยี่ยม โดยเฉพาะกระบวนกลอนที่สื่ออารมณ์สะเทือนใจ

สร้างโดย: 
น.ส.ณัฐนิช มณีวรรณกุล และ ครู จิราวรรณ สังวรปทานสกุล โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 236 คน กำลังออนไลน์