• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:feacd638f511e1dc98f028756448d8f3' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n                                                                     <u><strong><span style=\"background-color: #808080; color: #33cccc\">มงคลที่ 9 มีวินัย</span></strong></u>\n</p>\n<p>\n                                                      <img border=\"0\" src=\"/files/u19256/drkasama_031.jpg\" height=\"264\" width=\"230\" />\n</p>\n<p>\n                                  แหล่งที่มา : <a href=\"http://gotoknow.org/file/skuikratoke/drkasama+031.jpg\">http://gotoknow.org/file/skuikratoke/drkasama+031.jpg</a>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ffffff; color: #33cccc\"><span style=\"color: #000000\">อันวินัย นำระเบียบ สู่เรียบร้อย<br />\nคนใหญ่น้อย เปรมปรีดิ์ ดีนักหนา<br />\nวินัยสร้าง กระจ่างข้อ ก่อศรัทธา<br />\nเพราะรักษา กติกา พาร่วมมือ<br />\nไม่พูดเท็จ พูดสอดเสียด และพูดมาก<br />\nละความยาก สร้างวิบาก ฝากยึดถือ<br />\nคนหมู่มาก มักถางถาก ปากข่าวลือ<br />\nต้องสัตย์ซื่อ ถือวินัย ใช้ร่วมกัน<br />\n</span> <br />\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"background-color: #808000; color: #ffcc99\"><strong><em>วินัย</em></strong></span> หมายถึง ระเบียบ กฎเกณฑ์ข้อบังบับสำหรับควบคุมความประพฤติทางกายของคนในสังคมให้เรียบร้อยดีงาม <br />\nเป็นแบบแผนอันหนึ่งอันเดียวกัน จะได้อยู่ร่วมกัน ด้วยความสุขสบาย ไม่กระทบกระทั่งซึ่งกันและกัน ให้ห่างไกล<br />\nจากความชั่วทั้งหลาย <br />\n การอยู่รวมกันเป็นหมู่เหล่า ถ้าขาดระเบียบวินัย ต่างคนต่างทำตามอำเภอใจ ความขัดแย้งและลักลั่นก็จะเกิดขึ้น <br />\nยิ่งมากคนก็ยิ่งมากเรื่อง ไม่มีความสงบสุข การงานที่ทำก็จะเสียผล <br />\n ถ้าประชาชนแต่ละคนเป็นเสมือนดอกไม้แต่ละดอก ดอกไม้ทั้งหลายเหล่านี้จะด้อยค่าลง หากวางอยู่ระเกะระกะ<br />\nกระจัดกระจาย ทั้งยังทำให้รกรุงรังอีกด้วย แต่เมื่อเรานำดอกไม้เหล่านี้มาร้อยรวมเข้าด้วยกันด้วยเส้นด้ายดอกไม้<br />\nเหล่านี้ก็จะกลายเป็นพวงมาลัยอันงดงามเหมาะที่จะนำไปใช้ประดับตกแต่งให้ เจริญตาเจิรญใจ เส้นด้ายที่ใช้ร้อย<br />\nดอกไม้ให้รวมกันอยู่อย่างมีระเบียบงดงามนั้นเปรียบเสมือนวินัย <br />\n วินัยจึงเป็นสิ่งที่ใช้ควบคมคน ให้คนเราใช้ความรู้ ความสามารถไปในทางที่ถูกที่ควร คือทำให้เป็นคน “ฉลาดใช้” นั่นเอง </span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ffffff; color: #000000\"><span style=\"color: #0000ff\"><strong><u>ชนิดของวินัย</u></strong></span> <br />\nตัวเรามีของสำคัญ 2 อย่าง คือ ชีวิต กับ จิตใจ <br />\nชีวิต ของเราขึ้นอยู่กับระบบโลก ต้องพึ่งโลกชีวิตจึงจะเจริญ <br />\nจิตใจ ของเราขึ้นอยู่กับระบบธรรม ต้องพึ่งธรรม จิตใจจึงจะเจริญ <br />\nเพื่อให้ชีวิตและจิดใจ เจริญทั้ง 2 ทาง เราจึงต้องดำเนินชีวิตให้สอดคล้องกันทั้ง 2 ด้านด้วย <br />\n <br />\n ผู้ที่ฉลาดรู้ ก็ต้องศึกษาให้รู้ทั้งทางโลกและทางธรรม <br />\n ผู้ที่ฉลาดทำ ก็ต้องทำให้เป็นให้ถูกต้อง ทั้งทางโลกและทางธรรม <br />\n เช่นกัน ผู้ที่ฉลาดใช้ ก็ต้องมีวินัยทางโลกและวินัยทางธรรมคอยช่วยกำกับ ความรู้ และความสามารถเอาไว้ <br />\n <br />\n<span style=\"background-color: #808080; color: #800000\"><strong>วินัยทางโลก</strong></span> หมายถึง ระเบียบสำหรรับควบคุมคนในสังคมแต่ละแห่งเป็นข้อตกลงของคนในสังคมนั้นที่จะให้ทำหรือไม่ให้<br />\nทำบางสิ่งบางอย่างซึ่งบางครั้งเราก็เรียกชื่อแยกแยะออกไปหลายอย่าง เช่น กฎหมาย พระราชบัญญัติ พระราชกฤษฎีกา <br />\nกฎข้อบังคับ ระเบียบ ธรรมเนียมประเพณี คำสั่ง ประกาศ กติกา ฯลฯ สิ่งเหล่านี้รวมเรียกว่า วินัยทางโลกทั้งสิ้น </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ffffff; color: #000000\"><span style=\"background-color: #808080; color: #800000\"><strong>วินัยทางธรรม</strong></span> <br />\n เนื่องจากเราชาวพุทธ มีทั้งคฤหัสถ์และบรรชิต ดังนั้นวินัยทางศาสนาจึงมี 2 ประเภท คือ <br />\n1. อนาคาริยวินัย วินัยสำหรับผู้ออกบวช ได้แก่ วินัยของพระภิกษุ <br />\n2.