• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:80e7259406c605770aca291de82d2042' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: green; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"></span></span></p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: small\"><span><strong></strong></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: small\"><span><span style=\"color: #333333\" lang=\"TH\"></span><span style=\"color: #333333\" lang=\"TH\"></span></span></span></p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<strong><span style=\"font-size: 20pt; color: #333333; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #ffffff; background-color: #dd22a1\">อุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์</span></span></strong>\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<strong><span style=\"font-size: 20pt; color: #333333; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"></span></strong>\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<strong><span style=\"font-size: 20pt; color: #333333; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"><img border=\"0\" width=\"450\" src=\"/files/u19253/27.jpg\" height=\"338\" /></span></strong>\n</p>\n<p><strong><span style=\"font-size: 20pt; color: #333333; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"></span></strong><span style=\"font-size: 20pt; font-family: Tahoma\"></span><o:p></o:p><u1:p></u1:p></p>\n<p>\n<span style=\"color: #333333\" lang=\"TH\">ที่มาภาพ <a href=\"http://mail.ctc.ru.ac.th/d407/group5/imag/27.jpg\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"text-decoration: none; text-underline: none\" lang=\"EN-US\">http://mail.ctc.ru.ac.th/d</span><span style=\"text-decoration: none; text-underline: none\">407/</span><span style=\"text-decoration: none; text-underline: none\" lang=\"EN-US\">group</span><span style=\"text-decoration: none; text-underline: none\">5/</span><span style=\"text-decoration: none; text-underline: none\" lang=\"EN-US\">imag/</span><span style=\"text-decoration: none; text-underline: none\">27.</span><span style=\"text-decoration: none; text-underline: none\" lang=\"EN-US\">jpg</span></span></span></a></span>\n</p>\n<p><a href=\"http://mail.ctc.ru.ac.th/d407/group5/imag/27.jpg\"></a><span style=\"font-size: small\"><span><strong><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"background-color: #99ccff\">อุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์<o:p></o:p></span></span></strong></span></span><span style=\"font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"><o:p><span style=\"font-size: small; color: #000000\"><strong> </strong></span></o:p></span><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #00ccff\"><span style=\"color: black; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\">ประกาศเป็นอุทยานฯ เมื่อ พ.ศ.</span><span style=\"color: black; font-family: Tahoma\">2515 <span lang=\"TH\">ประกาศเป็นอุทยานฯ เป็นลำดับที่ </span>6 <span lang=\"TH\">ของประเทศไทย มีพื้นที่ </span>482.4 <span lang=\"TH\">ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ในเขตอำเภอจอมทอง อำเภอแม่แจ่มอำเภอแม่วาง และกิ่งอำเภอดอยหล่อ จังหวัดเชียงใหม่ ดอยอินทนนท์แต่เดิมดอยนี้มีชื่อว่า &quot;ดอยหลวง&quot; หรือ &quot;ดอยอ่างกา&quot; ดอยหลวง มาจากขนาดของดอยที่ใหญ่มาก ชาวบ้านจึงเรียกกันว่า</span> &quot;<span lang=\"TH\">ดอยหลวง&quot; (หลวง: เป็นภาษาเหนือ แปลว่า ใหญ่) ดอยอ่างกา มีเรื่องเล่าว่า ห่างจากยอดดอยไปทางทิศตะวันตกประมาณ </span><st1:metricconverter ProductID=\"300 เมตร\" w:st=\"on\">300 <span lang=\"TH\">เมตร</span></st1:metricconverter><span lang=\"TH\"> มีหนองน้ำแห่งหนึ่งลักษณะเหมือนอ่าง ฝูงกาจำนวนมากมายมักพากันไปเล่นน้ำที่หนองน้ำแห่งนี้ จึงพากันเรียกว่า &quot;อ่างกา&quot; และภูเขาขนาดใหญ่แห่งนั้นก็เลยเรียกกันว่า &quot;ดอยอ่างกา&quot; แต่ก็มีบางกระแสกล่าวว่า คำว่า &quot;อ่างกา&quot; นั้น</span> <o:p></o:p></span></span></span><span><br />\n<span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #00ccff\"><span lang=\"TH\">แท้จริงแล้วมาจากภาษาปกาเกอญอ (กะเหรี่ยง) แปลว่า &quot;ใหญ่&quot; เพราะฉะนั้นคำว่า</span> &quot;</span><span lang=\"TH\"><span style=\"color: #00ccff\">ดอยอ่างกา&quot; จึงแปลว่า<strong>ดอยที่มีความใหญ่</strong>นั่นเอง</span> </span></span></span></p>\n<p>\n<span><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #3366ff\"><span lang=\"TH\">ดอยอินทนนท์ อดีตกาลก่อนป่าไม้ทางภาคเหนืออยู่ในความควบคุมของเจ้าผู้ครองนครต่าง ๆ สมัยพระเจ้าอินทวิชยานนท์ เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ (องค์สุดท้าย) พระองค์ให้ความสำคัญกับป่าไม้อย่างมาก โดยเฉพาะป่าในบริเวณดอยหลวง ทรงรับสั่งว่า