• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:39ba828566456d8c2293b6964abd496d' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<a href=\"/node/43707\" title=\"Backward : ทฤษฎีกรด-เบส(2)\"><img border=\"0\" width=\"93\" src=\"/files/u18699/back.gif\" height=\"100\" /></a><a href=\"/node/43837\" title=\"Forward : กรด-เบสในชีวิตประจำวัน\"><img border=\"0\" width=\"98\" src=\"/files/u18699/next.gif\" height=\"100\" /></a><a href=\"/node/44546\" title=\"Mainpage : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกรด-เบส\"><img border=\"0\" width=\"93\" src=\"/files/u18699/mainpage.gif\" height=\"100\" /></a><a href=\"/node/41766\" title=\"Home : กรด-เบส...น่ารู้\"><img border=\"0\" width=\"94\" src=\"/files/u18699/home.gif\" height=\"100\" /></a>\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"600\" src=\"/files/u18699/00027557_102314.gif\" height=\"27\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"397\" src=\"/files/u18699/7_0.gif\" height=\"99\" />\n</div>\n<p>\n<strong><img border=\"0\" width=\"30\" src=\"/files/u18699/pointer.gif\" height=\"39\" /> <span style=\"color: #603314\">คู่กรด – เบส</span></strong><span style=\"color: #603314\"> </span>\n</p>\n<p>\n<strong>          </strong><span style=\"color: #987017\">จากปฏิกิริยาของกรด - เบสที่กล่าวมาข้างต้น ตามทฤษฎีของเบรินสเตต - ลาวรี จะเห็นได้ว่าในปฏิกิริยาหนึ่งๆ อาจจัดคู่กรด – เบสได้ทั้งหมด 2 คู่ด้วยกัน เช่น</span>\n</p>\n<p>\n<strong></strong></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"375\" src=\"/files/u18699/7_1.gif\" height=\"230\" />\n</div>\n<p>\n</p>\n<p>\n<strong>          </strong><span style=\"color: #987017\">ปฏิกิริยาดังตัวอย่างนี้ ปฏิกิริยาไปข้างหน้า NH<sub>4</sub><sup>+</sup> ทำหน้าที่เป็นกรด เพราะให้ H<sup>+</sup> กับ H<sub>2</sub>O แล้วได้เป็น NH<sub>3</sub> ขณะที่ H<sub>2</sub>O รับ H<sup>+</sup> ดังนั้นจึงทำหน้าที่เป็นเบส ส่วนปฏิกิริยาย้อนกลับ H<sub>3</sub>O<sup>+</sup> เป็นกรด เพราะให้ H<sup>+</sup> กับ NH<sub>3</sub> ซึ่งเป็นเบส แล้วได้เป็น H<sub>2</sub>O และ NH<sub>4</sub><sup>+</sup> ตามลำดับ </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #987017\"><strong> </strong>เรียก  NH<sub>4</sub><sup>+</sup>  ว่าคู่กรดของ  NH<sub>3</sub>  (เบส) </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #987017\">          H<sub>2</sub>O  ว่าคู่เบสของ  H<sub>3</sub>O<sup>+</sup>  (กรด) </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #987017\">          NH<sub>3  </sub>ว่าคู่เบสของ  NH<sub>4</sub><sup>+</sup>   (กรด) </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #987017\">          H<sub>3</sub>O<sup>+  </sup>ว่าคู่กรดของ  H<sub>2</sub>O  (เบส) </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #987017\"><strong>        </strong> จากตัวอย่างที่กล่าวมาข้างต้น จะเห็นได้ว่า คู่กรด - เบสนั้นมีจำนวนโปรตอน (H<sup>+</sup>) ต่างกัน 1 ตัว หรืออาจกล่าวได้ว่า จำนวนโปรตอนของคู่กรด จะมากกว่าจำนวนโปรตอนของคู่เบสอยู่ 1 ตัวเสมอ </span>\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"600\" src=\"/files/u18699/00027557_102314.gif\" height=\"27\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"397\" src=\"/files/u18699/8_0.gif\" height=\"99\" />\n</div>\n<p>\n<strong><img border=\"0\" width=\"30\" src=\"/files/u18699/pointer.gif\" height=\"39\" /> <span style=\"color: #603314\">ความแรงของกรด - เบส</span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong>          </strong><span style=\"color: #987017\">การเปรียบเทียบความแรงของกรด - เบส อาจพิจารณาได้ ดังนี้ </span>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #603314\">1. สังเกตจากการแตกตัวของกรด</span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong>       </strong>  <span style=\"color: #987017\"> กรดที่แตกตัวมาก จะมีความเป็นกรดมาก กรดและเบสตัวใดที่แตกตัวได้ 100% จะเรียกว่า กรดแก่ และเบสแก่ ตามลำดับ มีความสามารถในการนำไฟฟ้าได้ดี แต่ถ้ากรดหรือเบสตัวใดแตกตัวได้เพียงบางส่วนจะเรียกว่า กรดอ่อน หรือเบสอ่อน ตามลำดับ ซึ่งความสามารถในการนำไฟฟ้าก็จะไม่ดีตามไปด้วย </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #987017\">          สำหรับการพิจารณาค่าการแตกตัวของกรดและเบสนั้น นอกจากจะคิดในรูปแบบของเปอร์เซ็นต์การแตกตัวแล้ว ยังสามารถดูได้จากค่าคงที่สมดุลของการแตกตัวของกรดหรือเบส (K<sub>a</sub> หรือ K<sub>b</sub>) นั้นๆได้ด้วย เช่น </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #987017\">          สารละลายของกรดทั้ง 4 ชนิด มีค่าคงที่ของการแตกตัวของกรด ดังนี้ </span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"color: #987017\">                                                            HClO<sub>2</sub>          K<sub>a</sub> = 1.1 x 10<sup>-2</sup> </span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"color: #987017\">                                                            HF               K<sub>a</sub> = 6.8 x 10<sup>-4</sup> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #987017\">                                                            CH<sub>3</sub>COOH    K<sub>a</sub> = 1.8 x 10<sup>-5</sup> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #987017\">                                                            H<sub>2</sub>CO<sub>3</sub>         K<sub>a</sub> = 4.4 x 10<sup>-7</sup> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #987017\">          ความแรงของกรดเรียงลำดับจากมากไปหาน้อยตามค่า K<sub>a</sub> ได้ดังนี้ </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #987017\">HClO<sub>2</sub>  &gt;  HF  &gt;  CH<sub>3</sub>COOH  &gt;  H<sub>2</sub>CO<sub>3</sub> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #987017\">          ส่วนความแรงของเบสนั้น ให้พิจารณาจากค่า K<sub>b</sub> คือ ถ้าค่า K<sub>b</sub> มาก สารละลายนั้นจะมีความเป็นเบสมากกว่าสารละลายที่มี K<sub>b</sub> น้อย เช่น </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #987017\">                                                            NH<sub>3</sub>             K<sub>b</sub> = 1.76 x 10<sup>-5</sup> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #987017\">                                                            N<sub>2</sub>H<sub>4</sub>           K<sub>b</sub> = 9.5 x 10<sup>-7</sup> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #987017\">                                                            C<sub>6</sub>H<sub>5</sub>NH<sub>2</sub>     K<sub>b</sub> = 4.3 x 10<sup>-10</sup> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #987017\">          ความแรงของเบสเรียงลำดับจากมากไปหาน้อยตามค่า K<sub>b</sub> ได้ดังนี้ </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #987017\">NH<sub>3</sub>  &gt;  N<sub>2</sub>H<sub>4</sub>  &gt;  C<sub>6</sub>H<sub>5</sub>NH<sub>2</sub> </span>\n</p>\n<p>\n<strong></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #603314\">2. สังเกตจากความสามารถในการให้และรับโปรตอน</span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong>       <span style=\"color: #987017\">   </span></strong><span style=\"color: #987017\">กรดแก่, เบสแก่ คือ กรดหรือเบสที่ให้โปรตอนได้มาก </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #987017\">          กรดอ่อน, เบสอ่อน คือ กรดหรือเบสที่ให้โปรตอนได้น้อย  </span>\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n <img border=\"0\" width=\"600\" src=\"/files/u18699/8_1.gif\" height=\"595\" />\n</div>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #603314\">3. สังเกตจากการเรียงลำดับในตารางธาตุ</span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong>     </strong><span style=\"color: #987017\">การพิจารณาความแรงของกรด – เบส สังเกตได้จากการเรียงลำดับของธาตุที่อยู่ในกรดตามตารางธาตุ ซึ่งแบ่งได้ ดังนี้ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #987017\">          3.1 กรดออกซี หมายถึง กรดที่ประกอบด้วย H, O และธาตุอื่นอีก เช่น HNO<sub>3</sub>, H<sub>3</sub>PO<sub>4</sub>, H<sub>3</sub>AsO<sub>4</sub>, HClO<sub>4</sub> เป็นต้น ถ้าจำนวนอะตอมออกซิเจนเท่ากัน ความแรงของกรดจะมีการเรียงลำดับดังนี้ </span>\n</p>\n<p><strong></strong></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n <img border=\"0\" width=\"280\" src=\"/files/u18699/8_2.gif\" height=\"333\" />\n</div>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #987017\">ดังนั้น H<sub>2</sub>SO<sub>4</sub>  &gt;  H<sub>2</sub>SeO<sub>4</sub> , H<sub>3</sub>PO<sub>4</sub>  &gt;  H<sub>3</sub>AsO<sub>4</sub> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #987017\">          3.2 กรดไฮโดร หมายถึง กรดที่ไม่มีออกซิเจน เช่น HCl, HBr, HF, และ HI เป็นต้น โดยความแรงของกรดจะเรียงตามลำดับดังนี้ </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #987017\">HI  &gt;  HBr  &gt;  HCl  &gt;  HF </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #987017\">H<sub>2</sub>S  &gt;  H<sub>2</sub>O </span>\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"600\" src=\"/files/u18699/00027557_102314.gif\" height=\"27\" />\n</div>\n<p> \n</p></div>\n', created = 1715019127, expire = 1715105527, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:39ba828566456d8c2293b6964abd496d' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

