• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:356e252b8348a52e62e0fed572d2e758' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<a href=\"/node/43697\" title=\"Backward : สารละลายอิเล็กโทรไลต์+ชนิดของกรด-เบส\"><img border=\"0\" width=\"93\" src=\"/files/u18699/back.gif\" height=\"100\" /></a><a href=\"/node/43707\" title=\"Forward : ทฤษฎีกรด-เบส(2)\"><img border=\"0\" width=\"98\" src=\"/files/u18699/next.gif\" height=\"100\" /></a><a href=\"/node/44546\" title=\"Mainpage : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกรด-เบส\"><img border=\"0\" width=\"93\" src=\"/files/u18699/mainpage.gif\" height=\"100\" /></a><a href=\"/node/41766\" title=\"Home : กรด-เบส...น่ารู้\"><img border=\"0\" width=\"94\" src=\"/files/u18699/home.gif\" height=\"100\" /></a>\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"600\" src=\"/files/u18699/00027557_102314.gif\" height=\"27\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"397\" src=\"/files/u18699/5_0.gif\" height=\"99\" />\n</div>\n<p>\n<strong><img border=\"0\" width=\"30\" src=\"/files/u18699/pointer.gif\" height=\"39\" /> <span style=\"color: #603314\">ทฤษฎีกรด - เบส อาร์เรเนียส (Arrhenius)</span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong>          </strong><span style=\"color: #987017\">ในปี ค.ศ. 1887 (พ.ศ. 2430) นักวิทยาศาสตร์ชาวสวีเดน ชื่อ อาร์เรเนียส ได้เป็นผู้ตั้งทฤษฎีกรด – เบสขึ้น โดยศึกษาจากสารที่ละลายน้ำ (Aqueous solution ; aq) และการนำไฟฟ้าของสารละลายนั้น ซึ่งอาร์เรเนียสได้พบว่าสารอิเล็กโทรไลต์จะแตกตัวเป็นไอออน เมื่อละลายอยู่ในน้ำจึงให้นิยามกรดไว้ว่า </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #987017\">          กรด คือ สารที่ละลายน้ำแล้วสามารถแตกตัวให้ไฮโดรเจนไอออน (H<sup>+</sup>)ได้ เช่น</span>\n</p>\n<p>\n<strong></strong></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"341\" src=\"/files/u18699/5_1.gif\" height=\"176\" />\n</div>\n<p>\n</p>\n<p>\n<strong>          </strong><span style=\"color: #987017\">เบส คือ สารที่ละลายน้ำแล้วสามารถแตกตัวให้ไฮดรอกไซด์ไอออน (OH<sup>-</sup>)ได้ เช่น</span>\n</p>\n<p>\n<strong></strong></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"359\" src=\"/files/u18699/5_2.gif\" height=\"180\" />\n</div>\n<p>\n</p>\n<ul>\n<li><strong><span style=\"color: #603314\">ข้อจำกัดของทฤษฎีกรด - เบส อาร์เรเนียส</span></strong> </li>\n</ul>\n<p>\n    <span style=\"color: #987017\"> - ทฤษฎีกรด - เบส อาร์เรเนียส จะเน้นเฉพาะการแตกตัวในน้ำให้ได้เป็น H<sup>+</sup> และ OH<sup>-</sup> ไม่รวมถึงตัวทำละลายอื่นๆ ทำให้สามารถอธิบายความเป็นกรด - เบสได้อย่างจำกัด </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #987017\">     - สารที่เป็นกรดจะต้องมี H<sup>+</sup> อยู่ในโมเลกุล และสารที่เป็นเบสจะต้องมี OH<sup>-</sup> อยู่ในโมเลกุล </span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<strong></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><img border=\"0\" width=\"30\" src=\"/files/u18699/pointer.gif\" height=\"39\" /> <span style=\"color: #603314\">ทฤษฎีกรด - เบส เบรินสเตต-ลาวรี (Bronsted - Lowry)</span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong>          </strong><span style=\"color: #987017\">โจฮันส์ นิโคลัส เบรินสเตต และโทมัส มาร์ติน ลาวรี นักเคมีชาวเดนมาร์ก และอังกฤษ ได้ศึกษาการให้และรับโปรตอนของสาร เพื่อใช้อธิบายและจำแนกกรด - เบสได้กว้างยิ่งขึ้น จึงได้มีการตั้งทฤษฎีกรด - เบสนี้ขึ้นในปี ค.ศ.1923 (พ.ศ. 2466) </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #987017\">กรด คือ สารที่ให้โปรตอนกับสารอื่น (Proton donor) </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #987017\">เบส คือ สารที่รับโปรตอนจากสารอื่น (Proton acceptor) </span>\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"340\" src=\"/files/u18699/5_3.gif\" height=\"215\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #987017\">HCl เป็นสารที่ให้โปรตอน (H<sup>+</sup>) ; HCl จึงเป็นกรด </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #987017\">H2O เป็นสารที่รับโปรตอน (H<sup>+</sup>) ; H<sub>2</sub>O จึงเป็นเบส </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<strong></strong>\n</p>\n<ul>\n<li><strong><span style=\"color: #603314\">ข้อจำกัดของทฤษฎีกรด – เบส เบรินสเตต – ลาวรี</span></strong> </li>\n</ul>\n<p>\n<strong>          </strong><span style=\"color: #987017\">ทฤษฎีกรด- เบสของเบรินสเตต - ลาวรี เป็นทฤษฎีที่ใช้ในการอธิบายสมบัติของกรด - เบสได้กว้างกว่าทฤษฎีของอาร์เรเนียส แต่อย่างไรก็ตามทฤษฎีนี้ก็ยังมีข้อจำกัด คือ สารที่ทำหน้าที่เป็นกรดจะต้องมีโปรตอนอยู่ในสารนั้น และสารนั้นจะต้องแตกตัวได้ เพราะถ้าสารไม่สามารถแตกตัวได้แล้วจะระบุไม่ได้ว่าสารนั้นเป็นกรดหรือเบส</span>\n</p>\n<p>\n<strong></strong></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"600\" src=\"/files/u18699/00027557_102314.gif\" height=\"27\" />\n</div>\n<p>\n</p>\n', created = 1720197800, expire = 1720284200, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:356e252b8348a52e62e0fed572d2e758' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ทฤษฎีกรด-เบส(1)