อาคาริยวินัย วินัยสำหรับผู้ครองเรือน หรือประชาชนชายหญิงทั่ว ๆ ไป <br />\nอนาคาริยวินัย <br />\n จุดมุ่งหมายสูงสุดของนักบวช คือความหมดกิเลส ผู้จะหมดกิเลสได้ต้องมีปัญญาอย่างยิ่ง ผู้จะมีปัญญาอย่างยิ่งได้จะต้องมี<br />\nสมาธิอย่างยิ่ง ผู้จะมีสมาธิอย่างยิ่งได้ จะต้องตั้งอยู่บนฐานของศีลอย่างยิ่ง คืออนาคาริยวินัย 4 ประการอันเป็นพื้นฐานของ<br />\nความบริสุทธิ์ ได้แก่ <br />\n ก. ปาฏิโมกขสังวร คือ การสำรวมอยู่ในศีล ๒๒๗ ข้อที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงบัญญัติ เว้นข้อที่พระองค์ทรงห้าม <br />\nทำตามข้อที่พระองค์ทรงให้ปฏิบัติ <br />\n ข. อินทรียสังวร คือ การรู้จักสำรวม ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ไม่ให้เพลิดเพลินไปกับอารมณ์อันน่าใคร่ อันเกิดจากการเห็นรูป <br />\nฟังเสียง ดมกลิ่น ลิ้มรส สัมผัส และการรับรู้อารมณ์ทางใจ อะไรที่ไม่ควรดูก็อย่าไปดู อะไรไม่ควรฟังก็อย่าไปฟัง อะไรไม่ควร<br />\nดมก็อย่าไปดม อะไรไม่ควรลิ้มชิมรสก็อย่าไปชิมอะไรไมควรถูกต้องสัมผัสก็อย่าไปสัมผัส และอะไรที่ไม่ควรคิดก็อย่าไปคิด <br />\n ค.อาชีวปาริสุทธสังวร คือ การหาเลี้ยงชีวิตในทางที่ชอบ ได้แก่ การบิณฑบาต สำหรับการเลี้ยงชีวิตในทางที่ผิด เช่นการหาลาภ<br />\nสังการะด้วยการใบ้หวย การเป็นหมดดู การเป็นพ่อสื่อแม่ชัก การประจบชาวบ้านจัดเป็นการกระทำที่ผิดพระวินัย <br />\n ง. ปัจจัยปัจจเวกขณะ คือ การพิจารณาก่อนที่จะบริโภคหรือใช้ปัจจัย 4 ว่าสิ่งนั้นเป็นเพียงเครื่องหล่อเลี้ยงชีวิตให้อยู่ได้ <br />\nเหมือนน้ำมันหยอดเพลารถให้รถแล่นไปได้เท่านั้น <br />\n พิจารณาดังนี้แล้ว ย่อมบรรเทาความหลง ความมัวเมาในอาหาร เครื่องนุ่งห่ม ที่อยู่ ยารักษาโรคได้ ทำให้กินเพื่ออยู่ ไม่ใช่อยู่เพื่อกิน <br />\n เมื่อแรกเริ่ม พระพุทธศาสนายังไม่มีการบัญญติวินัย เพราะพระภิกษุยังมีจำนวนน้วย และทุกรูปต่างก็ตั้งใจประพฤติปฏิบัติธรรม<br />\nอย่างเคร่งครัดทราบดีว่าอะไรเป็นสิ่งควรทำหรือไม่ควรทำ ต่อมาพระภิกษุมีจำนวนมากขึ้นและมีผู้ประพฤติไม่ค่อยดีหลงเข้ามาบวชด้วย <br />\nไปทำสิ่งที่ไม่สมควรขึ้น พระสัมมาสัมพุทธเจ้าจึงทรงบัญญติวินัยขึ้นทีละข้อ วินัยทุกข้อในพระพุทธศาสนาจึงมีที่มาทั้งสิ้น ตัวอย่างเช่น<br />\nวินัยข้อแรกในพุทธศาสนาเกิดขึ้นเพราะพระภิกษุรูปหนึ่งชื่อสุทิน ได้ย้อนกลับไปร่วมหลับนอนกับภรรยาเก่า เพราะบิดามารดาขอร้อง<br />\nเพื่อให้มีทายาทไว้สือสกุล พระสัมมาสัมพุทธเจ้าจึงทรงบัญญัติวินัยข้อที่ 1 ขึ้นว่า “ห้ามเสพเมถุน” </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ffffff; color: #000000\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ffffff; color: #000000\">                                       <a href=\"/node/41840\"><img border=\"0\" src=\"/files/u19256/001.gif\" height=\"38\" width=\"88\" /></a>         <a href=\"/node/44460\"><img border=\"0\" src=\"/files/u19256/003.gif\" height=\"32\" width=\"75\" /></a>         <a href=\"/node/44461?page=0%2C1\"><img border=\"0\" src=\"/files/u19256/002.gif\" height=\"43\" width=\"81\" /></a></span>\n</p>\n<p>\n                                                                    <u><strong><a target=\"_blank\" href=\"/node/41840?page=0%2C2 \">สารบัญ คลิกที่นี่</a></strong></u>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p><!--pagebreak--><!--pagebreak--></p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ffffff; color: #000000\"><span style=\"color: #003366\"><strong><u>อาคาริยวินัย <br />\n</u></strong></span> วินัยสำหรับคฤหัสถ์ผู้ครองเรือน ที่สำคัญ คือ ศีล 5 <br />\nศีลคืออะไร ?<br />\nศีล แปลว่า ปกติ เป็นวินัยทางธรรมเบื้องต้นของคนเป็นเครื่องจำแนกคนออกจากสัตว์ <br />\n ทุกสิ่งทุกอย่างจะต้องมีลักษณะปกติของมันเอง เช่น ปกติของม้าต้องยืน ไม่มีการนอน ถ้าม้านอนก็เป็นการผิดปกติแสดงว่าม้าป่วย <br />\nฤดูฝนตามปกติจะต้องมีผน ถ้าฤดูฝนกลับแล้ง ฝนไม่ตกแสดงว่าผิดปกติ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ffffff; color: #000000\"><span style=\"color: #003366\"><strong>อะไรคือปกติของคน ?</strong></span> <br />\n1.ปกติของคนจะต้องไม่ฆ่า ถ้าวันไหนมีการฆ่า วันนั้นก็ผิดปกติของคนแต่ไปเข้าข่ายปกติของสัตว์ เช่น เสือ หมี <br />\nปลา ฯลฯ ซึ่งฆ่ากันเป็นปกติเพื่อรักษาปกติของคนไว้ ศีลข้อที่ 1 จึงเกิดขึ้นมาว่า คนจะต้องไม่ฆ่า <br />\n2.ปกติของสัตว์เวลากินอาหารมันจะแย่งกัน ขโมยกัน ถึงเวลาอาหารทีไรสุนันเป็นต้องกัดกันทุกที แต่คนไม่เป็นอย่างนั้น เพื่อรักษา<br />\nปกติของคนไว้ ศีลข้อที่ 2 จึงเกิดขึ้นว่า คนจะต้องไม่ลัก ไม่คอร์รัปชั่น ไม่ยักยอก คดโกง <br />\n3.ปกติของสัตว์ ไม่รู้จักหักห้ามใจให้พอใจเฉพาะคู่ของตน ในฤดูผสมพันธุ์สัตว์จึงมีการต่อสู้แย่งชิงตัวเมีย บางครั้งถึงกับต่อสู้กันจนตาย<br />\nไปข้างหนึ่งก็มี แต่ปกติของคนแล้วจะไม่แย่งคู่ครองของใคร พอใจเฉพาะคู่ครองของตนเท่านั้นเพื่อรักษาปกติของคนไว้ ศีลข้อที่ 3 จึงเกิดขึ้นว่า <br />\nคนจะต้องไม่ประพฤติล่วงในกาม <br />\n4.