• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:914d7ad741741d6e61a0c78f6cdf0bc1' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><h3 style=\"margin: auto 0cm 0pt\"><strong><span style=\"font-size: 36pt; color: #99cc00; font-family: 2005_iannnnnUBC\" lang=\"TH\"><em><u>โรคหัวใจขาดเลือด</u></em></span></strong></h3>\n<h3 style=\"margin: auto 0cm 0pt\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 20pt; font-family: 2005_iannnnnUBC\" lang=\"TH\"><img border=\"0\" width=\"232\" src=\"http://www.ram-hosp.co.th/books/images/11cardio1.jpg\" height=\"407\" /></span></span></h3>\n<h3 style=\"margin: auto 0cm 0pt\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 20pt; font-family: 2005_iannnnnUBC\" lang=\"TH\">เกิดจากเส้นโลหิตที่ไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจ เกิดอาการตีบ ทำให้เลือด </span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 20pt; font-family: 2005_iannnnnUBC\" lang=\"TH\">ไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจไม่ได้</span></span></h3>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"th1\">\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 20pt; font-family: 2005_iannnnnUBC\" lang=\"TH\">กล้ามเนื้อหัวใจ ขาดออกซิเจนชั่วขณะ เกิดอาการเจ็บหน้าอก อาการจะทุเลาเมื่อพัก</span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"th1\">\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 20pt; font-family: 2005_iannnnnUBC\" lang=\"TH\">และถ้าเส้นเลือดที่ตีบ เกิดอุดตันอย่างเฉียบพลัน จะทำให้เกิด กล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน ทำให้เกิด อาการเจ็บหน้าอก อย่างรุนแรง อาจมีอาการ หัวใจเต้นผิดจังหวะ หรือหัวใจหยุดเต้น และเสียชีวิตแบบปัจจุบันทันด่วน ก่อนที่จะไปถึงโรงพยาบาลได้ </span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 20pt; font-family: 2005_iannnnnUBC\" lang=\"TH\">อาการเจ็บหน้าอกจากหลอดเลือดหัวใจตีบ</span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"th1\">\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 20pt; font-family: 2005_iannnnnUBC\" lang=\"TH\">เกิดจากการเสียสมดุลย์ ของการใช้ออกซิเจน ของกล้ามเนื้อหัวใจ ในคนปกติ หรือผู้ที่มี</span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"th1\">\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 20pt; font-family: 2005_iannnnnUBC\" lang=\"TH\">หลอดเลือดหัวใจตีบเล็กน้อย การไหลเวียนของเลือด เพียงพอที่จะส่งออกซิเจน ให้กล้ามเนื้อหัวใจ</span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"th1\">\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 20pt; font-family: 2005_iannnnnUBC\" lang=\"TH\">แม้ว่าจะทำงานอย่างหนักก็ตาม ในผู้ที่มีหลอดเลือดหัวใจตีบมากขึ้น จะมีอาการเจ็บหน้าอก เมื่อมีการออกกำลัง เพราะกล้ามเนื้อหัวใจ ต้องการออกซิเจนมากขึ้น แต่ปริมาณเลือดที่ไปเลี้ยงหัวใจมีจำกัด เนื่องจากหลอดเลือดตีบ อาการจะดีขึ้นเมื่อพักความต้องการออกซิเจนของกล้ามเนื้อหัวใจลดลง อาการเจ็บหน้าอกมักจะเป็นไม่เกิน </span><span style=\"font-size: 20pt; font-family: 2005_iannnnnUBC\">10 <span lang=\"TH\">นาที เมื่อหลอดเลือดตีบมากขึ้น ระยะเวลาที่ออกกำลังจะน้อยลง อาการเจ็บหน้าอกจะเกิดเร็วขึ้นตามลำดับ และถ้ามีอาการอุดตัน ของหลอดเลือดหัวใจที่ตีบ กล้ามเนื้อหัวใจที่หลอดเลือดตันไปเลี้ยง จะตาย อาการเจ็บหน้าอก จะเป็นอยู่นาน และต่อเนื่องมากกว่า </span>15 <span lang=\"TH\">นาทีขึ้นไป และอาการจะไม่ทุเลา แม้จะไม่ได้ทำกิจกรรมใดๆ เลย</span></span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"th1\">\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 20pt; font-family: 2005_iannnnnUBC\"><span lang=\"TH\"></span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 20pt; font-family: 2005_iannnnnUBC\"><span lang=\"TH\"></span><o:p></o:p></span></span></p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"th1\">\n<span style=\"font-size: 20pt; font-family: 2005_iannnnnUBC\" lang=\"TH\"><strong><u><span style=\"color: #33cccc\">ลักษณะอาการเจ็บหน้าอกจากโรคหัวใจขาดเลือด</span></u></strong></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"th1\">\n<span