• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:423fa8a081865a36f31fed710b7110ed' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<span style=\"font-family: MS Sans Serif\"></span><span style=\"font-family: MS Sans Serif\"><strong><span style=\"color: #ff0000\">ลักษณะการปกครองตามธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.๒๔๗๕</span></strong></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-family: MS Sans Serif\"><br />\n<dd>ในวันที่ ๑๐ ธันวาคม ๒๔๗๕ ได้มีการประกาศใช้ธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยฉบับ ถาวรซึ่งมีหลักการต่างจากฉบับแรกในสาระสำคัญหลายประการ เช่น <br />\n</dd>\n<dd></dd>\n<dd><span style=\"font-family: MS Sans Serif\"><img src=\"http://www.krookaithai.com/3d/Democracy/tra/ctbul.gif\" />๑.ได้เปลี่ยนระบอบการปกครองเป็นการปกครองแบบรัฐสภา (Parliamentary system) ทั้งนี้เพราะว่ารัฐธรรมนูญ พ.ศ.๒๔๗๕ ได้บัญญัติให้พระมหากษัตริย์ซึ่งเป็นประมุข แห่งรัฐไม่ต้องรับผิดชอบทางการเมืองเป็นผู้ใช้อำนาจบริหารทางคณะรัฐมนตรี ซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งให้บริหารราชการแผ่นดินแต่คณะรัฐมนตรีจะต้องรับผิดชอบในการบริหารราชการแผ่นดินต่อสภาผู้แทนซึ่งมีอำนาจที่จะลงมติให้ความไว้วางใจหรือไม่ให้ความไว้วางใจ อันเป็นผลให้คณะรัฐมนตรีต้องออกจากตำแหน่งได้การปกครองตามระบบรัฐสภาควบคุมนี้ รัฐสภาซึ่งเป็นฝ่ายของนิติบัญญัติ คือ ออกกฏหมายเท่านั้น แต่ว่ามีอำนาจที่จะควบคุมคณะรัฐมนตรีในการบริหารราชการแผ่นดินด้วย </span></dd></span></p>\n<dd></dd>\n<dd><span style=\"font-family: MS Sans Serif\"><img src=\"http://www.krookaithai.com/3d/Democracy/tra/ctbul.gif\" />๒.เนื่องจากได้ใช้ระบบรัฐสภาควบคุมการบริการรัฐธรรมนูญ พ.ศ.๒๔๗๕ จึงได้วางหลักให้ฝ่ายนิติบัญญัติและฝ่ายบริหารมีอำนาจควบคุมกัน กล่าวคือ ฝ่ายนิติบัญญัติแม้จะมีอำนาจควบคุมคณะรัฐมนตรีซึ่งเป็นฝ่ายบริหารก็ตามแต่คณะรัฐมนตรีรวมทั้งพระมหากษัตริย์ ซึ่งประกอบกันเป็นรัฐบาลก็มีอำนาจยุบสภาผู้แทนได้เมื่อเห็นว่าได้ดำเนินการไปในทางที่จะเป็นภัยหรือเสื่อมเสียผลประโยชน์สำคัญของรัฐซึ่งมีผลเท่ากับถอดถอนสมาชิกสภาของตนที่ได้รับเลือกตั้งมาเพื่อให้ราษฎรเลือกตั้งใหม่ \n<dd></dd>\n<dd><span style=\"font-family: MS Sans Serif\"><img src=\"http://www.krookaithai.com/3d/Democracy/tra/ctbul.gif\" />๓.