หากสิ้นพระชนม์ลงให้นำอัฐิบางส่วนขึ้นไปสร้างสถูปบรรจุไว้บนดอย ดอยนี้จึงมีนามเรียกขานว่า &quot;ดอยอินทนนท์&quot; แต่มีข้อมูลบางกระแสกล่าวว่า ที่ดอยหลวงเรียกว่า ดอยอินทนนท์ นั้น เป็นเพราะเนื่องจากว่าเป็นการให้เกียรติ เจ้าผู้ครองนคร จึงตั้งชื่อจากคำว่า &quot;ดอยหลวง&quot; ซึ่งเป็นชื่อที่มีความซ้ำกับดอยหลวง ของอำเภอเชียงดาว แต่ภายหลังมีชาวเยอรมัน มาทำการสำรวจและวัด ซึ่งปรากฎผลว่า ดอยหลวง หรือดอยอ่างกา ที่อำเภอแม่แจ่มมีความสูงกว่า ดอยหลวง ของอำเภอเชียงดาว จึงเปลี่ยนชื่อใหม่ เพื่อไม่ให้มีความซ้ำซ้อนกัน และเรียกดอยแห่งนี้ว่า</span><strong> &quot;</strong><span><strong>ดอยอินทนนท์&quot;</strong> อุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์ เดิมเป็นส่วนหนึ่งของ</span> &quot;</span><span lang=\"TH\"><span style=\"color: #3366ff\">ป่าสงวนแห่งชาติดอยอินทนนท์&quot;</span> </span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #0000ff\"><span lang=\"TH\">ต่อมาได้ถูกสำรวจและจัดตั้งเป็นหนึ่งในสิบสี่ ป่าที่ทางรัฐบาลให้ดำเนินการเป็นอุทยานแห่งชาติ ซึ่งครั้งแรกกรมป่าไม้เสนอให้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์กำหนดพื้นที่อุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์ให้มีพื้นที่</span> 1,000 <span lang=\"TH\">ตร.กม. หรือประมาณ </span><st1:metricconverter ProductID=\"625,000 ไร่\" w:st=\"on\">625,000 <span lang=\"TH\">ไร่</span></st1:metricconverter><span lang=\"TH\"> แต่เนื่องจากพื้นที่ชุมชนต่าง ๆ อาศัยอยู่ก่อนหลายชุมชน จึงทำการสำรวจใหม่ และกันพื้นที่ที่ราษฎร อยู่มาก่อน และคาดว่าจะมีปัญหาในอนาคตออก จึงเหลือพื้นที่ที่จะประกาศเป็นอุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์ </span>270 <span lang=\"TH\">ตร.กม. หรือประมาณ</span> <st1:metricconverter ProductID=\"168,750 ไร่\" w:st=\"on\">168,750 <span lang=\"TH\">ไร่</span></st1:metricconverter><span lang=\"TH\"> ประกาศลงวันที่ </span>2 <span lang=\"TH\">ตุลาคม </span>2515 <span lang=\"TH\">และในวันที่ </span>13 <span lang=\"TH\">มิถุนายน </span>2521 <span lang=\"TH\">รัฐบาลประกาศพื้นที่เพิ่มอีกเป็น </span><strong>482.4 </strong><span><strong>ตร.กม.</strong> อำเภอจอมทอง อำเภอแม่แจ่ม อำเภอแม่วาง และกิ่งอำเภอดอยหล่อ มีความสูงจากระดับน้ำทะลปานกลาง </span>400-<st1:metricconverter ProductID=\"2,565.3341 เมตร\" w:st=\"on\">2,565.3341 <span lang=\"TH\">เมตร</span></st1:metricconverter></span><span lang=\"TH\"><span style=\"color: #0000ff\"> เป็นภูเขาที่สูงที่สุดในประเทศไทย</span> </span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000080\"><span lang=\"TH\">สำหรับวัตถุประสงค์ในการกำหนดที่ดินให้เป็นอุทยานแห่งชาติ ตาม พ.ร.บ. อุทยานแห่งชาติ พ.ศ. </span>2504 <span lang=\"TH\">หมวด </span>1 <span lang=\"TH\">มาตรา </span>6 <span lang=\"TH\">ดังนี้ </span>&quot;<span lang=\"TH\">เมื่อรัฐบาลเห็นสมควรกำหนดบริเวณที่ดินแห่งใดมีสภาพธรรมชาติเป็นที่น่าสนใจ ให้คงอยู่ในสภาพธรรมชาติเดิมเพื่อสงวนไว้เป็นประโยชน์แก่การศึกษาและรื่นรมย์ของประชาชน ก็ให้มีอำนาจกระทำโดยประกาศพระราชกฤษฎีกาด้วยบริเวณที่กำหนดนี้เรียกว่า อุทยานแห่งชาติ&quot;</span></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000080\"><span lang=\"TH\"></span></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000080\"><span lang=\"TH\"></span></span></span></span></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"500\" src=\"/files/u19253/f41352a84c0bcdc6e5862dad54b53f78.jpg\" height=\"375\" />\n</div>\n<p>\n</p>\n<p><span><span style=\"font-size: small\"><span lang=\"TH\"><span style=\"font-family: Tahoma\"><o:p><span style=\"font-size: small; color: #000000\"> </span></o:p></span> </span></span></span></p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 12pt; color: #333333; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\">ที่มาภาพ <a href=\"http://www.cvpic.com/uploads/f41352a84c0bcdc6e5862dad54b53f78.jpg\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"text-decoration: none; text-underline: none\" lang=\"EN-US\">http://www.cvpic.com/uploads/f</span><span style=\"text-decoration: none; text-underline: none\">41352</span><span style=\"text-decoration: none; text-underline: none\" lang=\"EN-US\">a</span><span style=\"text-decoration: none; text-underline: none\">84</span><span style=\"text-decoration: none; text-underline: none\" lang=\"EN-US\">c</span><span style=\"text-decoration: none; text-underline: none\">0</span><span style=\"text-decoration: none; text-underline: none\" lang=\"EN-US\">bcdc</span><span style=\"text-decoration: none; text-underline: none\">6</span><span style=\"text-decoration: none; text-underline: none\" lang=\"EN-US\">e</span><span style=\"text-decoration: none; text-underline: none\">5862</span><span style=\"text-decoration: none; text-underline: none\" lang=\"EN-US\">dad</span><span style=\"text-decoration: none; text-underline: none\">54</span><span style=\"text-decoration: none; text-underline: none\" lang=\"EN-US\">b</span><span style=\"text-decoration: none; text-underline: none\">53</span><span style=\"text-decoration: none; text-underline: none\" lang=\"EN-US\">f</span><span style=\"text-decoration: none; text-underline: none\">78.