style=\"font-size: 20pt; font-family: 2005_iannnnnUBC\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">เป็นอาการเจ็บปวดเหมือนถูกกดดัน ผู้ป่วยมักจะบรรยายว่า มีอาการแน่นหน้าอก เหมือนถูกกด ถูกบีบ หรือรู้สึกแน่น กลางหน้าอก อาการเหล่านี้ อาจร้าวไปยังหัวไหล่ แขน คอ ขากรรไกร หรือหลังก็เป็นได้ บางคนอาจมีความรู้สึกเหมือนมีเชือดรัด หรือมัดรอบหน้าอก อาจมีอาการเหงื่อออกอย่างมาก ตัวเย็น วิงเวียน คลื่นไส้ และอ่อนแรง ระยะเวลาของการเจ็บหน้าอก และความรุนแรงของอาการเจ็บ ขึ้นอยู่กับสภาพหลอดหัวใจว่าตีบน้อย ตีบมาก หรืออุดตันโดยสิ้นเชิง และความต้องการออกซิเจนของกล้ามเนื้อหัวใจ ถ้าออกกำลัง หัวใจต้องทำงานหนัก ต้องการออกซิเจนมากขึ้น อาการเจ็บหน้าอกก็จะเป็นมาก และนานกว่า ในขณะพักการทำงานของหัวใจลดลง ความต้องการออกซิเจนก็จะลดลง อาการเจ็บหน้าอกจะลดลง</span></span></p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"th1\">\n<span style=\"font-size: 20pt; font-family: 2005_iannnnnUBC\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 20pt; font-family: 2005_iannnnnUBC\" lang=\"TH\"></span><span style=\"font-size: 20pt; font-family: 2005_iannnnnUBC\" lang=\"TH\"></span></p>\n<h3 style=\"margin: auto 0cm 0pt\"><strong><i><u><span style=\"font-size: 36pt; color: #99cc00; font-family: 2005_iannnnnUBC\" lang=\"TH\">ใครบ้างที่มีโอกาสเกิดโรคหัวใจขาดเลือด</span></u></i><i><u><span style=\"font-size: 36pt; color: #99cc00; font-family: 2005_iannnnnUBC\"><o:p></o:p></span></u></i></strong></h3>\n<!--mstheme--><!--mstheme--><p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"th1\">\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 20pt; font-family: 2005_iannnnnUBC\" lang=\"TH\"><img border=\"0\" width=\"157\" src=\"http://www.ram-hosp.co.th/books/images/11cardio2.jpg\" height=\"200\" /></span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"th1\">\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 20pt; font-family: 2005_iannnnnUBC\" lang=\"TH\"></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 20pt; font-family: 2005_iannnnnUBC\" lang=\"TH\">สาเหตุของโรคหัวใจขาดเลือด มักจะเกิดจากปัจจัยเสี่ยงหลายอย่าง ได้แก่</span><span style=\"font-size: 20pt; font-family: 2005_iannnnnUBC\"><o:p></o:p></span></span> <span style=\"font-size: 20pt; font-family: 2005_iannnnnUBC\"><span style=\"color: #000000\">1. <span lang=\"TH\">เพศชาย มีโอกาสเกิดโรคหัวใจขาดเลือด มากกว่าเพศหญิง </span>3-5 <span lang=\"TH\">เท่า<br />\n</span></span></span><span style=\"font-size: 20pt; font-family: 2005_iannnnnUBC\"><span style=\"color: #000000\">2. <span lang=\"TH\">อายุ ในเพศชายมักจะเริ่มตั้งแต่ อายุ </span>35 <span lang=\"TH\">ปีขึ้นไป ในเพศหญิงจะเกิดช้ากว่า คือ มักจะเกิดในวัยหมดประจำเดือน อายุประมาณ </span>50-55 <span lang=\"TH\">ปี<br />\n</span></span></span><span style=\"font-size: 20pt; font-family: 2005_iannnnnUBC\"><span style=\"color: #000000\">3. <span lang=\"TH\">สูบบุหรี่<br />\n</span></span></span><span style=\"font-size: 20pt; font-family: 2005_iannnnnUBC\"><span style=\"color: #000000\">4. <span lang=\"TH\">ไขมันในเลือดสูง<br />\n</span></span></span><span style=\"font-size: 20pt; font-family: 2005_iannnnnUBC\"><span style=\"color: #000000\">5. <span lang=\"TH\">โรคความดันโลหิตสูง<br />\n</span></span></span><span style=\"font-size: 20pt; font-family: 2005_iannnnnUBC\"><span style=\"color: #000000\">6. <span lang=\"TH\">โรคเบาหวาน<br />\n</span></span></span><span style=\"font-size: 20pt; font-family: 2005_iannnnnUBC\"><span style=\"color: #000000\">7. <span lang=\"TH\">อ้วนและไม่ค่อยได้ออกกำลังกาย<br />\n</span></span></span><span style=\"font-size: 20pt; font-family: 2005_iannnnnUBC\"><span style=\"color: #000000\">8. <span lang=\"TH\">เครียดง่าย เครียดบ่อย<br />\n</span></span></span><span style=\"font-size: 20pt; font-family: 2005_iannnnnUBC\"><span style=\"color: #000000\">9. <span lang=\"TH\">มีประวัติโรคหัวใจขาดเลือดของคนในครอบครัว </span></span></span><span style=\"font-size: 20pt; font-family: 2005_iannnnnUBC\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">ผู้ที่มีปัจจัยเสี่ยงหลายข้อ </span></span><span style=\"font-size: 20pt; font-family: 2005_iannnnnUBC\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">ก็จะมีโอกาสเกิดโรคหัวใจขาดเลือด ได้เร็วกว่าผู้อื่น และมักจะมีความรุนแรงของโรคมากกว่าผู้ที่ไม่มีปัจจัยเสี่ยง</span></span></p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p><span style=\"font-size: 20pt; font-family: 2005_iannnnnUBC\"><o:p></o:p></span> </p>\n<h3 style=\"margin: auto 0cm 0pt\"><strong><i><u><span style=\"font-size: 36pt; color: #99cc00; font-family: 2005_iannnnnUBC\" lang=\"TH\">การวินิจฉัยโรคหัวใจขาดเลือด</span></u></i></strong></h3>\n<h3 style=\"margin: auto 0cm 0pt\"><strong><i><u><span style=\"font-size: 36pt; color: #99cc00; font-family: 2005_iannnnnUBC\"><o:p><img border=\"0\" width=\"332\" src=\"http://www.ram-hosp.co.th/books/images/11cardio3.jpg\" height=\"203\" /></o:p></span></u></i></strong></h3>\n<h3 style=\"margin: auto 0cm 0pt\"><strong><i><u><span style=\"font-size: 36pt; color: #99cc00; font-family: 2005_iannnnnUBC\"><o:p></o:p></span></u></i></strong></h3>\n<!--mstheme--><!--mstheme--><p><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 20pt; font-family: 2005_iannnnnUBC\" lang=\"TH\">การวินิจฉัยเบื้องต้น ที่สำคัญที่สุด คือ อาการเจ็บหน้าอก ดัง ได้กล่าวแล้วข้างต้น โดยเฉพาะในผู้ที่มีปัจจัยเสี่ยง หลายข้อ มีอาการเจ็บหน้าอก เหมือนถูกกดทับ หรือเหมือนถูกบีบรัด เป็นมากเวลาออกกำลัง ทุเลาลงเวลาพัก อาการมักจะหายไป ใน </span><span style=\"font-size: 20pt; font-family: 2005_iannnnnUBC\">10-15 <span lang=\"TH\">นาที ในกรณีที่มีอาการเจ็บหน้าอกรุนแรง มีเหงื่อออกมาก วิงเวียน คลื่นไส้ มือเท้าเย็น เขียว หรือมีอาการหมดสติ พักแล้วไม่ดีขึ้น มักเกิดจาก หลอดเลือดหัวใจอุดตันโดยสิ้นเชิง ทำให้กล้ามเนื้อหัวใจตาย ต้องรีบนำผู้ป่วยถึงโรงพยาบาลทันที ผู้ป่วยอาจเสียชีวิตโดยกระทันหันได้</span><o:p></o:p></span></span> </p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"th1\">\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 20pt; font-family: 2005_iannnnnUBC\" lang=\"TH\">ในกรณีที่หลอดเลือด หัวใจตีบเล็กน้อย อาจจะไม่มีอาการเจ็บหน้าอกเลย หรือเจ็บเล็กน้ อย เมื่อเวลาออกกำลังกายหนักเท่านั้น การตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ จะช่วยวินิจฉัยโรคหลอดเลือดหัวใจตีบได้ ในกรณีที่หลอดเลือดหัวใจตีบน้อย คลื่นไฟฟ้าหัวใจมักจะปกติ จึงมีความจำเป็นที่จะต้องตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจขณะออกกำลังกาย การออกกำลังกายทำให้หัวใจทำงานหนักขึ้น ต้องการออกซิเจนมากขึ้น เมื่อหลอดเลือดหัวใจตีบ ไม่สามารถนำเลือด และออกซิเจน ให้กล้ามเนื้อหัวใจได้เพียงพอ ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของคลื่นไฟฟ้าหัวใจ และอาจมีอาการเจ็บหน้าอกเกิดขึ้น จึงช่วยในการวินิจฉัยโรคหลอดเลือดหัวใจตีบได้ นอกจากนี้การตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจขณะออกกำลังกาย ยังช่วยบอกความรุนแรงของโรคหลอดเลือดหัวใจตีบ และสมรรถภาพของหัวใจได้อีกด้วย</span></span></p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p><span style=\"font-size: 20pt; font-family: 2005_iannnnnUBC\"> </span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"th1\">\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 20pt; font-family: 2005_iannnnnUBC\"><img border=\"0\" width=\"200\" src=\"http://www.ram-hosp.co.th/books/images/11cardio4.jpg\" height=\"306\" /></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 20pt; font-family: 2005_iannnnnUBC\"><o:p> </o:p></span></span> <span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 20pt; font-family: 2005_iannnnnUBC\" lang=\"TH\">ปัจจุบันการตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจขณะออกกำลังกาย ทำโดยให้เดินบนสายพาน และมีการบันทึกกร๊าฟของคลื่นไฟฟ้าหัวใจ และความดันโลหิตตลอดเวลาที่ออกกำลังกาย และในระยะพัก หลังออกกำลังกาย เพื่อเปรียบเทียบกับคลื่นไฟฟ้าหัวใจ ในขณะที่ยังไม่ได้ออกกำลังกาย</span><span