ปกติของสัตว์ไม่มีความจริงใจต่อใคร พร้อมที่จะทำอันตรายได้ทุกเมื่อ แต่ปกติของคนนั้น เราพูดกันตรงไปตรงมา มีความจริงใจต่อกัน<br />\nถ้าใครโกหกหลอกลวงก็ผิดปกติไป เพื่อรักษาปกติของคนไว้ ศีลข้อที่ ๔ จึงเกิดขึ้นว่าคนจะต้องไม่พูดเท็จ <br />\n5.ปกติแล้วสัตว์มีกำลังร่างกายแข็งแรงมากกว่าคน แต่สัตว์ไม่มีสติควบคุมการใช้กำลังของตนให้ถูกต้อง ดังนั้นจึงไม่สามารถเปลี่ยนกำลังกาย <br />\nให้เป็นกำลังความดีได้ มีแต่ความป่างเถื่อนตามอารมณ์ เช่น ช้าง ม้า วัว ควาย แม้มีกำลังกายมาก แต่ไม่เคยออกแรงไปหาอาหารมาเลี้ยง พ่อ แม่ <br />\nของมัน แต่อย่างใด <br />\n ส่วนคนแม้มีกำลังกายน้อยกว่าสัตว์ แต่อาศัยสติอันมั่นคงช่วยเปลี่ยนกำลังกายน้อย ๆ นั้น ให้เกิดเป็นกำลังความดี เช่น มีกตัญญูกตเวที <br />\nเมื่อโตขึ้นก็เลี้ยงพ่อเลี้ยงแม่ได้ <br />\n สติเป็นของเหนียวแน่นคงทน แม้อดอาหารทั้งววันสติก็ยังดี ทำงานทั้งเดือนไม่ได้พักสติก็ยังดี นอนป่วยบนเตียงทั้งปีสติก็ยังดี แต่สติกลับเปื่อยยุ่ย <br />\nทันทีถ้าไปเสพสุรายาเมาเข้า สุราเพียงครึ่งแก้วอาจทำผู้อื่นให้สติฟั่นเฟือนถึงกับลืมตัวลงมือทำร้ายผู้มีพรคุณได้ หมดความสามารถในการเปลี่ยน<br />\nกำลังกายให้เป็นกำลังความดี ดังนั้นผู้ที่เสพสุราหรือของมึนเมา จึงมีสภาพผิดปกติคือ มีสถาพใกล้สัตว์เข้าไปทุกขณะ <br />\n เพื่อรักษาปกติของคนไว้ ศีลข้อที่ 5 จึงเกิดขึ้นว่า คนจะต้องไม่เสพของมึนเมาให้โทษ <br />\n<span style=\"color: #ff0000\"><strong>ศีลทั้ง 5 ข้อ คือ <br />\n    1.ไม่ฆ่า <br />\n    2.ไม่ลัก <br />\n    3.ไม่ล่วงในกาม <br />\n    4.ไม่หลอกลวง <br />\n    5.ไม่เสพของมึนเมาให้โทษ <br />\n</strong></span> จึงเกิดขึ้นมาโดยสามัญสำนึกและเกิดขึ้นพร้อมกับโลกเพื่อรักษาความปกติสุขของโลกไว้ <br />\nศีล 5 มีมาก่อนพุทธกาล พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงรับเข้ามาไว้ในพระพุทธศาสนาและชี้แจงถึงความจำเป็นของการมีศีลให้ทราบ <br />\nดังนั้นศีลจึงไม่ใช่ข้อห้ามตามที่คนจำนวนมากเข้าใจ นอกจากนี้ศีลยังใช้เป็นเครื่องวัดความเป็นคนได้อีกด้วย <br />\n    วันใดเรามีศีลครบ 5 ข้อ แสดงว่าวันนั้นเรามีความเป็นคนบริบูรณ์ 100 เปอร์เซ็นต์ <br />\n    ถ้ามีศีลเหลือ 4 ข้อ ความเป็นคนก็เหลือ 80 เปอร์เซ็นต์ <span style=\"color: #ff0000\">ใกล้สัตว์เข้าไป 20 เปอร์เซ็นต์ <br />\n</span>    ถ้ามีศีลเหลือ 3 ข้อ ความเป็นคนก็เหลือ 60 เปอร์เซ็นต์ <span style=\"color: #ff0000\">ใกล้สัตว์เข้าไป 40 เปอร์เซ็นต์ <br />\n</span>    ถ้ามีศีลเหลือ 2 ข้อ ความเป็นคนก็เหลือ 40 เปอร์เซ็นต์ <span style=\"color: #ff0000\">ใกล้สัตว์เข้าไป 60 เปอร์เซ็นต์ <br />\n</span>    ถ้าศีลเหลือ 1 ข้อ ความเป็นคนก็เหลือ 20 เปอร์เซ็นต์ <span style=\"color: #ff0000\">ใกล้สัตว์เข้าไป 80 เปอร์เซ็นต์</span> <br />\n<span style=\"color: #ff0000\"><strong> ถ้าศีลทุกข้อขาดหมด ก็หมดความเป็นคน หมดความสงบ หมดความสุขถึงยังมีชีวิตอยู่ก็เหมือนคนตายแล้ว ความดีใด ๆไม่อาจงอกเงยขึ้นมาได้อีก มีชีวิตอยู่เพียงเพื่อจะทำความเดือดร้อนให้แก่ ตนเองและผู้อื่นเท่านั้น คนชนิดนี้คือ คนประมาทแท้ ๆ</strong></span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ffffff; color: #000000\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ffffff; color: #000000\"></span>\n</p>\n<p><span style=\"background-color: #ffffff; color: #000000\">                                        <img border=\"0\" src=\"/files/u19256/24827_178167.gif\" height=\"29\" width=\"369\" /></span><span style=\"background-color: #ffffff; color: #000000\"> </span></p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<br />\n  <span style=\"background-color: #ffffff; color: #000000\"><span style=\"color: #008080\"><strong>วิธีรักษาศีลตลอดชีพ <br />\n</strong></span> เพื่อรักษาความเป็นคนของตนไว้ให้ดี ชาวพุทธจึงจำเป็นต้องรักษาศีลยิ่งชีวิต การจะรักษาศีลให้ได้เช่นนั้น ต้องอาศัยปัญญาเข้าช่วย จึงจะรักษาไว้ได้<br />\nโดยง่ายก่อนอื่นให้พิจารณาว่า <br />\n    -ศีล แปลว่า ปกติ <br />\n    -คนผิดศีล คือ คนผิดปกติ <br />\n    -แต่ปัจจุบันนี้คนซึ่งผิดศีลจนเป็นปกตินิสัย มีจำนวนมากขึ้นทุกทีกระทั่งหลายคนเห็นคนมีศีลกลายเป็นคนผิดปกติไป เมื่อความเห็นวิบัติไปเช่นนี้ ประเทศชาติบ้านเมืองที่เคยร่มเย็นตลอด จึงต้องพลอยวิบัติ มีการฆ่ากัน โกงกัน ผิดลูกผิดเมีย ฯลฯ จนประชาชนนอนตาไม่หลับ สะดุ้งหวาดระแวงกันไปทั้งเมือง