• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:ac81cbe9e3aba4e372df9074c22b708e' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n&nbsp;\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u18717/a02.gif\" height=\"118\" width=\"591\" />\n</div>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<b><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #ff00ff\">การวัดระยะห่างจากโลกถึงดาว ด้วยวิธีพารัลแลกซ์</span></span></b>\n</p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"color: #ff00ff\">(ความคิดรวบยอด: ถ้าเราทราบมุมพารัลแลกซ์ของดาว เราจะทราบระยะทางระหว่างโลกถึงดาวดวงนั้น)<br />\nพารัลแลกซ์ (Parallax) เป็นการวัดระยะห่างระหว่างโลกกับดาวฤกษ์ โดยใช้หลักการของสามเหลี่ยมคล้าย โดยใช้รัศมีวงโคจรโลกรอบดวงอาทิตย์เป็นเส้นฐาน (Base line) ของสามเหลี่ยม ระยะเวลาที่ทำการวัดจะห่างกัน 6 เดือน เพื่อให้โลกโคจรไปอีกด้านหนึ่งของดวงอาทิตย์ ก็จะมองเห็นดาวฤกษ์ที่ต้องการวัด ปรากฏตำแหน่งเปลี่ยนไปเป็นมุมเล็กๆ เมื่อเทียบกับกลุ่มดาวที่อยู่ฉากหลังไกลออกไป ระยะทางที่ทำให้มุมแพรัลแลกซ์มีค่า 1 อาร์ควินาที (1/3600 องศา) เท่ากับ 1 พาร์เสค “Parsec” ย่อมาจาก Parallax Angle of 1 Arc Second คิดเป็นระยะทางเท่ากับ 206,265 AU หรือ 3.26 ปีแสง (ระยะทาง 1 ปีแสง หมายถึงระยะทางที่แสงเดินทางนาน 1 ปี คิดเป็นระยะทางเท่ากับ 9.5 ล้านล้านกิโลเมตร) อย่างไรก็ตาม หากมุมพารัลแลกซ์เล็กกว่า 0.01 อาร์ควินาที ก็จะขาดความเที่ยงตรง การวัดระยะทางด้วยวิธีพารัลแล็กซ์จึงใช้ได้ไม่เกิน 100 พาร์เซค <br />\nภาพที่ 1 แสดงการเปรียบเทียบมุมพารัลแล็กซ็ของดาวสองดวง ดาวในภาพที่ 1 ก มีมุมพารัลแล็กซ์กว้างกว่าดาวในภาพที่ 1 ข เนื่องจากอยู่ใกล้กับโลกมากกว่า <br />\n</span>\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u18717/14.jpg\" height=\"363\" width=\"500\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\nhttp://www.lesacd.in.th/3/nature_ligth/star_properties/pararax.jpg \n</div>\n<p align=\"center\">\n<br />\nภาพที่ 1 ดาวที่อยู่ใกล้มีมุมพารัลแล็กซ์ใหญ่กว่าดาวอยู่ไกล\n</p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"color: #ff00ff\">สูตร การหาระยะทางด้วยมุมพารัลแลกซ์<span style=\"background-color: #ffcc99\"> <b><span style=\"color: #0000ff\">d = 1/p</span></b></span> <br />\nd = ระยะทางถึงดวงดาว (distance) หน่วยเป็นพาร์เสค (pc) <br />\np = มุมพารัลแล็กซ์ (parallax angle) หน่วยเป็นอาร์ควินาที <br />\nโดยที่ 1 องศา = 60 อาร์คนาที, 1 อาร์คนาที = 60 อาร์ควินาที </span></p>\n<p>ตัวอย่างที่ 1 : ดาวหัวใจสิงห์ (Regulus) ในกลุ่มดาวสิงโต มีมุมพารัลแลกซ์ 0.04 อาร์ควินาที มีระยะทางห่างจากโลกเท่าไร <br />\nd = 1/p = 1/(0.04) อาร์ควินาที <br />\n= 25 พาร์เซค<br />\n= 25 x 3.26 = 81.5 ปีแสง \n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<a href=\"/node/41755\"><img src=\"/files/u18717/home_copy.jpg\" height=\"70\" width=\"70\" /></a> <a href=\"/node/44545\"><img src=\"/files/u18717/_copy_2.gif\" height=\"70\" width=\"70\" /></a>\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #0000ff\"><b><span style=\"color: #ff00ff\">การคำนวณหากำลังส่องสว่าง จาก ระยะห่าง และความสว่างปรากฏ</span></b></span><br />\n(ความคิดรวบยอด: ถ้าเราทราบระยะห่าง และความสว่างปรากฏ เราจะทราบกำลังส่องสว่างของดาว) </span></p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u18717/15.jpg\" height=\"193\" width=\"300\" />\n</div>\n<div align=\"center\">\n<a href=\"http://www.lesacd.in.th/3/nature_ligth/star_properties/brightness.jpg\" title=\"http://www.lesacd.in.th/3/nature_ligth/star_properties/brightness.jpg\">http://www.lesacd.in.th/3/nature_ligth/star_properties/brightness.jpg</a><br />\nภาพที่ 2 ความสว่างแปรผกผันกับระยะทางยกกำลังสอง\n</div>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"color: #ff00ff\">ความสว่าง (Brightness) แปรผกผันกับระยะทางยกกำลังสอง ภาพที่ 2 แสดงให้เห็นว่า ถ้าระยะทาง (d) เพิ่มขึ้นสองเท่า ความสว่าง (b) จะลดลงยกกำลังสอง ตามสูตร </span></p>\n<p><span style=\"color: #0000ff\"><b><span style=\"background-color: #ffcc99\">b = L / 4d2 หรือ L = 4d2 b</span></b></span></p>\n<p>โดยที่ b = ความสว่างปรากฏของดาว (Apparent Brightness) มีหน่วยเป็น วัตต์/ตารางเมตร <br />\nL = กำลังส่องสว่างของดาว (Luminosity) มีหน่วยเป็น วัตต์ <br />\nd = ระยะทางถึงดาว (distance) มีหน่วยเป็น เมตร <br />\nตัวอย่างที่ 2 : ดวงอาทิตย์อยู่ห่างจากโลก 1 AU หรือ 149,600,000 km ความสว่างปรากฏของดวงอาทิตย์มีค่าเท่ากับ 1,370 W/m2 จงคำนวณหาว่า ดวงอาทิตย์จะมีกำลังส่องสว่างกี่วัตต์</p>\n<p>L = 4d2b<br />\nL = 4(1.496 x 1011m)2 (1370 W/m2)<br />\nL = 3.9 x 1026 วัตต์ \n</p>\n<p>\n<a href=\"/node/41755\"><img src=\"/files/u18717/home_copy.jpg\" height=\"70\" width=\"70\" /></a> <a href=\"/node/44545\"><img src=\"/files/u18717/_copy_2.gif\" height=\"70\" width=\"70\" /></a>\n</p>\n', created = 1714719487, expire = 1714805887, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:ac81cbe9e3aba4e372df9074c22b708e' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