คู่กรด-คู่เบส+ความแรงของกรด-เบส

รูปภาพของ e_chi_zen_ryoma

 คู่กรด – เบส

          จากปฏิกิริยาของกรด - เบสที่กล่าวมาข้างต้น ตามทฤษฎีของเบรินสเตต - ลาวรี จะเห็นได้ว่าในปฏิกิริยาหนึ่งๆ อาจจัดคู่กรด – เบสได้ทั้งหมด 2 คู่ด้วยกัน เช่น

          ปฏิกิริยาดังตัวอย่างนี้ ปฏิกิริยาไปข้างหน้า NH4+ ทำหน้าที่เป็นกรด เพราะให้ H+ กับ H2O แล้วได้เป็น NH3 ขณะที่ H2O รับ H+ ดังนั้นจึงทำหน้าที่เป็นเบส ส่วนปฏิกิริยาย้อนกลับ H3O+ เป็นกรด เพราะให้ H+ กับ NH3 ซึ่งเป็นเบส แล้วได้เป็น H2O และ NH4+ ตามลำดับ

 เรียก  NH4+  ว่าคู่กรดของ  NH3  (เบส)

          H2O  ว่าคู่เบสของ  H3O+  (กรด)

          NHว่าคู่เบสของ  NH4+   (กรด)

          H3Oว่าคู่กรดของ  H2O  (เบส)

         จากตัวอย่างที่กล่าวมาข้างต้น จะเห็นได้ว่า คู่กรด - เบสนั้นมีจำนวนโปรตอน (H+) ต่างกัน 1 ตัว หรืออาจกล่าวได้ว่า จำนวนโปรตอนของคู่กรด จะมากกว่าจำนวนโปรตอนของคู่เบสอยู่ 1 ตัวเสมอ

