• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:03406c98c514104b31655d8a870e5466' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<a href=\"/node/43811\" title=\"Backward : การแตกตัวของเบสอ่อน\"><img border=\"0\" src=\"/files/u18699/back.gif\" height=\"100\" width=\"93\" /></a><a href=\"/node/43817\" title=\"Foeward : ปัจจัยที่มีผลต่อการแตกตัว\"><img border=\"0\" src=\"/files/u18699/next.gif\" height=\"100\" width=\"98\" /></a><a href=\"/node/44570\" title=\"Mainpage : การแตกตัว\"><img border=\"0\" src=\"/files/u18699/mainpage.gif\" height=\"100\" width=\"93\" /></a><a href=\"/node/41766\" title=\"Home : กรด-เบส...น่ารู้\"><img border=\"0\" src=\"/files/u18699/home.gif\" height=\"100\" width=\"94\" /></a>\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" src=\"/files/u18699/00027557_102314.gif\" height=\"27\" width=\"600\" />\n</div>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" src=\"/files/u18699/13_0.gif\" height=\"99\" width=\"397\" />\n</div>\n<p><strong><img border=\"0\" src=\"/files/u18699/pointer.gif\" height=\"39\" width=\"30\" /> <span style=\"color: #603314\">การแตกตัวของน้ำบริสุทธิ์</span></strong> </p>\n<p>\n<strong>          </strong><span style=\"color: #987017\">น้ำเป็นอิเล็กโทรไลต์ที่อ่อนมาก จึงทำให้แตกตัวได้น้อยมาก ดังนั้นการนำไฟฟ้าของน้ำจะน้อย จนไม่สามารถตรวจสอบได้ด้วยการนำไฟฟ้าผ่านหลอดไฟ แต่ตรวจได้ด้วยเครื่องวัดกระแส (แอมมิเตอร์) ด้วยเหตุนี้จึงมีการอนุโลมให้น้ำบริสุทธิ์เป็นสารนอนอิเล็กโทรไลต์ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #987017\">          ตามทฤษฎีของเบรินสเตต - ลาวรี กล่าวว่า น้ำ ทำหน้าที่เป็นทั้งกรดและเบส ไอออนที่เกิดขึ้นจากการแตกตัวของน้ำนั้นจะมีการถ่ายเทโปรตอนกันเอง เรียกว่า ออโตไอออนไนเซชัน</span>\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n <img border=\"0\" src=\"/files/u18699/13_1.gif\" height=\"194\" width=\"362\" />\n</div>\n<p>          <span style=\"color: #987017\">โมเลกุลของน้ำที่เสีย H<sup>+</sup> จะเปลี่ยนเป็น OH<sup>-</sup> ซึ่งมีประจุลบ และโมเลกุลของน้ำที่ได้รับ H<sup>+</sup> จะเปลี่ยนเป็น H<sub>3</sub>O<sup>+</sup> ซึ่งมีประจุบวก </span></p>\n<p>\n<span style=\"color: #987017\">เนื่องจากระบบนี้อยู่ในภาวะสมดุล เราจึงสามารถเขียนสมการค่าคงที่สมดุลของ H<sub>2</sub>O ได้ ดังนี้ </span>\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n <img border=\"0\" src=\"/files/u18699/13_2.gif\" height=\"187\" width=\"404\" />\n</div>\n<p>          <span style=\"color: #987017\"> K<sub>w</sub> คือ ค่าคงที่การแตกตัวของน้ำ มีค่าเท่ากับ 1 x 10<sup>-14</sup> ที่ 25<sup>0</sup>C เนื่องจากน้ำบริสุทธิ์เมื่อแตกตัวเป็นไอออนจะมีความเข้มข้นของ H<sub>3</sub>O<sup>+</sup> และ OH<sup>-</sup> เท่ากัน</span> </p>\n<p>\n<strong></strong></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n <img border=\"0\" src=\"/files/u18699/13_3.gif\" height=\"213\" width=\"359\" />\n</div>\n<p>\n</p>\n<p>\n<strong>          </strong><span style=\"color: #987017\">ดังนั้นน้ำบริสุทธิ์จึงมีสภาพเป็นกลาง เนื่องจากปริมาณ H<sub>3</sub>O<sup>+</sup> เท่ากับ OH<sup>-</sup> ซึ่งค่าคงที่สมดุลของน้ำนั้นจะมีค่าเปลี่ยนแปลงไปตามอุณหภูมิ โดยถ้าอุณหภูมิมีค่าสูงขึ้น ค่า K<sub>w</sub> จะลดลง</span>\n</p>\n<p>\n<strong></strong></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" src=\"/files/u18699/00027557_102314.gif\" height=\"27\" width=\"600\" />\n</div>\n<p>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1715512705, expire = 1715599105, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:03406c98c514104b31655d8a870e5466' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

การแตกตัวของน้ำบริสุทธิ์

รูปภาพของ e_chi_zen_ryoma

 

 การแตกตัวของน้ำบริสุทธิ์

          น้ำเป็นอิเล็กโทรไลต์ที่อ่อนมาก จึงทำให้แตกตัวได้น้อยมาก ดังนั้นการนำไฟฟ้าของน้ำจะน้อย จนไม่สามารถตรวจสอบได้ด้วยการนำไฟฟ้าผ่านหลอดไฟ แต่ตรวจได้ด้วยเครื่องวัดกระแส (แอมมิเตอร์) ด้วยเหตุนี้จึงมีการอนุโลมให้น้ำบริสุทธิ์เป็นสารนอนอิเล็กโทรไลต์

          ตามทฤษฎีของเบรินสเตต - ลาวรี กล่าวว่า น้ำ ทำหน้าที่เป็นทั้งกรดและเบส ไอออนที่เกิดขึ้นจากการแตกตัวของน้ำนั้นจะมีการถ่ายเทโปรตอนกันเอง เรียกว่า ออโตไอออนไนเซชัน

 

          โมเลกุลของน้ำที่เสีย H+ จะเปลี่ยนเป็น OH- ซึ่งมีประจุลบ และโมเลกุลของน้ำที่ได้รับ H+ จะเปลี่ยนเป็น H3O+ ซึ่งมีประจุบวก

เนื่องจากระบบนี้อยู่ในภาวะสมดุล เราจึงสามารถเขียนสมการค่าคงที่สมดุลของ H2O ได้ ดังนี้

 

           Kw คือ ค่าคงที่การแตกตัวของน้ำ มีค่าเท่ากับ 1 x 10-14 ที่ 250C เนื่องจากน้ำบริสุทธิ์เมื่อแตกตัวเป็นไอออนจะมีความเข้มข้นของ H3O+ และ OH- เท่ากัน

 

          ดังนั้นน้ำบริสุทธิ์จึงมีสภาพเป็นกลาง เนื่องจากปริมาณ H3O+ เท่ากับ OH- ซึ่งค่าคงที่สมดุลของน้ำนั้นจะมีค่าเปลี่ยนแปลงไปตามอุณหภูมิ โดยถ้าอุณหภูมิมีค่าสูงขึ้น ค่า Kw จะลดลง

 

สร้างโดย: 
อ.กุลรณี อารีมิตร และ น.ส.ชลฤดี ชัยณรงค์ศิริพร

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 287 คน กำลังออนไลน์