</span><span style=\"text-decoration: none; text-underline: none\" lang=\"EN-US\">jpg</span></span></a></span><a href=\"http://www.cvpic.com/uploads/f41352a84c0bcdc6e5862dad54b53f78.jpg\"></a>\n</p>\n<p><span><span style=\"font-size: small\"><span lang=\"TH\"></span></span></span><span style=\"color: black; font-family: Tahoma\"><o:p></o:p></span><strong><span style=\"font-size: small\"><u><span style=\"color: #007700; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #0000ff; background-color: #99ccff\">ลักษณะภูมิประเทศ</span></span></u><span style=\"color: black; font-family: Tahoma\"><o:p></o:p></span></span></strong><span style=\"color: black; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #00ccff\">สภาพภูมิประเทศประกอบด้วยภูเขาสูงสลับซับซ้อน เป็นส่วนหนึ่งของแนวเขตเทือกเขาถนนธงชัยที่ทอดตัวตามแนวเหนือ-ใต้ ทอดตัวมาจากเทือกเขาหิมาลัยในประเทศเนปาล มีระดับความสูงของพื้นที่อยู่ระหว่าง</span></span></span><span style=\"color: black; font-family: Tahoma\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #00ccff\"> 400-2,565 <span lang=\"TH\">เมตรจากระดับน้ำทะเลปานกลาง โดยจุดสูงสุดอยู่ที่ยอดดอยอินทนนท์ ซึ่งเป็นจุดที่สูงสุดในประเทศไทย ยอดเขาที่มีระดับสูงรองลงมา คือ ยอดดอยหัวหมดหลวง สูง </span><st1:metricconverter ProductID=\"2,330 เมตร\" w:st=\"on\">2,330 <span lang=\"TH\">เมตร</span></st1:metricconverter><span lang=\"TH\"> ยอดดอยหัวหมดน้อย สูง </span><st1:metricconverter ProductID=\"1,900 เมตร\" w:st=\"on\">1,900 <span lang=\"TH\">เมตร</span></st1:metricconverter><span lang=\"TH\"> ยอดดอยหัวเสือ สูง</span>1,881 <span lang=\"TH\">เมตรจากระดับน้ำทะเล</span></span> </span></span></p>\n<p><span style=\"color: #00ccff\"><span lang=\"TH\">ลักษณะโครงสร้างทางธรณีของอุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์โดยทั่วไป ประกอบด้วยหินที่มีอายุตั้งแต่ยุคแคมเบรียนขึ้นไป และหินส่วนใหญ่จะเป็นหินไนส์และหิน<span style=\"color: #00ccff\">แกรนิต</span> ส่วนหินชนิดอื่นๆ ที่พบจะเป็นหินยุคออร์โดวิเชียนซึ่งได้แก่หินปูน จนถึงยุคเทอร์เซียรี่ได้แก่หินกรวดมน</span> </span></p>\n<p><span lang=\"TH\">อุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์เป็นพื้นที่ต้นน้ำลำธารที่สำคัญของแม่น้ำปิง ให้กำเนิดแม่น้ำลำธารหลายสาย ที่สำคัญได้แก่ ลำน้ำแม่วาง ลำน้ำแม่กลาง ลำน้ำแม่ยะ ลำน้ำแม่หอย ลำน้ำแม่แจ่ม และลำน้ำแม่เตี๊ยะ ซึ่งลำน้ำเหล่านี้จะไหลผ่านและหล่อเลี้ยงชุมชนต่างๆ ในเขตอำเภอจอมทอง อำเภอแม่แจ่ม อำเภอฮอด อำเภอแม่วาง และอำเภอสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่ แล้วไหลลงสู่แม่น้ำปิง</span><span style=\"color: black; font-family: Tahoma\"><span style=\"font-size: small\"><span lang=\"TH\"></span><o:p></o:p></span></span><strong><span style=\"font-size: small\"><u><span style=\"color: #007700; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000080; background-color: #99ccff\">ลักษณะภูมิอากาศ</span></span></u><span style=\"color: black; font-family: Tahoma\"><o:p></o:p></span></span></strong><span style=\"color: black; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #0000ff\">สภาพภูมิอากาศโดยทั่วไปของพื้นที่อุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์ได้รับอิทธิพลจากลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ที่พัดพาเอาความชุ่มชื้นและเมฆฝนเข้ามาทำให้ฝนตก และลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือที่พัดมาจากประเทศจีนจะนำเอาความหนาวเย็นและความแห้งแล้งเข้ามา ทำให้เกิดฤดูกาลต่างๆ โดยจะมีฤดูร้อนในช่วงระหว่างเดือนมีนาคม-พฤษภาคม ฤดูฝนในช่วงระหว่างเดือนมิถุนายน-พฤศจิกายน และฤดูหนาวในช่วงระหว่างเดือนธันวาคม-กุมภาพันธ์ สลับกันไป แต่เนื่องจากพื้นที่อุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์มีความหลากหลายทางด้านระดับความสูง ทำให้ลักษณะอากาศในแต่ละพื้นที่มีความแตกต่างกันอย่างมาก โดยจะมีลักษณะของสภาพอากาศแบบเขตร้อนในตอนล่างของพื้นที่ที่ระดับความสูงจากน้ำทะเลต่ำกว่า</span></span></span><span style=\"color: black; font-family: Tahoma\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #0000ff\"> 1,000 <span lang=\"TH\">เมตรลงมา มีสภาพอากาศแบบกึ่งเขตร้อนในบริเวณตอนกลางของพื้นที่ที่มีระดับความสูงจากน้ำทะเลระหว่าง</span> 1,000-<st1:metricconverter ProductID=\"2,000 เมตร\" w:st=\"on\">2,000 <span lang=\"TH\">เมตร</span></st1:metricconverter><span lang=\"TH\"> และมีสภาพอากาศแบบเขตอบอุ่นในพื้นที่ที่มีระดับความสูงจากน้ำทะเลกว่า </span>2,000 <span lang=\"TH\">เมตรขึ้นไป</span></span></span></span></p>\n<p><span