• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:0a96815320938dcd60b02daa21d2d6fa' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<u> <img src=\"/files/u20171/1385_de_1.jpg\" width=\"544\" border=\"0\" height=\"308\" /></u>\n</p>\n<div align=\"center\">\n<img src=\"/files/u20171/w.gif\" width=\"599\" height=\"80\" /> \n</div>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\">ได้เสนอทฤษฎีการเกิดสปีชีส์ใหม่อันเนื่อง มาจาก การคัดเลือกโดยธรรมชาติ ทฤษฎีการคัดเลือกโดยธรรมชาติ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\">(theory of natural selection) มีสาระสำคัญ ดังนี้ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\">1.  สิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกันย่อมแตกต่างกันบ้างเล็กน้อย เรียกว่า variation </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\">2.  สิ่งมีชีวิตมีลูกหลานจํานวนมากตามลําดับเรขาคณิต แต่สิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดก็มี จํานวนเกือบคงที่ เพราะมีจํานวนหนึ่งตายไป </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\">3.  สิ่งมีชีวิตจําเป็นต้องมีการต่อสู้เพื่อความอยู่รอด (struggle of existence) โดยลักษณะ ที่แปรผันบางลักษณะ ที่เหมาะสม </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\">    กับสิ่งแวดล้อม ย่อมดํารงชีวิตอยู่ได้ และสืบพันธุ์ถ่ายทอด ไปยังลูกหลาน </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\">4. สิ่งมีชีวิตที่เหมาะสมที่สุดเท่านั้นที่อยู่รอด(survival the fittest ) และดํารง เผ่าพันธุ์ของตนไว้และทําให้เกิดการคัดเลือกตาม </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\">   ธรรมชาติเกิดความแตกต่าง ไปจากสปีชีส์เดิมมากขึ้นจนเกิดสปีชีส์ใหม่ สิ่งมีชีวิตที่จะอยู่รอด ไม่จำเป็นต้องเป็นสิ่งมีชีวิตที่แข็งแรง </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\">   ที่สุด แต่เป็นสิ่งมีชีวิตที่เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมมากที่สุด ในกรณียีราฟคอยาวนั้น อธิบายตามทฤษฎีของดาร์วินได้ว่า </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\">   ยีราฟมีบรรพบุรุษที่คอสั้นแต่เกิดมี variation ที่มีคอยาวขึ้น ซึ่งสามารถหาอาหาร พวกใบไม้ได้ดีกว่าตัวพวกคอสั้น </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\">   และถ่ายทอดลักษณะคอยาวไปให้ลูกหลานได้ ส่วนพวกคอสั้นหาอาหารได้ไม่ดีหรือแย่งอาหาร สู้พวกคอยาวไม่ได้ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\">   ในที่สุดก็จะตายไป จึงทําให้ ในปัจจุบันมีแต่ยีราฟคอยาวเท่านั้น </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img src=\"/files/u20171/ss22.gif\" width=\"426\" border=\"0\" height=\"580\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff6600\">ภาพแสดงทฤษฎีการวิวัฒนาการของยีราฟของดาร์วินด้วยวิธีการคัดเลือกโดยธรรมชาติ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\">  ดาร์วินได้ชื่อว่าเป็นบิดาแห่งวิชาวิวัฒนาการ ทฤษฎีการคัดเลือกโดยธรรมชาติของดาร์วินดังนี้คือ “ความแปรผันที่เหมาะสมกับ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\">สิ่งมีชีวิตใด ๆ ก็ตามย่อมมีส่วนช่วยให้สิ่งมีชีวิตสามารถดำรงชีวิตได้ ในสิ่งแวดล้อมนั้นๆ ส่วนความแปรผันที่ไม่เหมาะสม </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\">ทําให้สิ่งมีชีวิตถูกกําจัดไปด้วย เหตุนี้เมื่อเวลา ล่วงเลยไปนานขึ้นลักษณะที่เหมาะสมก็จะสะสมไปนานขึ้น ลักษณะที่เหมาะสม </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\">ก็จะสะสมไปนานขึ้น เกิดสิ่งมีชีวิตแตกต่าง จากเดิมมากมาย จนในที่สุดก็เกิดสิ่งมีชีวิตสปีชีส์ใหม่” </span>\n</p>\n<p>\n<a href=\"/node/42902\"><img src=\"/files/u20171/Home.jpg\" width=\"104\" height=\"35\" /></a>                           <img src=\"/files/u20171/id_53254.gif\" width=\"154\" height=\"126\" />                   <a href=\"/node/44958\"><img src=\"/files/u20171/menu.jpg\" width=\"174\" height=\"31\" /></a>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\"><b><u>ที่มา:</u></b>  </span>\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\n<span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"font-family: Times New Roman,serif\">http://www.artgazine.com/shoutouts/userpix/1385_de_1.jpg</span> </span>\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\n<span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"font-family: Times New Roman,serif\">http://www.rmutphysics.com/charud/scibook/bio2/chapter6/image/image066.jpg</span> </span>\n</p>\n', created = 1720450666, expire = 1720537066, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:0a96815320938dcd60b02daa21d2d6fa' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ทฤษฎีวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต

 

ได้เสนอทฤษฎีการเกิดสปีชีส์ใหม่อันเนื่อง มาจาก การคัดเลือกโดยธรรมชาติ ทฤษฎีการคัดเลือกโดยธรรมชาติ

(theory of natural selection) มีสาระสำคัญ ดังนี้

1.  สิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกันย่อมแตกต่างกันบ้างเล็กน้อย เรียกว่า variation

2.  สิ่งมีชีวิตมีลูกหลานจํานวนมากตามลําดับเรขาคณิต แต่สิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดก็มี จํานวนเกือบคงที่ เพราะมีจํานวนหนึ่งตายไป

3.  สิ่งมีชีวิตจําเป็นต้องมีการต่อสู้เพื่อความอยู่รอด (struggle of existence) โดยลักษณะ ที่แปรผันบางลักษณะ ที่เหมาะสม

    กับสิ่งแวดล้อม ย่อมดํารงชีวิตอยู่ได้ และสืบพันธุ์ถ่ายทอด ไปยังลูกหลาน

4. สิ่งมีชีวิตที่เหมาะสมที่สุดเท่านั้นที่อยู่รอด(survival the fittest ) และดํารง เผ่าพันธุ์ของตนไว้และทําให้เกิดการคัดเลือกตาม

   ธรรมชาติเกิดความแตกต่าง ไปจากสปีชีส์เดิมมากขึ้นจนเกิดสปีชีส์ใหม่ สิ่งมีชีวิตที่จะอยู่รอด ไม่จำเป็นต้องเป็นสิ่งมีชีวิตที่แข็งแรง

   ที่สุด แต่เป็นสิ่งมีชีวิตที่เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมมากที่สุด ในกรณียีราฟคอยาวนั้น อธิบายตามทฤษฎีของดาร์วินได้ว่า

   ยีราฟมีบรรพบุรุษที่คอสั้นแต่เกิดมี variation ที่มีคอยาวขึ้น ซึ่งสามารถหาอาหาร พวกใบไม้ได้ดีกว่าตัวพวกคอสั้น

   และถ่ายทอดลักษณะคอยาวไปให้ลูกหลานได้ ส่วนพวกคอสั้นหาอาหารได้ไม่ดีหรือแย่งอาหาร สู้พวกคอยาวไม่ได้

   ในที่สุดก็จะตายไป จึงทําให้ ในปัจจุบันมีแต่ยีราฟคอยาวเท่านั้น

ภาพแสดงทฤษฎีการวิวัฒนาการของยีราฟของดาร์วินด้วยวิธีการคัดเลือกโดยธรรมชาติ

  ดาร์วินได้ชื่อว่าเป็นบิดาแห่งวิชาวิวัฒนาการ ทฤษฎีการคัดเลือกโดยธรรมชาติของดาร์วินดังนี้คือ “ความแปรผันที่เหมาะสมกับ

สิ่งมีชีวิตใด ๆ ก็ตามย่อมมีส่วนช่วยให้สิ่งมีชีวิตสามารถดำรงชีวิตได้ ในสิ่งแวดล้อมนั้นๆ ส่วนความแปรผันที่ไม่เหมาะสม

ทําให้สิ่งมีชีวิตถูกกําจัดไปด้วย เหตุนี้เมื่อเวลา ล่วงเลยไปนานขึ้นลักษณะที่เหมาะสมก็จะสะสมไปนานขึ้น ลักษณะที่เหมาะสม

ก็จะสะสมไปนานขึ้น เกิดสิ่งมีชีวิตแตกต่าง จากเดิมมากมาย จนในที่สุดก็เกิดสิ่งมีชีวิตสปีชีส์ใหม่”

                                            

ที่มา: 

http://www.artgazine.com/shoutouts/userpix/1385_de_1.jpg

http://www.rmutphysics.com/charud/scibook/bio2/chapter6/image/image066.jpg

สร้างโดย: 
อาจารย์ กวิสรา ชาลาภคำ ; น.ส.อรณิช เพชรนิตย์ รร.สตรีศรีสุริโยทัย

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 477 คน กำลังออนไลน์