เราจะให้ผู้ใดมาดับทุกข์ความวิบัติครั้งนี้ ? <br />\n เราชาวพุทธแต่ละคนนี้แหละคือผู้ดับ เราจะดับทุกข์ด้วยการถือศีล ถึงคนอื่นไม่ช่วยถือเราก็จะถือเพียงลำพัง ถ้าเปรียบประเทศไทยเหมือนหม้อน้ำใหญ่ประชากรมากกว่า 60 ล้านคน ที่กระทบกระทั้งกันเพราะขาดศีล ถ้าตัวเรามีศีลเมื่อใดก็เหมือนกับดึงตนเองออกจากกองฟืนไป 1 ดุ้น แม้น้ำในหม้อจะยังเดือดพลานอยู่ แต่ก็ไม่ใช่เพราะเรา เมื่อแต่ละคนต่างดึงตนเองออกจากกองทุกข์โดยไม่เกี่ยวงอนกันดังนี้ ในไม่ช้าไฟทุกข์ย่อมดับมอดลงเองประเทศชาติก็จะคือสู่สภาพปกติสุขได้ <br />\n เพื่อเป็นการย้ำความคิดที่จะถือศีลให้มั่นคงตลอดชีพ จำต้องหาวิธีการที่เหมาะสม ซึ่งมีอยู่วิธีหนึ่งคือ วิธีปลุกพระ ทุก ๆ เช้าก่อนออกจากบ้านให้เอาพระเครื่องที่แขวนคออยู่ ใส่ในมือพนมหรือพนมมืออยู่หน้าที่บูชาพระแล้วตั้งใจล่าวคำสมทานรักษาศีล 5 ดังอย่างนี้ <br />\n <span style=\"color: #008000\"><strong>ปาณาติปาตา  เวระมณี  ข้า ฯ จะไม่ฆ่า <br />\n อะทินนาทานา   เวระมณี  ข้า ฯ จะไม่ลัก <br />\n กาเมสุมิจฉาจารา   เวระมณี  ข้า ฯ จะไม่ล่วงในกาม <br />\n มุสาวาทา  เวระมณี  ข้า ฯ จะไม่หลอกลวง <br />\n สุราเมระยะ  มัชชปมาทัฏฐานา เวระมณี  ข้า ฯ จะไม่เสพของมึนเมา </strong></span></span>\n</p>\n<p></p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ffffff; color: #000000\"><span style=\"color: #008000\"><strong><br />\n</strong></span>ทางการแพทย์โรคที่เกิดขึ้นมี 2 ประเภท <br />\n1.โรคประจำสังขาร เช่น โรคชรา โรคจากเชื้อโรคที่ระบาดเป้นครั้งคราว <br />\n2.โรคจากการแส่หาด้วยความประมาท เช่น <br />\nขาดศีลข้อ 5 ทำให้เกิดพิษสุราเรื้อรัง ดับแข็ง ทะเลาะวิวาท <br />\nขาดศีลข้อ 4 ทำให้เกิดโรคความจำเสื่อม ผู้ที่โกหกมาก ๆ เข้าลงท้าย แม้กระทั่งตัวเองก็หลงลืมว่าเรื่องที่ตนพูดขึ้นนั้นเป็นเรื่องจริงหรือโกหก <br />\nขาดศีลข้อ 3 ทำให้เกิดกามโรคได้ง่าย <br />\nขาดศีลข้อ 2 ทำให้เกิดโรคจิด เช่น โรคหวาดผวา <br />\nขาดศีลข้อ 1 ทำให้อายุสั้น เช่น บุคคลประเภทเจ้าพ่อทั้งหลายฆ่าคนมามาก ลงท้ายก็โดนเขาฆ่าเอาบ้าง </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ffffff; color: #000000\"><span style=\"color: #800000\"><strong><em>“ผู้ฆ่าย่อมได้รรับการฆ่าตอบ ผู้ทรมานย่อมได้รับการทรมานตอบ”</em></strong></span> (พุทธพจน์)</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ffffff; color: #000000\"><span style=\"background-color: #ffcc99; color: #3366ff\"><strong>อานิสงส์ของศีล <br />\n</strong></span>1.ทำให้สามารใช้สอยทรัพย์ได้เต็มอิ่ม โดยไม่ต้องหวาดระแวงว่าจะมีใครมาทวงคืน <br />\n2.ทำให้เกียรติคุณฟุ้งขจรไปว่าเป็นคนเชื่อถือได้ มีอนาคตดี <br />\n3.ทำให้แกล้วกล้าอาจหาญในท่ามกลางประชุมชน <br />\n4.ทำให้เป็นคนไม่หลงลืมสติ มีจังหวะชีวิตดี <br />\n5.เมื่อยังไม่บรรลุนิพพาน ตายแล้วก็ไปเกิดในสวรรค์ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ffffff; color: #000000\"><span style=\"color: #008080\"><strong>อานิสงส์การมีวินัย <br />\n</strong></span> วินัยทางโลกและทางธรรมรวมกันแล้วทำให้เกิดประโยชน์คือ <br />\n    1.วินัยนำไปดี หมายความว่า ทำให้ผู้รักษาวินัยดีขึ้น ยกฐานะผู้มีวินัย ให้สูงขึ้น เช่น <br />\n เด็กกลางถนน เข้าโรงเรียนมีวินัย กลายเป็น นักเรียน <br />\n เด็กชาวบ้าน บวชแล้วถือศีล 10 กลายเป็น สามเณร <br />\n สามเณร บวชแล้วถือศีล 227 กลายเป็น พระภิกษุ <br />\n วันัยเป็นข้อบังคับใจเราก็จริงแต่เป็นข้อบังคับเพื่อให้เราไปถึงที่หมายของชีวิตตามความประสงค์ของเราเอง <br />\n    2.วินัยนำไปแจ้ง คำว่า แปลว่า สว่าง หรือเปิดเผยไม่คลุม ๆ เครือ ๆ วินัยนำไปแจ้งคือเปิดเผยธาตุแท้ของคนได้ ว่าไว้ใจได้แค่ไหน <br />\nโดยดูว่าเป็นคนมีวินัยหรือไม่ <br />\n    3.วินัยนำไปต่าง เราดูความแตกต่างของคนด้วยวินัย ยกตัวอย่างคนที่ซ่องสุมสมัครพรรคพวกและอาวุธไว้สู้รบกับคนอื่น ถ้ามีวินัย<br />\nเราเรียกว่า กองทหารเป็นมิ่งขวัญของบ้านเมือง ถ้าไม่มีวินัยเราเรียกว่า กองโจร เป็นเสี้ยนหนามของแผ่นดิน คนที่พกอาวุธเดินปนอยู่<br />\nในที่ชุมชนอย่างองอาจ ถ้ามีวินัยเราเรียกว่า ตำรวจ เป็นผู้พิทักษ์สันติราษฎร์ ถ้าไม่มีวินัยเราเรียกว่า นักเลงอันธพาธเป็นผู้พิฆาตสันติสุข <br />\nคนที่เที่ยวภิกขาจารพึ่งคนอื่นเลี้ยงชีวิตถ้ามีวินัยรักษาศีล ๒๒๗ เราเรียกว่าพระภิกษุ เป็นบุญของผู้ให้ทาน ถ้าไม่มีวินัย เราเรียกว่า ขอทาน <br />\nเป็นกรรมของผู้ถูกขอ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ffffff; color: #000000\"> เราต้องการก้าวไปสู่ความดีความก้าวหน้า