ในส่วนที่เกี่ยวกับพระมหากษัตริย์นั้นตามรัฐธรรมนูญนี้ได้บัญญัติว่าพระมหากษัตริย์ดำรงอยู่ในฐานะอันเป็นที่เคารพสักการะ ผู้ใดจะละเมิดมิได้ซึ่งหมายความว่าผู้ใดจะฟ้องร้อง พระมหากษัตริย์ไม่ได้ไม่ว่าด้วยประการใด และพระมหากษัตริย์ไม่ทรงรับผิดชอบทางการเมือง แต่ตามพระราชบัญญัติการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราวยังให้อำนาจสภาผู้แทนที่จะวินิจฉัยได้เมื่อพระมหากษัตริย์มีกรณีที่ถูกฟ้องร้อง โดยได้บัญญัติว่าพระมหากษัตริย์จะถูกฟ้องคดีอาญายังโรงศาลไม่ได้เป็นหน้าที่ของสภาจะวินิจฉัยแต่ตามรัฐธรรมนูญพ.ศ.๒๔๗๕ ทั้งศาลและสภาผู้แทนไม่มีอำนาจวินิจฉัยการกระทำของพระมหากษัตริย์ซึ่งได้รับความคุ้มกันที่จะไม่ถูกฟ้องร้องด้วยประการใด ๆ ทั้งสิ้น \n<dd></dd>\n<dd><span style=\"font-family: MS Sans Serif\"><img src=\"http://www.krookaithai.com/3d/Democracy/tra/ctbul.gif\" />๔.ในส่วนที่เกี่ยวกับสภาฯไม่ได้มีการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญนักแต่ส่วนประกอบของสภาผู้แทนได้บัญญัติไว้เพียง ๒ สมัย คือ \n<dd></dd>\n<dd></dd>\n<dd><span style=\"font-family: MS Sans Serif\"><img src=\"http://www.krookaithai.com/3d/Democracy/tra/Copy-of-bullet2b_ss1.gif\" /><span style=\"color: #0000ff\"><b><u>สมัยที่ ๑</u></b></span> นับแต่วันใช้พระราชบัญญัติการปกครองสยามชั่วคราว ๒๔๗๕ สภาประกอบ ด้วยสมาชิก ๒ ประเภทเท่ากัน คือ \n<dd></dd>\n<dd></dd>\n<dd></dd>\n<dd></dd>\n<dd><span style=\"font-family: MS Sans Serif\"><img src=\"http://www.krookaithai.com/3d/Democracy/thammanoo/bgif.gif\" /> ประเภทที่ ๑ ราษฎรเลือกตั้ง \n<dd></dd>\n<dd></dd>\n<dd></dd>\n<dd></dd>\n<dd><span style=\"font-family: MS Sans Serif\"><img src=\"http://www.krookaithai.com/3d/Democracy/thammanoo/bgif.gif\" /> ประเภทที่ ๒ พระมหากษัตริย์ \n<dd></dd>\n<dd></dd>\n<dd></dd>\n<dd></dd>\n<dd><span style=\"font-family: MS Sans Serif\"><img src=\"http://www.krookaithai.com/3d/Democracy/thammanoo/bgif.gif\" /> ทรงแต่งตั้งและมิได้ห้ามการตั้งสมาชิกประเภท ๒ จากข้าราชการประจำ \n<dd></dd>\n<dd></dd>\n<dd><span style=\"font-family: MS Sans Serif\"><img src=\"http://www.krookaithai.com/3d/Democracy/tra/Copy-of-bullet2b_ss1.gif\" /><span style=\"color: #0000ff\"><b><u>สมัยที่ ๒</u></b></span> เมื่อผู้มีสิทธิออกเสียงเลือกตั้งสมาชิกมีการศึกษาจบชั้นประถมศึกษาสามัญมากกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนทั้งหมดหรืออย่างช้าไม่เกิน ๑๐ปี นับแต่วัยใช้พระราชบัญญัติการปกครองสยามชั่วคราว สภาจะประกอบด้วยสมาชิกประเภทเดียวแต่เรื่องนี้ต่อมาได้มีรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมว่าด้วยบทเฉพาะกาล พ.ศ.๒๔๘๕ ได้ขยายเวลาของสมัยที่ ๒ นี้ ออกเป็น ๒๐ ปีนับแต่วันใช้พระราชบัญญัติการปกครองสยามชั่วคราว \n<dd></dd>\n<dd><span style=\"font-family: MS Sans Serif\"><img src=\"http://www.krookaithai.com/3d/Democracy/tra/ctbul.gif\" />๕.