style=\"font-size: 20pt; font-family: 2005_iannnnnUBC\"><o:p></o:p></span></span> <span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 20pt; font-family: 2005_iannnnnUBC\" lang=\"TH\">การตรวจพิเศษอย่างอื่น ที่ช่วยในการวินิจฉัย โรคหัวใจขาดเลือด เช่น การฉีดสารกัมมันตภาพรังสี และใช้เครื่องมือตรวจจับสารเหล่านี้ ซึ่งจะปรากฏที่กล้ามเนื้อหัวใจ และนำภาพเหล่านี้มาเปรียบเทียบกัน ระหว่างในขณะพัก กับในขณะออกกำลังกาย ในผู้ที่เป็นโรคหลอดเลือดหัวใจตีบ ภาพที่ได้ขณะออกกำลังกาย จะมีการขาดหายไปของสารกัมมันตภาพรังสี ในบริเวณกล้ามเนื้อหัวใจที่ขาดเลือดไปเลี้ยง</span><span style=\"font-size: 20pt; font-family: 2005_iannnnnUBC\"><o:p></o:p></span></span> <span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 20pt; font-family: 2005_iannnnnUBC\" lang=\"TH\">การวินิจฉัยที่กล่าวมาแล้วข้างต้น เป็นการตรวจเพื่อวินิจฉัยเบื้องต้น สำหรับวิธีการตรวจเพื่อยืนยัน โรคหลอดเลือดหัวใจตีบ คือ การฉีดสารทึบรังสีเข้าไปในเส้นเลือดหัวใจ โดยการใช้สายสวนหัวใจเข้าทางหลอดเลือดแดง เข้าสู่เส้นเลือดหัวใจ และมีการบันทึกภาพขณะฉีดสารทึบรังสี ผ่านเข้าไปในเส้นเลือดหัวใจ นอกจากจะเห็นลักษณะการตีบของเส้นเลือดหัวใจแล้ว ยังช่วยในการวางแผนการรักษาโรคหลอดเลือดหัวใจตีบ ในขั้นตอนต่อไปด้วย</span></span></p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p><span style=\"font-size: 20pt; font-family: 2005_iannnnnUBC\"><o:p></o:p></span> <span style=\"font-size: 20pt; font-family: 2005_iannnnnUBC\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span> <span style=\"font-size: 20pt; font-family: 2005_iannnnnUBC\"><o:p>  </o:p></span><span style=\"font-size: 20pt; font-family: 2005_iannnnnUBC\"><o:p></o:p></span></p>\n<h3 style=\"margin: auto 0cm 0pt\"><strong><i><u><span style=\"font-size: 36pt; color: #99cc00; font-family: 2005_iannnnnUBC\" lang=\"TH\">การรักษาโรคหัวใจขาดเลือด</span></u></i></strong></h3>\n<h3 style=\"margin: auto 0cm 0pt\"><strong><i><u><span style=\"font-size: 36pt; color: #99cc00; font-family: 2005_iannnnnUBC\"><o:p><i><u><span style=\"font-size: 36pt; color: #99cc00; font-family: 2005_iannnnnUBC\"><o:p><img border=\"0\" width=\"200\" src=\"http://www.ram-hosp.co.th/books/images/11cardio5.jpg\" height=\"195\" style=\"width: 205px; height: 207px\" /></o:p></span></u></i></o:p></span></u></i></strong></h3>\n<!--mstheme--><!--mstheme--><p><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 20pt; font-family: 2005_iannnnnUBC\" lang=\"TH\">โรคหัวใจขาดเลือดเนื่องจาก เส้นเลือดที่ไปเลี้ยงหัวใจ เกิดตีบหรืออุดตัน โรคนี้เมื่อเกิดขึ้นมาแล้ว เป็นโรคที่ต้องรักษาต่อเนื่อง ไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้ ทางที่ดีที่สุดก็คือการป้องกันไม่ให้เกิดโรคนี้ขึ้น โดยการลดปัจจัยเสี่ยงต่างๆ ดังที่ได้กล่าวแล้วข้างต้น จะชะลอการเกิดโรคนี้ก่อนวัยอันควรจะเป็น หรืออาจจะไม่เป็นเลยก็ได้</span><span style=\"font-size: 20pt; font-family: 2005_iannnnnUBC\"><o:p></o:p></span></span> <span style=\"font-size: 20pt; font-family: 2005_iannnnnUBC\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">ในผู้ที่มีอาการของโรคหัวใจขาดเลือดเป็นครั้งแรก คือมีอาการเจ็บหน้าอก เวลาออกกำลังกาย หรือเหนื่อยง่ายกว่าปกติ โดยหาสาเหตุไม่ได้ ควรพบแพทย์แต่เนิ่นๆ เพื่อที่จะได้วินิจฉัยโรคได้ถูกต้อง พร้อมทั้งจะได้รับการรักษา และป้องกันไม่ให้โรคลุกลามไปมากขึ้น กล้ามเนื้อหัวใจส่วนที่ยังดีอยู่ จะได้ทำงานเป็น</span></span></p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p><span style=\"font-size: 20pt; font-family: 2005_iannnnnUBC\"><o:p></o:p></span> </p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p></p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"th1\">\n&nbsp;\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 20pt; font-family: 2005_iannnnnUBC\" lang=\"TH\"></span></p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<b><i><u><span style=\"font-size: 36pt; color: #99cc00; font-family: 2005_iannnnnUBC\" lang=\"TH\">การรักษาโรคหัวใจขาดเลือดประกอบไปด้วย</span></u></i></b>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 20pt; color: #000000; font-family: 2005_iannnnnUBC\"><span> <span style=\"font-size: 36pt; color: #99cc00; font-family: 2005_iannnnnUBC\"><o:p><img border=\"0\" width=\"350\" src=\"http://www.ram-hosp.co.th/books/images/11cardio6.jpg\" height=\"255\" /></o:p></span></span></span> </p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 20pt; color: #000000; font-family: 2005_iannnnnUBC\"><span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 20pt; color: #000000; font-family: 2005_iannnnnUBC\"><span>1.