 ความแรงของกรด - เบส

          การเปรียบเทียบความแรงของกรด - เบส อาจพิจารณาได้ ดังนี้

1. สังเกตจากการแตกตัวของกรด

          กรดที่แตกตัวมาก จะมีความเป็นกรดมาก กรดและเบสตัวใดที่แตกตัวได้ 100% จะเรียกว่า กรดแก่ และเบสแก่ ตามลำดับ มีความสามารถในการนำไฟฟ้าได้ดี แต่ถ้ากรดหรือเบสตัวใดแตกตัวได้เพียงบางส่วนจะเรียกว่า กรดอ่อน หรือเบสอ่อน ตามลำดับ ซึ่งความสามารถในการนำไฟฟ้าก็จะไม่ดีตามไปด้วย

          สำหรับการพิจารณาค่าการแตกตัวของกรดและเบสนั้น นอกจากจะคิดในรูปแบบของเปอร์เซ็นต์การแตกตัวแล้ว ยังสามารถดูได้จากค่าคงที่สมดุลของการแตกตัวของกรดหรือเบส (Ka หรือ Kb) นั้นๆได้ด้วย เช่น

          สารละลายของกรดทั้ง 4 ชนิด มีค่าคงที่ของการแตกตัวของกรด ดังนี้

                                                            HClO2          Ka = 1.1 x 10-2

                                                            HF               Ka = 6.8 x 10-4

                                                            CH3COOH    Ka = 1.8 x 10-5

                                                            H2CO3         Ka = 4.4 x 10-7

          ความแรงของกรดเรียงลำดับจากมากไปหาน้อยตามค่า Ka ได้ดังนี้

HClO2  >  HF  >  CH3COOH  >  H2CO3

          ส่วนความแรงของเบสนั้น ให้พิจารณาจากค่า Kb คือ ถ้าค่า Kb มาก สารละลายนั้นจะมีความเป็นเบสมากกว่าสารละลายที่มี Kb น้อย เช่น

                                                            NH3             Kb = 1.76 x 10-5

                                                            N2H4           Kb = 9.5 x 10-7

                                                            C6H5NH2     Kb = 4.3 x 10-10

          ความแรงของเบสเรียงลำดับจากมากไปหาน้อยตามค่า Kb ได้ดังนี้

NH3  >  N2H4  >  C6H5NH2

2. สังเกตจากความสามารถในการให้และรับโปรตอน

          กรดแก่, เบสแก่ คือ กรดหรือเบสที่ให้โปรตอนได้มาก

          กรดอ่อน, เบสอ่อน คือ กรดหรือเบสที่ให้โปรตอนได้น้อย 

 

3. สังเกตจากการเรียงลำดับในตารางธาตุ

     การพิจารณาความแรงของกรด – เบส สังเกตได้จากการเรียงลำดับของธาตุที่อยู่ในกรดตามตารางธาตุ ซึ่งแบ่งได้ ดังนี้

          3.1 กรดออกซี หมายถึง กรดที่ประกอบด้วย H, O และธาตุอื่นอีก เช่น HNO3, H3PO4, H3AsO4, HClO4 เป็นต้น ถ้าจำนวนอะตอมออกซิเจนเท่ากัน ความแรงของกรดจะมีการเรียงลำดับดังนี้

 

ดังนั้น H2SO4  >  H2SeO4 , H3PO4  >  H3AsO4

          3.2 กรดไฮโดร หมายถึง กรดที่ไม่มีออกซิเจน เช่น HCl, HBr, HF, และ HI เป็นต้น โดยความแรงของกรดจะเรียงตามลำดับดังนี้

HI  >  HBr  >  HCl  >  HF

H2S  >  H2O

 

สร้างโดย: 
อ.กุลรณี อารีมิตร และ น.ส.ชลฤดี ชัยณรงค์ศิริพร

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 470 คน กำลังออนไลน์