ด้านบริหารให้พระมหากษัตริย์ทรงใช้อำนาจบริหารทางคณะรัฐมนตรีที่ทรงแต่งตั้งคณะรัฐมนตรีจะรับผิดชอบเป็นส่วนรวมต่อสภาฯ และเป็นการเฉพะตัวสำหรับรัฐมนตรี ซึ่งมีหน้าที่ว่าการกระทรวงแต่ก็มิใช่อยู่ที่สภาแต่งตั่งเหมือนคณะกรรมการราษฎร และมิได้มีอำนาจถอดถอนได้นอกจากลงมติไม่ไว้วางใจซึ่งเป็นผลทำให้คณะรัฐมนตรีต้องลาออก นอกจากนี้ยังให้คณะรัฐมนตรีเป็นผู้รับผิดชอบในการใช้อำนาจบริหารในนามของพระมหากษัตริย์ และมีอำนาจปกครองประเทศด้วยโดยได้เลิกตำแหน่งเสนาบดีทั้งหมดและตั้งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงขึ้นแทน \n<p><center><span style=\"font-family: MS Sans Serif\">ที่มา : กรมการปกครอง</span></center></p></span></dd>\n<p><span style=\"font-family: MS Sans Serif\"></span></p>\n<div align=\"left\">\n<span style=\"font-family: MS Sans Serif\"></span>\n</div>\n<div align=\"left\">\n<span style=\"font-family: MS Sans Serif\"></span>\n</div>\n<div align=\"left\">\n<span style=\"font-family: MS Sans Serif\"></span>\n</div>\n</span></dd></span></dd></span></dd></span></dd></span></dd></span></dd></span></dd></span></dd>', created = 1715779056, expire = 1715865456, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:423fa8a081865a36f31fed710b7110ed' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย

ลักษณะการปกครองตามธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.๒๔๗๕


ในวันที่ ๑๐ ธันวาคม ๒๔๗๕ ได้มีการประกาศใช้ธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยฉบับ ถาวรซึ่งมีหลักการต่างจากฉบับแรกในสาระสำคัญหลายประการ เช่น
๑.ได้เปลี่ยนระบอบการปกครองเป็นการปกครองแบบรัฐสภา (Parliamentary system) ทั้งนี้เพราะว่ารัฐธรรมนูญ พ.ศ.๒๔๗๕ ได้บัญญัติให้พระมหากษัตริย์ซึ่งเป็นประมุข แห่งรัฐไม่ต้องรับผิดชอบทางการเมืองเป็นผู้ใช้อำนาจบริหารทางคณะรัฐมนตรี ซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งให้บริหารราชการแผ่นดินแต่คณะรัฐมนตรีจะต้องรับผิดชอบในการบริหารราชการแผ่นดินต่อสภาผู้แทนซึ่งมีอำนาจที่จะลงมติให้ความไว้วางใจหรือไม่ให้ความไว้วางใจ อันเป็นผลให้คณะรัฐมนตรีต้องออกจากตำแหน่งได้การปกครองตามระบบรัฐสภาควบคุมนี้ รัฐสภาซึ่งเป็นฝ่ายของนิติบัญญัติ คือ ออกกฏหมายเท่านั้น แต่ว่ามีอำนาจที่จะควบคุมคณะรัฐมนตรีในการบริหารราชการแผ่นดินด้วย