<span style=\"font-family: \'Times New Roman\'\">                    </span></span></span><span style=\"font-size: 20pt; color: #000000; font-family: 2005_iannnnnUBC\" lang=\"TH\">การเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิต โดยการลดปัจจัยเสี่ยง</span><span style=\"font-size: 20pt; color: #000000; font-family: 2005_iannnnnUBC\"><br />\n<span lang=\"TH\">การลดปัจจัยเสี่ยงเป็นแนวทางที่ สำคัญอย่างยิ่ง ในการรักษาโรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด จากเส้นเลือดหัวใจตีบ ทั้งยังช่วยป้องกันไม่ให้มีการตีบของเส้นเลือดหัวใจ และยังช่วยลดอัตราการเสียชีวิตจากโรคหัวใจลงด้วย การลดปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญคือ </span><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 20pt; color: #000000; font-family: 2005_iannnnnUBC\"><span>1.<span style=\"font-family: \'Times New Roman\'\">                    </span></span></span><span style=\"font-size: 20pt; color: #000000; font-family: 2005_iannnnnUBC\" lang=\"TH\">เลิกสูบบุหรี่ เด็ดขาด </span><span style=\"font-size: 20pt; color: #000000; font-family: 2005_iannnnnUBC\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 20pt; color: #000000; font-family: 2005_iannnnnUBC\"><span>2.<span style=\"font-family: \'Times New Roman\'\">                  </span></span></span><span style=\"font-size: 20pt; color: #000000; font-family: 2005_iannnnnUBC\" lang=\"TH\">ลดน้ำหนักตัวให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานในผู้ที่มีน้ำหนักตัวเกิน </span><span style=\"font-size: 20pt; color: #000000; font-family: 2005_iannnnnUBC\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 20pt; color: #000000; font-family: 2005_iannnnnUBC\"><span>3.<span style=\"font-family: \'Times New Roman\'\">                  </span></span></span><span style=\"font-size: 20pt; color: #000000; font-family: 2005_iannnnnUBC\" lang=\"TH\">ออกกำลังกาย อย่างสม่ำเสมอ และพักผ่อนให้เพียงพอ </span><span style=\"font-size: 20pt; color: #000000; font-family: 2005_iannnnnUBC\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 20pt; color: #000000; font-family: 2005_iannnnnUBC\"><span>4.<span style=\"font-family: \'Times New Roman\'\">                  </span></span></span><span style=\"font-size: 20pt; color: #000000; font-family: 2005_iannnnnUBC\" lang=\"TH\">ควบคุมโรคเบาหวาน ไขมันในเลือดสูง และความดันโลหิตสูงให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ สำหรับผู้ที่เป็นแล้ว ในผู้ที่ยังไม่เป็นโรคเหล่านี้ ควรมีการตรวจเช็คทุก </span><span style=\"font-size: 20pt; color: #000000; font-family: 2005_iannnnnUBC\">6 <span lang=\"TH\">เดือน เพื่อที่จะได้ควบคุมโดยเร็วที่สุด </span><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 20pt; color: #000000; font-family: 2005_iannnnnUBC\"><span>2.<span style=\"font-family: \'Times New Roman\'\">                  </span></span></span><span style=\"font-size: 20pt; color: #000000; font-family: 2005_iannnnnUBC\" lang=\"TH\">การรักษาด้วยการใช้ยา</span><span style=\"font-size: 20pt; color: #000000; font-family: 2005_iannnnnUBC\"><br />\n<span lang=\"TH\">ในโรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด ความรุนแรงของโรคมีหลายระดับ ตั้งแต่ไม่มีอาการ ไปจนถึงภาวะแทรกซ้อนต่างๆ เช่น ภาวะหัวใจล้มเหลว ภาวะหัวใจเต้นผิดปกติ หลอดเลือดหัวใจอุดตันเฉียบพลัน เป็นต้น เพราะฉะนั้น ยาที่ใช้รักษา จึงขึ้นอยู่กับระยะ และความรุนแรงของโรคได้แก่ </span><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 20pt; color: #000000; font-family: 2005_iannnnnUBC\"><span>1.