lang=\"TH\">ในพื้นที่สูงตอนบนของอุทยานแห่งชาติ โดยทั่วไปแล้วจะมีสภาพที่ชุ่มชื้นและหนาวเย็นตลอดปี โดยเฉพาะอย่างยิ่งบริเวณยอดดอยอินทนนท์ซึ่งมีลักษณะเป็นสันเขาและยอดเขา จะมีกระแสลมที่พัดแรงและมีสภาพอากาศที่หนาวเย็นมาก และในช่วงวันที่หนาวจัดในช่วงเดือนธันวาคม-มกราคม อุณหภูมิจะลดต่ำลงถึง </span>0-<st1:metricconverter ProductID=\"4 องศาเซลเซียส\" w:st=\"on\">4 <span lang=\"TH\">องศาเซลเซียส</span></st1:metricconverter><span lang=\"TH\"> และจะมีน้ำค้างแข็งเกิดขึ้น ที่ระดับกลางของอุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์ สภาพอากาศโดยทั่วไปจะมีลักษณะค่อนข้างเย็นและชื้น อุณหภูมิเฉลี่ยตลอดปีประมาณ </span><st1:metricconverter ProductID=\"20 องศาเซลเซียส\" w:st=\"on\">20 <span lang=\"TH\">องศาเซลเซียส</span></st1:metricconverter><span lang=\"TH\"> ในช่วงฤดูหนาวในเดือนธันวาคม-มกราคม อุณหภูมิเฉลี่ยจะอยู่ระหว่าง</span> 15-<st1:metricconverter ProductID=\"17 องศาเซลเซียส\" w:st=\"on\">17 <span lang=\"TH\">องศาเซลเซียส</span></st1:metricconverter><span lang=\"TH\"> ปริมาณน้ำฝนเฉลี่ย </span>2,000-2,100 <span lang=\"TH\">มิลลิเมตร/ต่อปี สำหรับในพื้นที่ที่มีระดับความสูงตั้งแต่ </span>1,800 <span lang=\"TH\">เมตรขึ้นไป จะมีสภาพอากาศที่เย็นและชุ่มฉ่ำอยู่ ทั้งนี้เพราะจะเป็นระดับความสูงของเมฆหมอก ทำให้สภาป่ามีเมฆและหมอกปกคลุมเกือบตลอดปี</span> </p>\n<p>\n<span style=\"color: black; font-family: Tahoma\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #0000ff\"><span lang=\"TH\"></span></span></span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: black; font-family: Tahoma\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #0000ff\"><span lang=\"TH\"><img border=\"0\" width=\"600\" src=\"/files/u19253/chm_att130003006.jpg\" height=\"375\" style=\"width: 386px; height: 299px\" /></span></span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: black; font-family: Tahoma\"><span style=\"font-size: small\"><span lang=\"TH\"><span style=\"font-family: Tahoma\"><o:p><span style=\"font-size: small; color: #000000\"> </span></o:p></span> </span></span></span></p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 12pt; color: #333333; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: 12pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">ที่มาภาพ</span></span><a href=\"http://www.siamfreestyle.com/images/content_images/attraction_images/chm/chm_att130003006.jpg\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"text-decoration: none; text-underline: none\" lang=\"EN-US\">http://www.siamfreestyle.com/images/content_images/attraction_images/chm/chm_att</span><span style=\"text-decoration: none; text-underline: none\">130003006.</span><span style=\"text-decoration: none; text-underline: none\" lang=\"EN-US\">jpg</span></span></a></span><a href=\"http://www.siamfreestyle.com/images/content_images/attraction_images/chm/chm_att130003006.jpg\"></a>\n</p>\n<p><span style=\"color: black; font-family: Tahoma\"><span style=\"font-size: small\"><span lang=\"TH\"></span><o:p></o:p></span></span><strong><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000080\"><span style=\"background-color: #99ccff\"><u><span style=\"color: #007700; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\">พรรณไม้และสัตว์ป่า</span></u><span style=\"color: black; font-family: Tahoma\"><o:p></o:p></span></span></span></span></strong><span><span style=\"font-size: small\"><strong><span style=\"color: #000080; background-color: #99ccff\">ป่าเต็งรัง</span></strong> <span style=\"color: #666699\">พบกระจายทั่วๆไปในพื้นที่รอบๆ อุทยานแห่งชาติในระดับความสูงจากน้ำทะเล </span></span></span><span style=\"color: black; font-family: Tahoma\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #666699\">400-<st1:metricconverter ProductID=\"750 เมตร\" w:st=\"on\">750 <span lang=\"TH\">เมตร</span></st1:metricconverter><span lang=\"TH\"> ตามเนินเขาหรือสันเขาที่แห้งแล้ง หรือตามด้านลาดทิศตะวันตกและทิศใต้ของอุทยานแห่งชาติ ชนิดไม้ส่วนใหญ่ประกอบด้วย เต็ง รัง เหียง พลวง ก่อแพะ รกฟ้า รักใหญ่ ยอป่า มะขามป้อม ฯลฯ พืชอิงอาศัยพวกเอื้องแซะ เอื้องมะขาม เอื้องแปรงสีฟัน ฯลฯ นอกจากนี้ยังมีพวกมอส ไลเคน นมตำเลีย เกล็ดนาคราช ฯลฯ ส่วนพืชพื้นล่างจะเป็นไม้พุ่ม หญ้าชนิดต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งหญ้าคา ไม้เถา และพืชล้มลุกชนิดต่างๆ ป่าเบญจพรรณ พบกระจายอยู่ทั่วพื้นที่รอบๆ อุทยานแห่งชาติในชั้นระดับความสูง </span>400-800 <span lang=\"TH\">เมตรจากระดับน้ำทะเล ตามที่ลุ่มหรือตามแนวสองฝั่งของลำห้วย พันธุ์ไม้ที่พบได้แก่ สัก ตะแบก ประดู่ แดง มะเกิ้ม สมอไทย กาสามปีก สลีนก กระบก ซ้อ นอกจากนี้ยังมีไผ่ชนิดต่างๆ พืชอิงอาศัย เช่น เอื้องช้างกระ เอื้องขี้หมา ส่วนพืชพื้นล่างส่วนใหญ่จะเป็นพวกไม้พุ่ม