เราต้องการความบริสุทธิ์กระจ่างแจ้ง เราต้องการยกฐานะให้สูงขึ้น เพราะฉะนั้นเราจึงจำเป็นต้องรักษาวินัย <br />\n  <br />\n<span style=\"color: #800080\"><em><strong>&quot;ผู้มีวินัยดี หมายถึง ผู้ที่รักษาวินัยทั้งทางโลกและทางธรรมอย่างถูกต้องและเคร่งครัด&quot;</strong></em></span>  </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ffffff; color: #000000\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ffffff; color: #000000\">                                     <a href=\"/node/41840\"><img border=\"0\" src=\"/files/u19256/001.gif\" height=\"38\" width=\"88\" /></a>            <a href=\"/node/44461\"><img border=\"0\" src=\"/files/u19256/003.gif\" height=\"32\" width=\"75\" /></a>            <a href=\"/node/41837\"><img border=\"0\" src=\"/files/u19256/002.gif\" height=\"43\" width=\"81\" /></a></span>\n</p>\n<p>\n                                                                      <u><strong><a target=\"_blank\" href=\"/node/41840?page=0%2C2 \">สารบัญ คลิกที่นี่</a></strong></u>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1719636421, expire = 1719722821, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:feacd638f511e1dc98f028756448d8f3' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:a2e10a2d49a625a5a5ca235bfe8dcfc3' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n                                                                     <u><strong><span style=\"background-color: #808080; color: #33cccc\">มงคลที่ 9 มีวินัย</span></strong></u>\n</p>\n<p>\n                                                      <img border=\"0\" src=\"/files/u19256/drkasama_031.jpg\" height=\"264\" width=\"230\" />\n</p>\n<p>\n                                  แหล่งที่มา : <a href=\"http://gotoknow.org/file/skuikratoke/drkasama+031.jpg\">http://gotoknow.org/file/skuikratoke/drkasama+031.jpg</a>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ffffff; color: #33cccc\"><span style=\"color: #000000\">อันวินัย นำระเบียบ สู่เรียบร้อย<br />\nคนใหญ่น้อย เปรมปรีดิ์ ดีนักหนา<br />\nวินัยสร้าง กระจ่างข้อ ก่อศรัทธา<br />\nเพราะรักษา กติกา พาร่วมมือ<br />\nไม่พูดเท็จ พูดสอดเสียด และพูดมาก<br />\nละความยาก สร้างวิบาก ฝากยึดถือ<br />\nคนหมู่มาก มักถางถาก ปากข่าวลือ<br />\nต้องสัตย์ซื่อ ถือวินัย ใช้ร่วมกัน<br />\n</span> <br />\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"background-color: #808000; color: #ffcc99\"><strong><em>วินัย</em></strong></span> หมายถึง ระเบียบ กฎเกณฑ์ข้อบังบับสำหรับควบคุมความประพฤติทางกายของคนในสังคมให้เรียบร้อยดีงาม <br />\nเป็นแบบแผนอันหนึ่งอันเดียวกัน จะได้อยู่ร่วมกัน ด้วยความสุขสบาย ไม่กระทบกระทั่งซึ่งกันและกัน ให้ห่างไกล<br />\nจากความชั่วทั้งหลาย <br />\n การอยู่รวมกันเป็นหมู่เหล่า ถ้าขาดระเบียบวินัย ต่างคนต่างทำตามอำเภอใจ ความขัดแย้งและลักลั่นก็จะเกิดขึ้น <br />\nยิ่งมากคนก็ยิ่งมากเรื่อง ไม่มีความสงบสุข การงานที่ทำก็จะเสียผล <br />\n ถ้าประชาชนแต่ละคนเป็นเสมือนดอกไม้แต่ละดอก ดอกไม้ทั้งหลายเหล่านี้จะด้อยค่าลง หากวางอยู่ระเกะระกะ<br />\nกระจัดกระจาย ทั้งยังทำให้รกรุงรังอีกด้วย แต่เมื่อเรานำดอกไม้เหล่านี้มาร้อยรวมเข้าด้วยกันด้วยเส้นด้ายดอกไม้<br />\nเหล่านี้ก็จะกลายเป็นพวงมาลัยอันงดงามเหมาะที่จะนำไปใช้ประดับตกแต่งให้ เจริญตาเจิรญใจ เส้นด้ายที่ใช้ร้อย<br />\nดอกไม้ให้รวมกันอยู่อย่างมีระเบียบงดงามนั้นเปรียบเสมือนวินัย <br />\n วินัยจึงเป็นสิ่งที่ใช้ควบคมคน ให้คนเราใช้ความรู้ ความสามารถไปในทางที่ถูกที่ควร คือทำให้เป็นคน “ฉลาดใช้” นั่นเอง </span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ffffff; color: #000000\"><span style=\"color: #0000ff\"><strong><u>ชนิดของวินัย</u></strong></span> <br />\nตัวเรามีของสำคัญ 2 อย่าง คือ ชีวิต กับ จิตใจ <br />\nชีวิต ของเราขึ้นอยู่กับระบบโลก ต้องพึ่งโลกชีวิตจึงจะเจริญ <br />\nจิตใจ ของเราขึ้นอยู่กับระบบธรรม ต้องพึ่งธรรม จิตใจจึงจะเจริญ <br />\nเพื่อให้ชีวิตและจิดใจ เจริญทั้ง 2 ทาง เราจึงต้องดำเนินชีวิตให้สอดคล้องกันทั้ง 2 ด้านด้วย <br />\n <br />\n ผู้ที่ฉลาดรู้ ก็ต้องศึกษาให้รู้ทั้งทางโลกและทางธรรม <br />\n ผู้ที่ฉลาดทำ ก็ต้องทำให้เป็นให้ถูกต้อง ทั้งทางโลกและทางธรรม <br />\n เช่นกัน ผู้ที่ฉลาดใช้ ก็ต้องมีวินัยทางโลกและวินัยทางธรรมคอยช่วยกำกับ ความรู้ และความสามารถเอาไว้ <br />\n <br />\n<span style=\"background-color: #808080; color: #800000\"><strong>วินัยทางโลก</strong></span> หมายถึง ระเบียบสำหรรับควบคุมคนในสังคมแต่ละแห่งเป็นข้อตกลงของคนในสังคมนั้นที่จะให้ทำหรือไม่ให้<br />\nทำบางสิ่งบางอย่างซึ่งบางครั้งเราก็เรียกชื่อแยกแยะออกไปหลายอย่าง เช่น กฎหมาย พระราชบัญญัติ พระราชกฤษฎีกา <br />\nกฎข้อบังคับ ระเบียบ ธรรมเนียมประเพณี คำสั่ง ประกาศ กติกา ฯลฯ สิ่งเหล่านี้รวมเรียกว่า วินัยทางโลกทั้งสิ้น </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ffffff; color: #000000\"><span style=\"background-color: #808080; color: #800000\"><strong>วินัยทางธรรม</strong></span> <br />\n เนื่องจากเราชาวพุทธ มีทั้งคฤหัสถ์และบรรชิต ดังนั้นวินัยทางศาสนาจึงมี 2 ประเภท คือ <br />\n1. อนาคาริยวินัย วินัยสำหรับผู้ออกบวช ได้แก่ วินัยของพระภิกษุ <br />\n2.อาคาริยวินัย วินัยสำหรับผู้ครองเรือน หรือประชาชนชายหญิงทั่ว ๆ ไป <br />\nอนาคาริยวินัย <br />\n จุดมุ่งหมายสูงสุดของนักบวช คือความหมดกิเลส ผู้จะหมดกิเลสได้ต้องมีปัญญาอย่างยิ่ง ผู้จะมีปัญญาอย่างยิ่งได้จะต้องมี<br />\nสมาธิอย่างยิ่ง ผู้จะมีสมาธิอย่างยิ่งได้ จะต้องตั้งอยู่บนฐานของศีลอย่างยิ่ง คืออนาคาริยวินัย 4 ประการอันเป็นพื้นฐานของ<br />\nความบริสุทธิ์ ได้แก่ <br />\n ก. ปาฏิโมกขสังวร คือ การสำรวมอยู่ในศีล ๒๒๗ ข้อที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงบัญญัติ เว้นข้อที่พระองค์ทรงห้าม <br />\nทำตามข้อที่พระองค์ทรงให้ปฏิบัติ <br />\n ข. อินทรียสังวร คือ การรู้จักสำรวม ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ไม่ให้เพลิดเพลินไปกับอารมณ์อันน่าใคร่ อันเกิดจากการเห็นรูป <br />\nฟังเสียง ดมกลิ่น ลิ้มรส สัมผัส และการรับรู้อารมณ์ทางใจ อะไรที่ไม่ควรดูก็อย่าไปดู อะไรไม่ควรฟังก็อย่าไปฟัง อะไรไม่ควร<br />\nดมก็อย่าไปดม อะไรไม่ควรลิ้มชิมรสก็อย่าไปชิมอะไรไมควรถูกต้องสัมผัสก็อย่าไปสัมผัส และอะไรที่ไม่ควรคิดก็อย่าไปคิด <br />\n ค.อาชีวปาริสุทธสังวร คือ การหาเลี้ยงชีวิตในทางที่ชอบ ได้แก่ การบิณฑบาต สำหรับการเลี้ยงชีวิตในทางที่ผิด เช่นการหาลาภ<br />\nสังการะด้วยการใบ้หวย การเป็นหมดดู การเป็นพ่อสื่อแม่ชัก การประจบชาวบ้านจัดเป็นการกระทำที่ผิดพระวินัย <br />\n ง. ปัจจัยปัจจเวกขณะ คือ การพิจารณาก่อนที่จะบริโภคหรือใช้ปัจจัย 4 ว่าสิ่งนั้นเป็นเพียงเครื่องหล่อเลี้ยงชีวิตให้อยู่ได้ <br />\nเหมือนน้ำมันหยอดเพลารถให้รถแล่นไปได้เท่านั้น <br />\n พิจารณาดังนี้แล้ว ย่อมบรรเทาความหลง ความมัวเมาในอาหาร เครื่องนุ่งห่ม ที่อยู่ ยารักษาโรคได้ ทำให้กินเพื่ออยู่ ไม่ใช่อยู่เพื่อกิน <br />\n เมื่อแรกเริ่ม พระพุทธศาสนายังไม่มีการบัญญติวินัย เพราะพระภิกษุยังมีจำนวนน้วย และทุกรูปต่างก็ตั้งใจประพฤติปฏิบัติธรรม<br />\nอย่างเคร่งครัดทราบดีว่าอะไรเป็นสิ่งควรทำหรือไม่ควรทำ ต่อมาพระภิกษุมีจำนวนมากขึ้นและมีผู้ประพฤติไม่ค่อยดีหลงเข้ามาบวชด้วย <br />\nไปทำสิ่งที่ไม่สมควรขึ้น พระสัมมาสัมพุทธเจ้าจึงทรงบัญญติวินัยขึ้นทีละข้อ วินัยทุกข้อในพระพุทธศาสนาจึงมีที่มาทั้งสิ้น ตัวอย่างเช่น<br />\nวินัยข้อแรกในพุทธศาสนาเกิดขึ้นเพราะพระภิกษุรูปหนึ่งชื่อสุทิน ได้ย้อนกลับไปร่วมหลับนอนกับภรรยาเก่า เพราะบิดามารดาขอร้อง<br />\nเพื่อให้มีทายาทไว้สือสกุล พระสัมมาสัมพุทธเจ้าจึงทรงบัญญัติวินัยข้อที่ 1 ขึ้นว่า “ห้ามเสพเมถุน” </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ffffff; color: #000000\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ffffff; color: #000000\">                                       <a href=\"/node/41840\"><img border=\"0\" src=\"/files/u19256/001.gif\" height=\"38\" width=\"88\" /></a>         <a href=\"/node/44460\"><img border=\"0\" src=\"/files/u19256/003.gif\" height=\"32\" width=\"75\" /></a>         <a href=\"/node/44461?page=0%2C1\"><img border=\"0\" src=\"/files/u19256/002.gif\" height=\"43\" width=\"81\" /></a></span>\n</p>\n<p>\n                                                                    <u><strong><a target=\"_blank\" href=\"/node/41840?page=0%2C2 \">สารบัญ คลิกที่นี่</a></strong></u>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p></p>', created = 1719636421, expire = 1719722821, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:a2e10a2d49a625a5a5ca235bfe8dcfc3' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