การวัดระยะห่างจากโลกถึงดาว ด้วยวิธีพารัลแลกซ์

 

 

การวัดระยะห่างจากโลกถึงดาว ด้วยวิธีพารัลแลกซ์


(ความคิดรวบยอด: ถ้าเราทราบมุมพารัลแลกซ์ของดาว เราจะทราบระยะทางระหว่างโลกถึงดาวดวงนั้น)
พารัลแลกซ์ (Parallax) เป็นการวัดระยะห่างระหว่างโลกกับดาวฤกษ์ โดยใช้หลักการของสามเหลี่ยมคล้าย โดยใช้รัศมีวงโคจรโลกรอบดวงอาทิตย์เป็นเส้นฐาน (Base line) ของสามเหลี่ยม ระยะเวลาที่ทำการวัดจะห่างกัน 6 เดือน เพื่อให้โลกโคจรไปอีกด้านหนึ่งของดวงอาทิตย์ ก็จะมองเห็นดาวฤกษ์ที่ต้องการวัด ปรากฏตำแหน่งเปลี่ยนไปเป็นมุมเล็กๆ เมื่อเทียบกับกลุ่มดาวที่อยู่ฉากหลังไกลออกไป ระยะทางที่ทำให้มุมแพรัลแลกซ์มีค่า 1 อาร์ควินาที (1/3600 องศา) เท่ากับ 1 พาร์เสค “Parsec” ย่อมาจาก Parallax Angle of 1 Arc Second คิดเป็นระยะทางเท่ากับ 206,265 AU หรือ 3.26 ปีแสง (ระยะทาง 1 ปีแสง หมายถึงระยะทางที่แสงเดินทางนาน 1 ปี คิดเป็นระยะทางเท่ากับ 9.5 ล้านล้านกิโลเมตร) อย่างไรก็ตาม หากมุมพารัลแลกซ์เล็กกว่า 0.01 อาร์ควินาที ก็จะขาดความเที่ยงตรง การวัดระยะทางด้วยวิธีพารัลแล็กซ์จึงใช้ได้ไม่เกิน 100 พาร์เซค
ภาพที่ 1 แสดงการเปรียบเทียบมุมพารัลแล็กซ็ของดาวสองดวง ดาวในภาพที่ 1 ก มีมุมพารัลแล็กซ์กว้างกว่าดาวในภาพที่ 1 ข เนื่องจากอยู่ใกล้กับโลกมากกว่า

http://www.lesacd.in.th/3/nature_ligth/star_properties/pararax.jpg 


ภาพที่ 1 ดาวที่อยู่ใกล้มีมุมพารัลแล็กซ์ใหญ่กว่าดาวอยู่ไกล


สูตร การหาระยะทางด้วยมุมพารัลแลกซ์ d = 1/p
d = ระยะทางถึงดวงดาว (distance) หน่วยเป็นพาร์เสค (pc)
p = มุมพารัลแล็กซ์ (parallax angle) หน่วยเป็นอาร์ควินาที
โดยที่ 1 องศา = 60 อาร์คนาที, 1 อาร์คนาที = 60 อาร์ควินาที

ตัวอย่างที่ 1 : ดาวหัวใจสิงห์ (Regulus) ในกลุ่มดาวสิงโต มีมุมพารัลแลกซ์ 0.04 อาร์ควินาที มีระยะทางห่างจากโลกเท่าไร
d = 1/p = 1/(0.04) อาร์ควินาที
= 25 พาร์เซค
= 25 x 3.26 = 81.5 ปีแสง

 

สร้างโดย: 
อาจารย์สุกัญญา เพ็ชรประดับ และ นางสาว วิชุตา ธรรมยุทธสกุล

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 488 คน กำลังออนไลน์