หญ้าคา หญ้าแฝก หญ้าชนิดอื่นๆ ไม้เถา และพืชล้มลุกชนิดต่างๆ</span> <br />\n</span><br />\n<span><strong><span style=\"color: #0000ff; background-color: #99ccff\">ป่าดิบแล้ง</span></strong> <span style=\"color: #800080\">พบกระจายเป็นหย่อมเล็กหย่อมน้อยในระดับความสูง </span></span><span style=\"color: #800080\">400-<st1:metricconverter ProductID=\"1,000 เมตร\" w:st=\"on\">1,000 <span lang=\"TH\">เมตร</span></st1:metricconverter><span lang=\"TH\"> ตามบริเวณหุบเขา ริมลำห้วย และสบห้วยต่างๆ พันธุ์ไม้ที่พบได้แก่ ยางปาย ยางแดง ยางนา ตะเคียนทอง ก่อเดือย ก่อหยุม ก่อลิ้ม ประดู่ส้ม มะไฟป่า ชมพู่น้ำ ไทรย้อย เดื่อหูกวาง พืชพื้นล่างเป็นพืชที่ชอบขึ้นในที่มีความชื้นสูง เช่น กล้วยป่า หญ้าสองปล้อง เหมือดปลาซิว ตองสาด กระชายป่า ข่าลิง ผักเป็ดไทย ออสมันด้า กูด เฟิน ปาล์ม หวายไส้ไก่ หมากป่า และเขือง เป็นต้น</span><o:p></o:p></span></span></span><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #800080\"><span><strong>ป่าดิบเขาตอนล่าง</strong> เป็นป่าที่พบในพื้นที่ที่มีระดับความสูงจากน้ำทะเล</span><span style=\"color: black; font-family: Tahoma\"> 1,000-<st1:metricconverter ProductID=\"1,800 เมตร\" w:st=\"on\">1,800 <span lang=\"TH\">เมตร</span></st1:metricconverter><span lang=\"TH\"> หรือในบริเวณตอนกลางของอุทยานแห่งชาติ ซึ่งส่วนใหญ่จะถูกทำลายจากชาวเขาที่อาศัยอยู่ในพื้นที่ ทำให้มีป่าที่มีอยู่เป็นป่าที่กำลังฟื้นสภาพ หรือป่ารุ่นใหม่ จะมีป่าดิบเขาดั่งเดิมเหลืออยู่บ้างเพียงเล็กน้อย สภาพโดยทั่วไปของป่าดิบเขาในพื้นที่ดอยอิทนนท์จึงมีความหลากหลายขึ้นอยู่กับระบบและวิธีการฟื้นฟูของสังคมพืช ชนิดป่าที่พบที่สำคัญได้แก่ ป่าสนล้วน ป่าก่อผสมสน ป่าก่อ และป่าดิบเขาดั่งเดิม พันธุ์ไม้เด่นที่พบได้แก่ สนสามใบ สารภีดอย เหมือดคนตัวผู้ ก่อแป้น ก่อใบเลื่อม กอเตี้ย ก่อแดง ก่อตาหมูหลวง ก่อนก ทะโล้ จำปีป่า กำลังเสือโคร่ง กล้วยฤาษี นมวัวดอย ฯลฯ</span></span></span></span><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: black; font-family: Tahoma\"><span lang=\"TH\"></span><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: small\"><span><strong><span style=\"color: #0000ff; background-color: #99ccff\">ป่าดิบเขาตอนบน</span></strong> <span style=\"color: #993366\">ขึ้นอยู่ในพื้นที่ที่มีระดับความสูงจากน้ำทะเล </span></span><span style=\"color: black; font-family: Tahoma\"><span style=\"color: #993366\">1,800 <span lang=\"TH\">เมตรขึ้นไป สามารถแบ่งออกได้เป็น ป่าดงดิบ-ป่าก่อชื้น ป่าดงดิบ เขตอบอุ่น และป่าพรุเขตอบอุ่น สภาพโดยทั่วไปเป็นป่าที่มีต้นไม้สูงใหญ่ และหลายแห่งจะมีลักษณะของป่าดึกดำบรรพ์ พืชพื้นล่างจะไม่แน่นทึบ ทำให้ตามกิ่ง ยอด และลำต้นของไม้ในป่าจะมีมอส กล้วยไม้ เฟิน กุหลาบพันปี สำเภาแดง ขึ้นปกคลุม พันธุ์ไม้ในป่าดิบเขาหรือป่าก่อชื้นได้แก่ ก่อดาน ก่อแอบ จำปีหลวง แกง นางพญาเสือโคร่ง กะทัง นอกจากนี้ยังมีไม้พุ่มและไม้เกาะเกี่ยวเช่น คำขาว กุหลาบขาว คำแดง และยังมีต้นโพสามหาง กระโถนฤาษี เป็นต้น ในบริเวณแอ่งน้ำและรอบๆ ป่าพรุจะมีหญ้าชนิดต่างๆ ขึ้นอยู่ เช่น บัวทอง พญาดง เทียน ผักหนอกดอย มะ แหลบ วาสุกรี บันดงเหลือง ต่างไก่ป่า กุง กูดขน ฯลฯ และบริเวณชายขอบป่าพรุจะมีกุหลาบพันปีสีแดง ซึ่งเป็นสายพันธุ์ที่พบเฉพาะบนยอดดอยอินทนนท์เท่านั้น</span><o:p></o:p></span></span></span><span style=\"font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small; color: #000000\"><span style=\"color: #993366\">สัตว์ป่าในบริเวณอุทยานแห่งชาติที่นี้มีจำนวนลดลงไปมาก</span> </span></span><span style=\"font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small; color: #000000\"><span style=\"color: #800000\">เนื่องจากถูกชาวเขาเผ่าต่างๆ ล่าเป็นอาหาร และป่าซึ่งเป็นที่อยู่อาศัยถูกถางลงมาก ทำให้สัตว์ใหญ่บางชนิดหมดไปจากป่านี้ สัตว์ที่เหลืออยู่ส่วนมากเป็นสัตว์ขนาดเล็ก เช่น กระรอก กระแตธรรมดา กระเล็นขนปลายหูสั้น อ้นเล็ก เม่นหางพวง อีเห็นข้างลาย ชะมดแผงสันหางดำ นกแซงแซวเล็กเหลือบ นกปรอดหัวสีเขม่า นกเด้าดินทุ่ง เหยี่ยว เพเรกริน ไก่ฟ้าหลังขาว นกเงือกคอแดง นกพญาไฟสีกุหลาบ กิ้งก่าหัวสีฟ้า จิ้งเหลนเรียวจุดดำ ตุ๊กแกบ้าน งูลายสอคอแดง กบห้วยสีข้างดำ เขียดหนอง อึ่งกราย คางคกเล็ก ปาดแคระฯลฯ แต่อย่างไรก็ตาม พื้นที่อุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์ยังคงความสำคัญในด้านของการเป็นแหล่งของนกป่าที่สำคัญของประเทศไทย และเป็นแหล่งของสัตว์ป่าที่หายาก และมีอยู่เฉพาะถิ่นอยู่หลายชนิด ที่สำคัญได้แก่ หนูหญ้าดอย กระท่าง เต่าปูลู นกศิวะหางสีน้ำตาล นกปีกสั้นสีนำเงิน นกกระจิ๊ดคอสีเทา และนกกินปลีหางยาว</span></span></span><span style=\"color: black; font-family: Tahoma\"><o:p></o:p></span> </p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"right\">\n<a href=\"/node/41891\"><img border=\"0\" width=\"81\" src=\"/files/u19253/icon_home.png\" height=\"81\" /></a>\n</p>\n', created = 1719635939, expire = 1719722339, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:80e7259406c605770aca291de82d2042' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

อุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์

อุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์

ที่มาภาพ http://mail.ctc.ru.ac.th/d407/group5/imag/27.jpg

อุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์ ประกาศเป็นอุทยานฯ เมื่อ พ.ศ.2515 ประกาศเป็นอุทยานฯ เป็นลำดับที่ 6 ของประเทศไทย มีพื้นที่ 482.4 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ในเขตอำเภอจอมทอง อำเภอแม่แจ่มอำเภอแม่วาง และกิ่งอำเภอดอยหล่อ จังหวัดเชียงใหม่ ดอยอินทนนท์แต่เดิมดอยนี้มีชื่อว่า "ดอยหลวง" หรือ "ดอยอ่างกา" ดอยหลวง มาจากขนาดของดอยที่ใหญ่มาก ชาวบ้านจึงเรียกกันว่า "ดอยหลวง" (หลวง: เป็นภาษาเหนือ แปลว่า ใหญ่) ดอยอ่างกา มีเรื่องเล่าว่า ห่างจากยอดดอยไปทางทิศตะวันตกประมาณ 300 เมตร มีหนองน้ำแห่งหนึ่งลักษณะเหมือนอ่าง ฝูงกาจำนวนมากมายมักพากันไปเล่นน้ำที่หนองน้ำแห่งนี้ จึงพากันเรียกว่า "อ่างกา" และภูเขาขนาดใหญ่แห่งนั้นก็เลยเรียกกันว่า "ดอยอ่างกา" แต่ก็มีบางกระแสกล่าวว่า คำว่า "อ่างกา" นั้น
แท้จริงแล้วมาจากภาษาปกาเกอญอ (กะเหรี่ยง) แปลว่า "ใหญ่" เพราะฉะนั้นคำว่า "ดอยอ่างกา" จึงแปลว่าดอยที่มีความใหญ่นั่นเอง

ดอยอินทนนท์ อดีตกาลก่อนป่าไม้ทางภาคเหนืออยู่ในความควบคุมของเจ้าผู้ครองนครต่าง ๆ สมัยพระเจ้าอินทวิชยานนท์ เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ (องค์สุดท้าย) พระองค์ให้ความสำคัญกับป่าไม้อย่างมาก โดยเฉพาะป่าในบริเวณดอยหลวง ทรงรับสั่งว่า หากสิ้นพระชนม์ลงให้นำอัฐิบางส่วนขึ้นไปสร้างสถูปบรรจุไว้บนดอย ดอยนี้จึงมีนามเรียกขานว่า "ดอยอินทนนท์" แต่มีข้อมูลบางกระแสกล่าวว่า ที่ดอยหลวงเรียกว่า ดอยอินทนนท์ นั้น เป็นเพราะเนื่องจากว่าเป็นการให้เกียรติ เจ้าผู้ครองนคร จึงตั้งชื่อจากคำว่า "ดอยหลวง" ซึ่งเป็นชื่อที่มีความซ้ำกับดอยหลวง ของอำเภอเชียงดาว แต่ภายหลังมีชาวเยอรมัน มาทำการสำรวจและวัด ซึ่งปรากฎผลว่า ดอยหลวง หรือดอยอ่างกา ที่อำเภอแม่แจ่มมีความสูงกว่า ดอยหลวง ของอำเภอเชียงดาว จึงเปลี่ยนชื่อใหม่ เพื่อไม่ให้มีความซ้ำซ้อนกัน และเรียกดอยแห่งนี้ว่า "ดอยอินทนนท์" อุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์ เดิมเป็นส่วนหนึ่งของ "ป่าสงวนแห่งชาติดอยอินทนนท์"

ต่อมาได้ถูกสำรวจและจัดตั้งเป็นหนึ่งในสิบสี่ ป่าที่ทางรัฐบาลให้ดำเนินการเป็นอุทยานแห่งชาติ ซึ่งครั้งแรกกรมป่าไม้เสนอให้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์กำหนดพื้นที่อุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์ให้มีพื้นที่ 1,000 ตร.กม. หรือประมาณ 625,000 ไร่ แต่เนื่องจากพื้นที่ชุมชนต่าง ๆ อาศัยอยู่ก่อนหลายชุมชน จึงทำการสำรวจใหม่ และกันพื้นที่ที่ราษฎร อยู่มาก่อน และคาดว่าจะมีปัญหาในอนาคตออก จึงเหลือพื้นที่ที่จะประกาศเป็นอุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์ 270 ตร.กม. หรือประมาณ 168,750 ไร่ ประกาศลงวันที่ 2 ตุลาคม 2515 และในวันที่ 13 มิถุนายน 2521 รัฐบาลประกาศพื้นที่เพิ่มอีกเป็น 482.4 ตร.กม. อำเภอจอมทอง อำเภอแม่แจ่ม อำเภอแม่วาง และกิ่งอำเภอดอยหล่อ มีความสูงจากระดับน้ำทะลปานกลาง 400-2,565.3341 เมตร เป็นภูเขาที่สูงที่สุดในประเทศไทย

สำหรับวัตถุประสงค์ในการกำหนดที่ดินให้เป็นอุทยานแห่งชาติ ตาม พ.ร.บ. อุทยานแห่งชาติ พ.ศ. 2504 หมวด 1 มาตรา 6 ดังนี้ "เมื่อรัฐบาลเห็นสมควรกำหนดบริเวณที่ดินแห่งใดมีสภาพธรรมชาติเป็นที่น่าสนใจ ให้คงอยู่ในสภาพธรรมชาติเดิมเพื่อสงวนไว้เป็นประโยชน์แก่การศึกษาและรื่นรมย์ของประชาชน ก็ให้มีอำนาจกระทำโดยประกาศพระราชกฤษฎีกาด้วยบริเวณที่กำหนดนี้เรียกว่า อุทยานแห่งชาติ"

 

ที่มาภาพ http://www.cvpic.com/uploads/f41352a84c0bcdc6e5862dad54b53f78.jpg

ลักษณะภูมิประเทศสภาพภูมิประเทศประกอบด้วยภูเขาสูงสลับซับซ้อน เป็นส่วนหนึ่งของแนวเขตเทือกเขาถนนธงชัยที่ทอดตัวตามแนวเหนือ-ใต้ ทอดตัวมาจากเทือกเขาหิมาลัยในประเทศเนปาล มีระดับความสูงของพื้นที่อยู่ระหว่าง 400-2,565 เมตรจากระดับน้ำทะเลปานกลาง โดยจุดสูงสุดอยู่ที่ยอดดอยอินทนนท์ ซึ่งเป็นจุดที่สูงสุดในประเทศไทย ยอดเขาที่มีระดับสูงรองลงมา คือ ยอดดอยหัวหมดหลวง สูง 2,330 เมตร ยอดดอยหัวหมดน้อย สูง 1,900 เมตร ยอดดอยหัวเสือ สูง1,881 เมตรจากระดับน้ำทะเล