๒.เนื่องจากได้ใช้ระบบรัฐสภาควบคุมการบริการรัฐธรรมนูญ พ.ศ.๒๔๗๕ จึงได้วางหลักให้ฝ่ายนิติบัญญัติและฝ่ายบริหารมีอำนาจควบคุมกัน กล่าวคือ ฝ่ายนิติบัญญัติแม้จะมีอำนาจควบคุมคณะรัฐมนตรีซึ่งเป็นฝ่ายบริหารก็ตามแต่คณะรัฐมนตรีรวมทั้งพระมหากษัตริย์ ซึ่งประกอบกันเป็นรัฐบาลก็มีอำนาจยุบสภาผู้แทนได้เมื่อเห็นว่าได้ดำเนินการไปในทางที่จะเป็นภัยหรือเสื่อมเสียผลประโยชน์สำคัญของรัฐซึ่งมีผลเท่ากับถอดถอนสมาชิกสภาของตนที่ได้รับเลือกตั้งมาเพื่อให้ราษฎรเลือกตั้งใหม่
๓.ในส่วนที่เกี่ยวกับพระมหากษัตริย์นั้นตามรัฐธรรมนูญนี้ได้บัญญัติว่าพระมหากษัตริย์ดำรงอยู่ในฐานะอันเป็นที่เคารพสักการะ ผู้ใดจะละเมิดมิได้ซึ่งหมายความว่าผู้ใดจะฟ้องร้อง พระมหากษัตริย์ไม่ได้ไม่ว่าด้วยประการใด และพระมหากษัตริย์ไม่ทรงรับผิดชอบทางการเมือง แต่ตามพระราชบัญญัติการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราวยังให้อำนาจสภาผู้แทนที่จะวินิจฉัยได้เมื่อพระมหากษัตริย์มีกรณีที่ถูกฟ้องร้อง โดยได้บัญญัติว่าพระมหากษัตริย์จะถูกฟ้องคดีอาญายังโรงศาลไม่ได้เป็นหน้าที่ของสภาจะวินิจฉัยแต่ตามรัฐธรรมนูญพ.ศ.๒๔๗๕ ทั้งศาลและสภาผู้แทนไม่มีอำนาจวินิจฉัยการกระทำของพระมหากษัตริย์ซึ่งได้รับความคุ้มกันที่จะไม่ถูกฟ้องร้องด้วยประการใด ๆ ทั้งสิ้น
๔.ในส่วนที่เกี่ยวกับสภาฯไม่ได้มีการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญนักแต่ส่วนประกอบของสภาผู้แทนได้บัญญัติไว้เพียง ๒ สมัย คือ
สมัยที่ ๑ นับแต่วันใช้พระราชบัญญัติการปกครองสยามชั่วคราว ๒๔๗๕ สภาประกอบ ด้วยสมาชิก ๒ ประเภทเท่ากัน คือ
ประเภทที่ ๑ ราษฎรเลือกตั้ง
ประเภทที่ ๒ พระมหากษัตริย์
ทรงแต่งตั้งและมิได้ห้ามการตั้งสมาชิกประเภท ๒ จากข้าราชการประจำ
สมัยที่ ๒ เมื่อผู้มีสิทธิออกเสียงเลือกตั้งสมาชิกมีการศึกษาจบชั้นประถมศึกษาสามัญมากกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนทั้งหมดหรืออย่างช้าไม่เกิน ๑๐ปี นับแต่วัยใช้พระราชบัญญัติการปกครองสยามชั่วคราว สภาจะประกอบด้วยสมาชิกประเภทเดียวแต่เรื่องนี้ต่อมาได้มีรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมว่าด้วยบทเฉพาะกาล พ.ศ.๒๔๘๕ ได้ขยายเวลาของสมัยที่ ๒ นี้ ออกเป็น ๒๐ ปีนับแต่วันใช้พระราชบัญญัติการปกครองสยามชั่วคราว
๕.ด้านบริหารให้พระมหากษัตริย์ทรงใช้อำนาจบริหารทางคณะรัฐมนตรีที่ทรงแต่งตั้งคณะรัฐมนตรีจะรับผิดชอบเป็นส่วนรวมต่อสภาฯ และเป็นการเฉพะตัวสำหรับรัฐมนตรี ซึ่งมีหน้าที่ว่าการกระทรวงแต่ก็มิใช่อยู่ที่สภาแต่งตั่งเหมือนคณะกรรมการราษฎร และมิได้มีอำนาจถอดถอนได้นอกจากลงมติไม่ไว้วางใจซึ่งเป็นผลทำให้คณะรัฐมนตรีต้องลาออก นอกจากนี้ยังให้คณะรัฐมนตรีเป็นผู้รับผิดชอบในการใช้อำนาจบริหารในนามของพระมหากษัตริย์ และมีอำนาจปกครองประเทศด้วยโดยได้เลิกตำแหน่งเสนาบดีทั้งหมดและตั้งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงขึ้นแทน

ที่มา : กรมการปกครอง

สร้างโดย: 
โรงเรียนอนุบาลยอดไม้งาม

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 320 คน กำลังออนไลน์