รูปภาพของ e_chi_zen_ryoma

 ทฤษฎีกรด - เบส อาร์เรเนียส (Arrhenius)

          ในปี ค.ศ. 1887 (พ.ศ. 2430) นักวิทยาศาสตร์ชาวสวีเดน ชื่อ อาร์เรเนียส ได้เป็นผู้ตั้งทฤษฎีกรด – เบสขึ้น โดยศึกษาจากสารที่ละลายน้ำ (Aqueous solution ; aq) และการนำไฟฟ้าของสารละลายนั้น ซึ่งอาร์เรเนียสได้พบว่าสารอิเล็กโทรไลต์จะแตกตัวเป็นไอออน เมื่อละลายอยู่ในน้ำจึงให้นิยามกรดไว้ว่า

          กรด คือ สารที่ละลายน้ำแล้วสามารถแตกตัวให้ไฮโดรเจนไอออน (H+)ได้ เช่น

          เบส คือ สารที่ละลายน้ำแล้วสามารถแตกตัวให้ไฮดรอกไซด์ไอออน (OH-)ได้ เช่น

  • ข้อจำกัดของทฤษฎีกรด - เบส อาร์เรเนียส

     - ทฤษฎีกรด - เบส อาร์เรเนียส จะเน้นเฉพาะการแตกตัวในน้ำให้ได้เป็น H+ และ OH- ไม่รวมถึงตัวทำละลายอื่นๆ ทำให้สามารถอธิบายความเป็นกรด - เบสได้อย่างจำกัด

     - สารที่เป็นกรดจะต้องมี H+ อยู่ในโมเลกุล และสารที่เป็นเบสจะต้องมี OH- อยู่ในโมเลกุล

 

 ทฤษฎีกรด - เบส เบรินสเตต-ลาวรี (Bronsted - Lowry)

          โจฮันส์ นิโคลัส เบรินสเตต และโทมัส มาร์ติน ลาวรี นักเคมีชาวเดนมาร์ก และอังกฤษ ได้ศึกษาการให้และรับโปรตอนของสาร เพื่อใช้อธิบายและจำแนกกรด - เบสได้กว้างยิ่งขึ้น จึงได้มีการตั้งทฤษฎีกรด - เบสนี้ขึ้นในปี ค.ศ.1923 (พ.ศ. 2466)

กรด คือ สารที่ให้โปรตอนกับสารอื่น (Proton donor)

เบส คือ สารที่รับโปรตอนจากสารอื่น (Proton acceptor)

HCl เป็นสารที่ให้โปรตอน (H+) ; HCl จึงเป็นกรด

H2O เป็นสารที่รับโปรตอน (H+) ; H2O จึงเป็นเบส

 

  • ข้อจำกัดของทฤษฎีกรด – เบส เบรินสเตต – ลาวรี

          ทฤษฎีกรด- เบสของเบรินสเตต - ลาวรี เป็นทฤษฎีที่ใช้ในการอธิบายสมบัติของกรด - เบสได้กว้างกว่าทฤษฎีของอาร์เรเนียส แต่อย่างไรก็ตามทฤษฎีนี้ก็ยังมีข้อจำกัด คือ สารที่ทำหน้าที่เป็นกรดจะต้องมีโปรตอนอยู่ในสารนั้น และสารนั้นจะต้องแตกตัวได้ เพราะถ้าสารไม่สามารถแตกตัวได้แล้วจะระบุไม่ได้ว่าสารนั้นเป็นกรดหรือเบส

สร้างโดย: 
อ.กุลรณี อารีมิตร และ น.ส.ชลฤดี ชัยณรงค์ศิริพร

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 563 คน กำลังออนไลน์