มงคลที่ 9 มีวินัย

                                                                     มงคลที่ 9 มีวินัย

                                                     

                                  แหล่งที่มา : http://gotoknow.org/file/skuikratoke/drkasama+031.jpg

 

อันวินัย นำระเบียบ สู่เรียบร้อย
คนใหญ่น้อย เปรมปรีดิ์ ดีนักหนา
วินัยสร้าง กระจ่างข้อ ก่อศรัทธา
เพราะรักษา กติกา พาร่วมมือ
ไม่พูดเท็จ พูดสอดเสียด และพูดมาก
ละความยาก สร้างวิบาก ฝากยึดถือ
คนหมู่มาก มักถางถาก ปากข่าวลือ
ต้องสัตย์ซื่อ ถือวินัย ใช้ร่วมกัน
 
วินัย หมายถึง ระเบียบ กฎเกณฑ์ข้อบังบับสำหรับควบคุมความประพฤติทางกายของคนในสังคมให้เรียบร้อยดีงาม
เป็นแบบแผนอันหนึ่งอันเดียวกัน จะได้อยู่ร่วมกัน ด้วยความสุขสบาย ไม่กระทบกระทั่งซึ่งกันและกัน ให้ห่างไกล
จากความชั่วทั้งหลาย
 การอยู่รวมกันเป็นหมู่เหล่า ถ้าขาดระเบียบวินัย ต่างคนต่างทำตามอำเภอใจ ความขัดแย้งและลักลั่นก็จะเกิดขึ้น
ยิ่งมากคนก็ยิ่งมากเรื่อง ไม่มีความสงบสุข การงานที่ทำก็จะเสียผล
 ถ้าประชาชนแต่ละคนเป็นเสมือนดอกไม้แต่ละดอก ดอกไม้ทั้งหลายเหล่านี้จะด้อยค่าลง หากวางอยู่ระเกะระกะ
กระจัดกระจาย ทั้งยังทำให้รกรุงรังอีกด้วย แต่เมื่อเรานำดอกไม้เหล่านี้มาร้อยรวมเข้าด้วยกันด้วยเส้นด้ายดอกไม้
เหล่านี้ก็จะกลายเป็นพวงมาลัยอันงดงามเหมาะที่จะนำไปใช้ประดับตกแต่งให้ เจริญตาเจิรญใจ เส้นด้ายที่ใช้ร้อย
ดอกไม้ให้รวมกันอยู่อย่างมีระเบียบงดงามนั้นเปรียบเสมือนวินัย
 วินัยจึงเป็นสิ่งที่ใช้ควบคมคน ให้คนเราใช้ความรู้ ความสามารถไปในทางที่ถูกที่ควร คือทำให้เป็นคน “ฉลาดใช้” นั่นเอง

ชนิดของวินัย
ตัวเรามีของสำคัญ 2 อย่าง คือ ชีวิต กับ จิตใจ
ชีวิต ของเราขึ้นอยู่กับระบบโลก ต้องพึ่งโลกชีวิตจึงจะเจริญ
จิตใจ ของเราขึ้นอยู่กับระบบธรรม ต้องพึ่งธรรม จิตใจจึงจะเจริญ
เพื่อให้ชีวิตและจิดใจ เจริญทั้ง 2 ทาง เราจึงต้องดำเนินชีวิตให้สอดคล้องกันทั้ง 2 ด้านด้วย
 