ลักษณะโครงสร้างทางธรณีของอุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์โดยทั่วไป ประกอบด้วยหินที่มีอายุตั้งแต่ยุคแคมเบรียนขึ้นไป และหินส่วนใหญ่จะเป็นหินไนส์และหินแกรนิต ส่วนหินชนิดอื่นๆ ที่พบจะเป็นหินยุคออร์โดวิเชียนซึ่งได้แก่หินปูน จนถึงยุคเทอร์เซียรี่ได้แก่หินกรวดมน

อุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์เป็นพื้นที่ต้นน้ำลำธารที่สำคัญของแม่น้ำปิง ให้กำเนิดแม่น้ำลำธารหลายสาย ที่สำคัญได้แก่ ลำน้ำแม่วาง ลำน้ำแม่กลาง ลำน้ำแม่ยะ ลำน้ำแม่หอย ลำน้ำแม่แจ่ม และลำน้ำแม่เตี๊ยะ ซึ่งลำน้ำเหล่านี้จะไหลผ่านและหล่อเลี้ยงชุมชนต่างๆ ในเขตอำเภอจอมทอง อำเภอแม่แจ่ม อำเภอฮอด อำเภอแม่วาง และอำเภอสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่ แล้วไหลลงสู่แม่น้ำปิงลักษณะภูมิอากาศสภาพภูมิอากาศโดยทั่วไปของพื้นที่อุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์ได้รับอิทธิพลจากลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ที่พัดพาเอาความชุ่มชื้นและเมฆฝนเข้ามาทำให้ฝนตก และลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือที่พัดมาจากประเทศจีนจะนำเอาความหนาวเย็นและความแห้งแล้งเข้ามา ทำให้เกิดฤดูกาลต่างๆ โดยจะมีฤดูร้อนในช่วงระหว่างเดือนมีนาคม-พฤษภาคม ฤดูฝนในช่วงระหว่างเดือนมิถุนายน-พฤศจิกายน และฤดูหนาวในช่วงระหว่างเดือนธันวาคม-กุมภาพันธ์ สลับกันไป แต่เนื่องจากพื้นที่อุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์มีความหลากหลายทางด้านระดับความสูง ทำให้ลักษณะอากาศในแต่ละพื้นที่มีความแตกต่างกันอย่างมาก โดยจะมีลักษณะของสภาพอากาศแบบเขตร้อนในตอนล่างของพื้นที่ที่ระดับความสูงจากน้ำทะเลต่ำกว่า 1,000 เมตรลงมา มีสภาพอากาศแบบกึ่งเขตร้อนในบริเวณตอนกลางของพื้นที่ที่มีระดับความสูงจากน้ำทะเลระหว่าง 1,000-2,000 เมตร และมีสภาพอากาศแบบเขตอบอุ่นในพื้นที่ที่มีระดับความสูงจากน้ำทะเลกว่า 2,000 เมตรขึ้นไป

ในพื้นที่สูงตอนบนของอุทยานแห่งชาติ โดยทั่วไปแล้วจะมีสภาพที่ชุ่มชื้นและหนาวเย็นตลอดปี โดยเฉพาะอย่างยิ่งบริเวณยอดดอยอินทนนท์ซึ่งมีลักษณะเป็นสันเขาและยอดเขา จะมีกระแสลมที่พัดแรงและมีสภาพอากาศที่หนาวเย็นมาก และในช่วงวันที่หนาวจัดในช่วงเดือนธันวาคม-มกราคม อุณหภูมิจะลดต่ำลงถึง 0-4 องศาเซลเซียส และจะมีน้ำค้างแข็งเกิดขึ้น ที่ระดับกลางของอุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์ สภาพอากาศโดยทั่วไปจะมีลักษณะค่อนข้างเย็นและชื้น อุณหภูมิเฉลี่ยตลอดปีประมาณ 20 องศาเซลเซียส ในช่วงฤดูหนาวในเดือนธันวาคม-มกราคม อุณหภูมิเฉลี่ยจะอยู่ระหว่าง 15-17 องศาเซลเซียส ปริมาณน้ำฝนเฉลี่ย 2,000-2,100 มิลลิเมตร/ต่อปี สำหรับในพื้นที่ที่มีระดับความสูงตั้งแต่ 1,800 เมตรขึ้นไป จะมีสภาพอากาศที่เย็นและชุ่มฉ่ำอยู่ ทั้งนี้เพราะจะเป็นระดับความสูงของเมฆหมอก ทำให้สภาป่ามีเมฆและหมอกปกคลุมเกือบตลอดปี

 

ที่มาภาพhttp://www.siamfreestyle.com/images/content_images/attraction_images/chm/chm_att130003006.jpg

พรรณไม้และสัตว์ป่าป่าเต็งรัง พบกระจายทั่วๆไปในพื้นที่รอบๆ อุทยานแห่งชาติในระดับความสูงจากน้ำทะเล 400-750 เมตร ตามเนินเขาหรือสันเขาที่แห้งแล้ง หรือตามด้านลาดทิศตะวันตกและทิศใต้ของอุทยานแห่งชาติ ชนิดไม้ส่วนใหญ่ประกอบด้วย เต็ง รัง เหียง พลวง ก่อแพะ รกฟ้า รักใหญ่ ยอป่า มะขามป้อม ฯลฯ พืชอิงอาศัยพวกเอื้องแซะ เอื้องมะขาม เอื้องแปรงสีฟัน ฯลฯ นอกจากนี้ยังมีพวกมอส ไลเคน นมตำเลีย เกล็ดนาคราช ฯลฯ ส่วนพืชพื้นล่างจะเป็นไม้พุ่ม หญ้าชนิดต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งหญ้าคา ไม้เถา และพืชล้มลุกชนิดต่างๆ ป่าเบญจพรรณ พบกระจายอยู่ทั่วพื้นที่รอบๆ อุทยานแห่งชาติในชั้นระดับความสูง 400-800 เมตรจากระดับน้ำทะเล ตามที่ลุ่มหรือตามแนวสองฝั่งของลำห้วย พันธุ์ไม้ที่พบได้แก่ สัก ตะแบก ประดู่ แดง มะเกิ้ม สมอไทย กาสามปีก สลีนก กระบก ซ้อ นอกจากนี้ยังมีไผ่ชนิดต่างๆ พืชอิงอาศัย เช่น เอื้องช้างกระ เอื้องขี้หมา ส่วนพืชพื้นล่างส่วนใหญ่จะเป็นพวกไม้พุ่ม หญ้าคา หญ้าแฝก หญ้าชนิดอื่นๆ ไม้เถา และพืชล้มลุกชนิดต่างๆ

ป่าดิบแล้ง พบกระจายเป็นหย่อมเล็กหย่อมน้อยในระดับความสูง 400-1,000 เมตร ตามบริเวณหุบเขา ริมลำห้วย และสบห้วยต่างๆ พันธุ์ไม้ที่พบได้แก่ ยางปาย ยางแดง ยางนา ตะเคียนทอง ก่อเดือย ก่อหยุม ก่อลิ้ม ประดู่ส้ม มะไฟป่า ชมพู่น้ำ ไทรย้อย เดื่อหูกวาง พืชพื้นล่างเป็นพืชที่ชอบขึ้นในที่มีความชื้นสูง เช่น กล้วยป่า หญ้าสองปล้อง เหมือดปลาซิว ตองสาด กระชายป่า ข่าลิง ผักเป็ดไทย ออสมันด้า กูด เฟิน ปาล์ม หวายไส้ไก่ หมากป่า และเขือง เป็นต้น
ป่าดิบเขาตอนล่าง เป็นป่าที่พบในพื้นที่ที่มีระดับความสูงจากน้ำทะเล 1,000-1,800 เมตร หรือในบริเวณตอนกลางของอุทยานแห่งชาติ ซึ่งส่วนใหญ่จะถูกทำลายจากชาวเขาที่อาศัยอยู่ในพื้นที่ ทำให้มีป่าที่มีอยู่เป็นป่าที่กำลังฟื้นสภาพ หรือป่ารุ่นใหม่ จะมีป่าดิบเขาดั่งเดิมเหลืออยู่บ้างเพียงเล็กน้อย สภาพโดยทั่วไปของป่าดิบเขาในพื้นที่ดอยอิทนนท์จึงมีความหลากหลายขึ้นอยู่กับระบบและวิธีการฟื้นฟูของสังคมพืช ชนิดป่าที่พบที่สำคัญได้แก่ ป่าสนล้วน ป่าก่อผสมสน ป่าก่อ และป่าดิบเขาดั่งเดิม พันธุ์ไม้เด่นที่พบได้แก่ สนสามใบ สารภีดอย เหมือดคนตัวผู้ ก่อแป้น ก่อใบเลื่อม กอเตี้ย ก่อแดง ก่อตาหมูหลวง ก่อนก ทะโล้ จำปีป่า กำลังเสือโคร่ง กล้วยฤาษี นมวัวดอย ฯลฯป่าดิบเขาตอนบน ขึ้นอยู่ในพื้นที่ที่มีระดับความสูงจากน้ำทะเล 1,800 เมตรขึ้นไป สามารถแบ่งออกได้เป็น ป่าดงดิบ-ป่าก่อชื้น ป่าดงดิบ เขตอบอุ่น และป่าพรุเขตอบอุ่น สภาพโดยทั่วไปเป็นป่าที่มีต้นไม้สูงใหญ่ และหลายแห่งจะมีลักษณะของป่าดึกดำบรรพ์ พืชพื้นล่างจะไม่แน่นทึบ ทำให้ตามกิ่ง ยอด และลำต้นของไม้ในป่าจะมีมอส กล้วยไม้ เฟิน กุหลาบพันปี สำเภาแดง ขึ้นปกคลุม พันธุ์ไม้ในป่าดิบเขาหรือป่าก่อชื้นได้แก่ ก่อดาน ก่อแอบ จำปีหลวง แกง นางพญาเสือโคร่ง กะทัง นอกจากนี้ยังมีไม้พุ่มและไม้เกาะเกี่ยวเช่น คำขาว กุหลาบขาว คำแดง และยังมีต้นโพสามหาง กระโถนฤาษี เป็นต้น ในบริเวณแอ่งน้ำและรอบๆ ป่าพรุจะมีหญ้าชนิดต่างๆ ขึ้นอยู่ เช่น บัวทอง พญาดง เทียน ผักหนอกดอย มะ แหลบ วาสุกรี บันดงเหลือง ต่างไก่ป่า กุง กูดขน ฯลฯ และบริเวณชายขอบป่าพรุจะมีกุหลาบพันปีสีแดง ซึ่งเป็นสายพันธุ์ที่พบเฉพาะบนยอดดอยอินทนนท์เท่านั้นสัตว์ป่าในบริเวณอุทยานแห่งชาติที่นี้มีจำนวนลดลงไปมาก เนื่องจากถูกชาวเขาเผ่าต่างๆ ล่าเป็นอาหาร และป่าซึ่งเป็นที่อยู่อาศัยถูกถางลงมาก ทำให้สัตว์ใหญ่บางชนิดหมดไปจากป่านี้ สัตว์ที่เหลืออยู่ส่วนมากเป็นสัตว์ขนาดเล็ก เช่น กระรอก กระแตธรรมดา กระเล็นขนปลายหูสั้น อ้นเล็ก เม่นหางพวง อีเห็นข้างลาย ชะมดแผงสันหางดำ นกแซงแซวเล็กเหลือบ นกปรอดหัวสีเขม่า นกเด้าดินทุ่ง เหยี่ยว เพเรกริน ไก่ฟ้าหลังขาว นกเงือกคอแดง นกพญาไฟสีกุหลาบ กิ้งก่าหัวสีฟ้า จิ้งเหลนเรียวจุดดำ ตุ๊กแกบ้าน งูลายสอคอแดง กบห้วยสีข้างดำ เขียดหนอง อึ่งกราย คางคกเล็ก ปาดแคระฯลฯ แต่อย่างไรก็ตาม พื้นที่อุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์ยังคงความสำคัญในด้านของการเป็นแหล่งของนกป่าที่สำคัญของประเทศไทย และเป็นแหล่งของสัตว์ป่าที่หายาก และมีอยู่เฉพาะถิ่นอยู่หลายชนิด ที่สำคัญได้แก่ หนูหญ้าดอย กระท่าง เต่าปูลู นกศิวะหางสีน้ำตาล นกปีกสั้นสีนำเงิน นกกระจิ๊ดคอสีเทา และนกกินปลีหางยาว

 

 

สร้างโดย: 
อ.ปาลิดา สวนชัง เเละ น.ส. ณัฐกานด์ พูนเพิ่มทรัพย์

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 286 คน กำลังออนไลน์