<span style=\"font-family: \'Times New Roman\'\">                    </span></span></span><span style=\"font-size: 20pt; color: #000000; font-family: 2005_iannnnnUBC\" lang=\"TH\">ยาเพื่อป้องกันการจับตัวของเกล็ดเลือด กับผนังของหลอดเลือดแดง ซึ่งมีผลทำให้เกิดการทำลายของผนังหลอดเลือดและทำให้หลอดเลือดตีบ ตันมากขึ้น และอุดตัน </span><span style=\"font-size: 20pt; color: #000000; font-family: 2005_iannnnnUBC\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 20pt; color: #000000; font-family: 2005_iannnnnUBC\"><span>2.<span style=\"font-family: \'Times New Roman\'\">                  </span></span></span><span style=\"font-size: 20pt; color: #000000; font-family: 2005_iannnnnUBC\" lang=\"TH\">ยาเพื่อช่วยลดอาการเจ็บหน้าอก ลดการทำงานของหัวใจ ช่วยให้การทำงานของหัวใจดีขึ้น </span><span style=\"font-size: 20pt; color: #000000; font-family: 2005_iannnnnUBC\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 20pt; color: #000000; font-family: 2005_iannnnnUBC\"><span>3.<span style=\"font-family: \'Times New Roman\'\">                  </span></span></span><span style=\"font-size: 20pt; color: #000000; font-family: 2005_iannnnnUBC\" lang=\"TH\">ยาเพื่อใช้ละลายลิ่มเลือด ที่อุดกั้นเส้นเลือดหัวใจที่ตีบอย่างเฉียบพลัน เพื่อป้องกันไม่ให้กล้ามเนื้อหัวใจตาย จะได้ประโยชน์มาก ถ้าให้ได้เร็วที่สุด หลังจากที่เส้นเลือดหัวใจมีการอุดตันอย่างเฉียบพลัน ถ้าเกิน </span><span style=\"font-size: 20pt; color: #000000; font-family: 2005_iannnnnUBC\">6 <span lang=\"TH\">ชั่วโมงไปแล้วจะได้ประโยชน์น้อย หรืออาจจะไม่ได้ประโยชน์เลย </span><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 20pt; color: #000000; font-family: 2005_iannnnnUBC\"><span>4.<span style=\"font-family: \'Times New Roman\'\">                  </span></span></span><span style=\"font-size: 20pt; color: #000000; font-family: 2005_iannnnnUBC\" lang=\"TH\">ยาอื่นๆ ที่ใช้รักษาภาวะแทรกซ้อน ได้แก่ ยาขับปัสสาวะ ยาที่ใช้รักษาภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ เป็นต้น ยาพวกนี้จะใช้ก็ต่อเมื่อมีโรคแทรกซ้อนเกิดขึ้นเท่านั้น </span><span style=\"font-size: 20pt; color: #000000; font-family: 2005_iannnnnUBC\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 20pt; color: #000000; font-family: 2005_iannnnnUBC\"><span>3.<span style=\"font-family: \'Times New Roman\'\">                  </span></span></span><span style=\"font-size: 20pt; color: #000000; font-family: 2005_iannnnnUBC\" lang=\"TH\">การขยายเส้นเลือดหัวใจโดยบอลลูน</span><span style=\"font-size: 20pt; color: #000000; font-family: 2005_iannnnnUBC\"><br />\n<span lang=\"TH\">เป็นวิธีการขยายเส้นเลือดหัวใจโดยการให้สายสวนหัวใจผ่านทางเส้นเลือดแดงที่โคนขา เข้าไปจนถึงเส้นเลือดหัวใจที่ตีบ และขยายเส้นเลือดโดยทำให้บอลลูนที่ปลายของสายสวนหัวใจพองขึ้น เพื่อที่จะดันเส้นเลือดที่ตีบให้ขยายออก จะได้มีเลือดไปเลี้ยงหัวใจได้มากขึ้น</span>  <o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 20pt; color: #000000; font-family: 2005_iannnnnUBC\"><span>4.<span style=\"font-family: \'Times New Roman\'\">                  </span></span></span><span style=\"font-size: 20pt; color: #000000; font-family: 2005_iannnnnUBC\" lang=\"TH\">การรักษาโดยการผ่าตัดต่อเส้นเลือดหัวใจใหม่</span><span style=\"font-size: 20pt; color: #000000; font-family: 2005_iannnnnUBC\"><br />\n<span lang=\"TH\">โดยการใช้เส้นเลือดแดง หรือเส้นเลือดดำที่ขา มาต่อเส้นเลือดหัวใจ เพื่อเพิ่มทางเดินขอเลือด ที่จะมาเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจมากขึ้น </span><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 20pt; color: #000000; font-family: 2005_iannnnnUBC\"> <o:p></o:p></span> <span style=\"font-size: 20pt; color: #000000; font-family: 2005_iannnnnUBC\" lang=\"TH\">การรักษาโรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด ที่เกิดจากเส้นเลือดหัวใจตีบ ตามที่ได้กล่าวมาแล้วข้างต้น ขึ้นอยู่กับระยะของโรคที่มาพบแพทย์ ไม่ว่าจะรักษาด้วยวิธีใดก็ตาม โรคนี้เป็นโรคที่รักษาไม่หายขาด ต้องการการรักษาต่อเนื่องตลอดไป เพื่อป้องกันไม่ให้เส้นเลือดตีบมากขึ้น หรือเกิดภาวะแทรกซ้อน ที่จะตามมาซึ่งเป็นอันตรายถึงชีวิตได้ ภาวะแทรกซ้อนที่สำคัญคือ ภาวะหัวใจล้มเหลว และภาวะหัวใจเต้นผิดปกติ ทำให้เสียชีวิตเฉียบพลันได้ </span></p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p><span style=\"font-size: 20pt; color: #000000; font-family: 2005_iannnnnUBC\"><o:p></o:p></span></p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"th1\">\n&nbsp;\n</p>\n<p></p>\n', created = 1714701423, expire = 1714787823, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:914d7ad741741d6e61a0c78f6cdf0bc1' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:d28a5df519ece561fb7651f54ce36037' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><h3 style=\"margin: auto 0cm 0pt\"><strong><span style=\"font-size: 36pt; color: #99cc00; font-family: 2005_iannnnnUBC\" lang=\"TH\"><em><u>โรคหัวใจขาดเลือด</u></em></span></strong></h3>\n<h3 style=\"margin: auto 0cm 0pt\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 20pt; font-family: 2005_iannnnnUBC\" lang=\"TH\"><img border=\"0\" width=\"232\" src=\"http://www.ram-hosp.co.th/books/images/11cardio1.jpg\" height=\"407\" /></span></span></h3>\n<h3 style=\"margin: auto 0cm 0pt\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 20pt; font-family: 2005_iannnnnUBC\" lang=\"TH\">เกิดจากเส้นโลหิตที่ไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจ เกิดอาการตีบ ทำให้เลือด </span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 20pt; font-family: 2005_iannnnnUBC\" lang=\"TH\">ไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจไม่ได้</span></span></h3>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"th1\">\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 20pt; font-family: 2005_iannnnnUBC\" lang=\"TH\">กล้ามเนื้อหัวใจ ขาดออกซิเจนชั่วขณะ เกิดอาการเจ็บหน้าอก อาการจะทุเลาเมื่อพัก</span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"th1\">\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 20pt; font-family: 2005_iannnnnUBC\" lang=\"TH\">และถ้าเส้นเลือดที่ตีบ เกิดอุดตันอย่างเฉียบพลัน จะทำให้เกิด กล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน ทำให้เกิด อาการเจ็บหน้าอก อย่างรุนแรง อาจมีอาการ หัวใจเต้นผิดจังหวะ หรือหัวใจหยุดเต้น และเสียชีวิตแบบปัจจุบันทันด่วน ก่อนที่จะไปถึงโรงพยาบาลได้ </span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 20pt; font-family: 2005_iannnnnUBC\" lang=\"TH\">อาการเจ็บหน้าอกจากหลอดเลือดหัวใจตีบ</span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"th1\">\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 20pt; font-family: 2005_iannnnnUBC\" lang=\"TH\">เกิดจากการเสียสมดุลย์ ของการใช้ออกซิเจน ของกล้ามเนื้อหัวใจ ในคนปกติ หรือผู้ที่มี</span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"th1\">\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 20pt; font-family: 2005_iannnnnUBC\" lang=\"TH\">หลอดเลือดหัวใจตีบเล็กน้อย การไหลเวียนของเลือด เพียงพอที่จะส่งออกซิเจน ให้กล้ามเนื้อหัวใจ</span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"th1\">\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 20pt; font-family: 2005_iannnnnUBC\" lang=\"TH\">แม้ว่าจะทำงานอย่างหนักก็ตาม ในผู้ที่มีหลอดเลือดหัวใจตีบมากขึ้น จะมีอาการเจ็บหน้าอก เมื่อมีการออกกำลัง เพราะกล้ามเนื้อหัวใจ ต้องการออกซิเจนมากขึ้น แต่ปริมาณเลือดที่ไปเลี้ยงหัวใจมีจำกัด เนื่องจากหลอดเลือดตีบ อาการจะดีขึ้นเมื่อพักความต้องการออกซิเจนของกล้ามเนื้อหัวใจลดลง อาการเจ็บหน้าอกมักจะเป็นไม่เกิน </span><span style=\"font-size: 20pt; font-family: 2005_iannnnnUBC\">10 <span lang=\"TH\">นาที เมื่อหลอดเลือดตีบมากขึ้น ระยะเวลาที่ออกกำลังจะน้อยลง อาการเจ็บหน้าอกจะเกิดเร็วขึ้นตามลำดับ และถ้ามีอาการอุดตัน ของหลอดเลือดหัวใจที่ตีบ กล้ามเนื้อหัวใจที่หลอดเลือดตันไปเลี้ยง จะตาย อาการเจ็บหน้าอก