 ผู้ที่ฉลาดรู้ ก็ต้องศึกษาให้รู้ทั้งทางโลกและทางธรรม
 ผู้ที่ฉลาดทำ ก็ต้องทำให้เป็นให้ถูกต้อง ทั้งทางโลกและทางธรรม
 เช่นกัน ผู้ที่ฉลาดใช้ ก็ต้องมีวินัยทางโลกและวินัยทางธรรมคอยช่วยกำกับ ความรู้ และความสามารถเอาไว้
 
วินัยทางโลก หมายถึง ระเบียบสำหรรับควบคุมคนในสังคมแต่ละแห่งเป็นข้อตกลงของคนในสังคมนั้นที่จะให้ทำหรือไม่ให้
ทำบางสิ่งบางอย่างซึ่งบางครั้งเราก็เรียกชื่อแยกแยะออกไปหลายอย่าง เช่น กฎหมาย พระราชบัญญัติ พระราชกฤษฎีกา
กฎข้อบังคับ ระเบียบ ธรรมเนียมประเพณี คำสั่ง ประกาศ กติกา ฯลฯ สิ่งเหล่านี้รวมเรียกว่า วินัยทางโลกทั้งสิ้น

วินัยทางธรรม
 เนื่องจากเราชาวพุทธ มีทั้งคฤหัสถ์และบรรชิต ดังนั้นวินัยทางศาสนาจึงมี 2 ประเภท คือ
1. อนาคาริยวินัย วินัยสำหรับผู้ออกบวช ได้แก่ วินัยของพระภิกษุ
2.อาคาริยวินัย วินัยสำหรับผู้ครองเรือน หรือประชาชนชายหญิงทั่ว ๆ ไป
อนาคาริยวินัย
 จุดมุ่งหมายสูงสุดของนักบวช คือความหมดกิเลส ผู้จะหมดกิเลสได้ต้องมีปัญญาอย่างยิ่ง ผู้จะมีปัญญาอย่างยิ่งได้จะต้องมี
สมาธิอย่างยิ่ง ผู้จะมีสมาธิอย่างยิ่งได้ จะต้องตั้งอยู่บนฐานของศีลอย่างยิ่ง คืออนาคาริยวินัย 4 ประการอันเป็นพื้นฐานของ
ความบริสุทธิ์ ได้แก่
 ก. ปาฏิโมกขสังวร คือ การสำรวมอยู่ในศีล ๒๒๗ ข้อที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงบัญญัติ เว้นข้อที่พระองค์ทรงห้าม
ทำตามข้อที่พระองค์ทรงให้ปฏิบัติ
 ข. อินทรียสังวร คือ การรู้จักสำรวม ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ไม่ให้เพลิดเพลินไปกับอารมณ์อันน่าใคร่ อันเกิดจากการเห็นรูป
ฟังเสียง ดมกลิ่น ลิ้มรส สัมผัส และการรับรู้อารมณ์ทางใจ อะไรที่ไม่ควรดูก็อย่าไปดู อะไรไม่ควรฟังก็อย่าไปฟัง อะไรไม่ควร
ดมก็อย่าไปดม อะไรไม่ควรลิ้มชิมรสก็อย่าไปชิมอะไรไมควรถูกต้องสัมผัสก็อย่าไปสัมผัส และอะไรที่ไม่ควรคิดก็อย่าไปคิด
 ค.อาชีวปาริสุทธสังวร คือ การหาเลี้ยงชีวิตในทางที่ชอบ ได้แก่ การบิณฑบาต สำหรับการเลี้ยงชีวิตในทางที่ผิด เช่นการหาลาภ
สังการะด้วยการใบ้หวย การเป็นหมดดู การเป็นพ่อสื่อแม่ชัก การประจบชาวบ้านจัดเป็นการกระทำที่ผิดพระวินัย
 ง. ปัจจัยปัจจเวกขณะ คือ การพิจารณาก่อนที่จะบริโภคหรือใช้ปัจจัย 4 ว่าสิ่งนั้นเป็นเพียงเครื่องหล่อเลี้ยงชีวิตให้อยู่ได้
เหมือนน้ำมันหยอดเพลารถให้รถแล่นไปได้เท่านั้น
 พิจารณาดังนี้แล้ว ย่อมบรรเทาความหลง ความมัวเมาในอาหาร เครื่องนุ่งห่ม ที่อยู่ ยารักษาโรคได้ ทำให้กินเพื่ออยู่ ไม่ใช่อยู่เพื่อกิน
 เมื่อแรกเริ่ม พระพุทธศาสนายังไม่มีการบัญญติวินัย เพราะพระภิกษุยังมีจำนวนน้วย และทุกรูปต่างก็ตั้งใจประพฤติปฏิบัติธรรม
อย่างเคร่งครัดทราบดีว่าอะไรเป็นสิ่งควรทำหรือไม่ควรทำ ต่อมาพระภิกษุมีจำนวนมากขึ้นและมีผู้ประพฤติไม่ค่อยดีหลงเข้ามาบวชด้วย
ไปทำสิ่งที่ไม่สมควรขึ้น พระสัมมาสัมพุทธเจ้าจึงทรงบัญญติวินัยขึ้นทีละข้อ วินัยทุกข้อในพระพุทธศาสนาจึงมีที่มาทั้งสิ้น ตัวอย่างเช่น
วินัยข้อแรกในพุทธศาสนาเกิดขึ้นเพราะพระภิกษุรูปหนึ่งชื่อสุทิน ได้ย้อนกลับไปร่วมหลับนอนกับภรรยาเก่า เพราะบิดามารดาขอร้อง
เพื่อให้มีทายาทไว้สือสกุล พระสัมมาสัมพุทธเจ้าจึงทรงบัญญัติวินัยข้อที่ 1 ขึ้นว่า “ห้ามเสพเมถุน”

                                                        

                                                                    สารบัญ คลิกที่นี่

 

สร้างโดย: 
นางปาลิดา สวนชังและนางสาวนันทิชา เรืองวินิตวงศ์

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 256 คน กำลังออนไลน์