จะเป็นอยู่นาน และต่อเนื่องมากกว่า </span>15 <span lang=\"TH\">นาทีขึ้นไป และอาการจะไม่ทุเลา แม้จะไม่ได้ทำกิจกรรมใดๆ เลย</span></span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"th1\">\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 20pt; font-family: 2005_iannnnnUBC\"><span lang=\"TH\"></span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 20pt; font-family: 2005_iannnnnUBC\"><span lang=\"TH\"></span><o:p></o:p></span></span></p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"th1\">\n<span style=\"font-size: 20pt; font-family: 2005_iannnnnUBC\" lang=\"TH\"><strong><u><span style=\"color: #33cccc\">ลักษณะอาการเจ็บหน้าอกจากโรคหัวใจขาดเลือด</span></u></strong></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"th1\">\n<span style=\"font-size: 20pt; font-family: 2005_iannnnnUBC\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">เป็นอาการเจ็บปวดเหมือนถูกกดดัน ผู้ป่วยมักจะบรรยายว่า มีอาการแน่นหน้าอก เหมือนถูกกด ถูกบีบ หรือรู้สึกแน่น กลางหน้าอก อาการเหล่านี้ อาจร้าวไปยังหัวไหล่ แขน คอ ขากรรไกร หรือหลังก็เป็นได้ บางคนอาจมีความรู้สึกเหมือนมีเชือดรัด หรือมัดรอบหน้าอก อาจมีอาการเหงื่อออกอย่างมาก ตัวเย็น วิงเวียน คลื่นไส้ และอ่อนแรง ระยะเวลาของการเจ็บหน้าอก และความรุนแรงของอาการเจ็บ ขึ้นอยู่กับสภาพหลอดหัวใจว่าตีบน้อย ตีบมาก หรืออุดตันโดยสิ้นเชิง และความต้องการออกซิเจนของกล้ามเนื้อหัวใจ ถ้าออกกำลัง หัวใจต้องทำงานหนัก ต้องการออกซิเจนมากขึ้น อาการเจ็บหน้าอกก็จะเป็นมาก และนานกว่า ในขณะพักการทำงานของหัวใจลดลง ความต้องการออกซิเจนก็จะลดลง อาการเจ็บหน้าอกจะลดลง</span></span></p>\n', created = 1714701423, expire = 1714787823, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:d28a5df519ece561fb7651f54ce36037' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

โรคหัวใจขาดเลือด

โรคหัวใจขาดเลือด

เกิดจากเส้นโลหิตที่ไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจ เกิดอาการตีบ ทำให้เลือด ไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจไม่ได้

กล้ามเนื้อหัวใจ ขาดออกซิเจนชั่วขณะ เกิดอาการเจ็บหน้าอก อาการจะทุเลาเมื่อพัก

และถ้าเส้นเลือดที่ตีบ เกิดอุดตันอย่างเฉียบพลัน จะทำให้เกิด กล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน ทำให้เกิด อาการเจ็บหน้าอก อย่างรุนแรง อาจมีอาการ หัวใจเต้นผิดจังหวะ หรือหัวใจหยุดเต้น และเสียชีวิตแบบปัจจุบันทันด่วน ก่อนที่จะไปถึงโรงพยาบาลได้ อาการเจ็บหน้าอกจากหลอดเลือดหัวใจตีบ

เกิดจากการเสียสมดุลย์ ของการใช้ออกซิเจน ของกล้ามเนื้อหัวใจ ในคนปกติ หรือผู้ที่มี

หลอดเลือดหัวใจตีบเล็กน้อย การไหลเวียนของเลือด เพียงพอที่จะส่งออกซิเจน ให้กล้ามเนื้อหัวใจ

แม้ว่าจะทำงานอย่างหนักก็ตาม ในผู้ที่มีหลอดเลือดหัวใจตีบมากขึ้น จะมีอาการเจ็บหน้าอก เมื่อมีการออกกำลัง เพราะกล้ามเนื้อหัวใจ ต้องการออกซิเจนมากขึ้น แต่ปริมาณเลือดที่ไปเลี้ยงหัวใจมีจำกัด เนื่องจากหลอดเลือดตีบ อาการจะดีขึ้นเมื่อพักความต้องการออกซิเจนของกล้ามเนื้อหัวใจลดลง อาการเจ็บหน้าอกมักจะเป็นไม่เกิน 10 นาที เมื่อหลอดเลือดตีบมากขึ้น ระยะเวลาที่ออกกำลังจะน้อยลง อาการเจ็บหน้าอกจะเกิดเร็วขึ้นตามลำดับ และถ้ามีอาการอุดตัน ของหลอดเลือดหัวใจที่ตีบ กล้ามเนื้อหัวใจที่หลอดเลือดตันไปเลี้ยง จะตาย อาการเจ็บหน้าอก จะเป็นอยู่นาน และต่อเนื่องมากกว่า 15 นาทีขึ้นไป และอาการจะไม่ทุเลา แม้จะไม่ได้ทำกิจกรรมใดๆ เลย

ลักษณะอาการเจ็บหน้าอกจากโรคหัวใจขาดเลือด

เป็นอาการเจ็บปวดเหมือนถูกกดดัน ผู้ป่วยมักจะบรรยายว่า มีอาการแน่นหน้าอก เหมือนถูกกด ถูกบีบ หรือรู้สึกแน่น กลางหน้าอก อาการเหล่านี้ อาจร้าวไปยังหัวไหล่ แขน คอ ขากรรไกร หรือหลังก็เป็นได้ บางคนอาจมีความรู้สึกเหมือนมีเชือดรัด หรือมัดรอบหน้าอก อาจมีอาการเหงื่อออกอย่างมาก ตัวเย็น วิงเวียน คลื่นไส้ และอ่อนแรง ระยะเวลาของการเจ็บหน้าอก และความรุนแรงของอาการเจ็บ ขึ้นอยู่กับสภาพหลอดหัวใจว่าตีบน้อย ตีบมาก หรืออุดตันโดยสิ้นเชิง และความต้องการออกซิเจนของกล้ามเนื้อหัวใจ ถ้าออกกำลัง หัวใจต้องทำงานหนัก ต้องการออกซิเจนมากขึ้น อาการเจ็บหน้าอกก็จะเป็นมาก และนานกว่า ในขณะพักการทำงานของหัวใจลดลง ความต้องการออกซิเจนก็จะลดลง อาการเจ็บหน้าอกจะลดลง

สร้างโดย: 
พิชารัฐ_26/ชาลิสา_17 6.4

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 507 คน กำลังออนไลน์