• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:2e373d51abceefe5f8f56af51bd6e846' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #ff99cc\"><strong><span style=\"color: #800000\"></span></strong></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #ff99cc\"><strong><span style=\"color: #800000\"> ความหมายของ “วรรณคดี” และ “วรรณกรรม”</span></strong> </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/47105\"><img height=\"306\" width=\"300\" src=\"/files/u20264/icon-home5_0.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 130px; height: 122px\" /></a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/47161\"><img height=\"300\" width=\"350\" src=\"/files/u20264/next2.gif\" border=\"0\" style=\"width: 204px; height: 142px\" /></a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"background-color: #ff99cc\"><span style=\"background-color: #ffffff\"></span>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"background-color: #ffffcc\"></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"background-color: #ffffcc\"></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"background-color: #ffffcc\"></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"background-color: #ffffcc\"></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"background-color: #ffffcc\"></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"background-color: #ffffff\"></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"background-color: #ffffff\"></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"background-color: #ffffff\"></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"background-color: #ffffff\"><span style=\"background-color: #ffffcc\"><img height=\"446\" width=\"300\" src=\"/files/u20264/2_0.jpg\" border=\"0\" /></span></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"background-color: #ffffff\"><span style=\"background-color: #ffffcc\"></span></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"background-color: #ffffff\"><span style=\"background-color: #ffffcc\"></span></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"background-color: #ffffff\"><span style=\"background-color: #ffffcc\">ที่มารูปภาพ  </span></span><a href=\"http://www.oknation.net/blog/home/blog_data/480/32480/blog_entry1/blog/2009-04-30/comment/433859_images/16_1241106003.jpg\"><span style=\"background-color: #ffffff\"><span style=\"background-color: #ffffcc\">http://www.oknation.net/blog/home/blog_data/480/32480/blog_entry1/blog/2009-04-30/comment/433859_images/16_1241106003.jpg</span></span></a><span style=\"background-color: #ffffcc\"><span style=\"background-color: #ffffcc\"> </span></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"background-color: #ffffcc\"></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"background-color: #ffffcc\"></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"background-color: #ffffcc\"></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"background-color: #ffffcc\"></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"background-color: #ffffcc\"></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"background-color: #ffffcc\"></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"background-color: #ffffcc\"></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"background-color: #ffffcc\"></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"background-color: #ffffcc\"></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"background-color: #ffffcc\"></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"background-color: #ffffcc\"></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"background-color: #ffffcc\"></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"background-color: #ffffff\"></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"background-color: #ffffff\"></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n คำว่า <span style=\"background-color: #ff99cc; color: #800000\"><strong>“วรรณคดี”</strong></span> และ <span style=\"background-color: #ff99cc; color: #800000\"><strong>“วรรณกรรม”</strong></span> เป็นคำที่มักใช้ปะปนกันและมีผู้ให้คำนิยมทั้งในความหมายกว้างและความยาวแคบ\n</div>\n<p></p></span>\n</div>\n<p>\n          คำ <span style=\"background-color: #ff99cc; color: #800000\"><strong>“วรรณคดี”</strong></span>เป็นแนวคิดที่คนไทยรับมาจากชาติตะวันตก ก่อนหน้านี้เรามักใช้คำว่า “หนังสือ” หรือมิฉะนั้นก็เรียกชื่อหนังสือประกอบกับลักษณะคำประพันธ์ของหนังสือ เช่น เสือโคคำฉันท์ กากีกลอนสุภาพ กาพย์พระไชยสุริยา เป็นต้น\n</p>\n<p>\n         คำว่า <span style=\"background-color: #ff99cc; color: #800000\"><strong>“วรรณคดี”</strong></span> ปรากฏขึ้นเป็นครั้งแรกในสมัยรัชกาลที่ 5 แค่เริ่มใช้เป็นทางการในสมัยรัชกาลที่ 6 หมายถึง หนังสือที่แต่งขึ้นในสมัยใดก็ได้ที่แต่งเป็นร้อยกรองหรือร้อยแก้วก็ได้ <br />\nยกเว้นตำราแบบเรียน ความเรียง เรื่องประวัติศาสตร์และโบราณคดี วรรณคดีเป็นหนังสือที่มีเนื้อหาสาระที่เป็นประโยชน์ และใช้ภาษาได้ดี\n</p>\n<p>\nลักษณะเด่นของวรรณคดีไทย จำแนกเป็นข้อๆ ได้ ดังนี้\n</p>\n<p>\n         <span style=\"background-color: #ccffff\"> <strong>1.นิยมด้วยคำประพันธ์ร้อยกรองมากกว่าร้อยแก้ว </strong></span> วรรณคดีร้อยแก้วเพิ่งเริ่มมานิยมในสมัยรัชกาลที่ 4 ก่อนกน้านั้นถือว่านักปราชญ์และลูกผู้ดีมีตระกูลที่เตรียมตัวจะเข้ารับราชการ ต้องเรียนรู้วิธีแต่งคำประพันธ์ด้วยการแต่งหนังสือหรือการแต่งวรรณคดีจึงนิยมแต่งเป็นบทกลอน ลักษณะภาษากาพย์กลอนที่มีสัมผัสคล้องจองสอดคล้องกับลักษณะนิสัยของคนไทยที่ชอบพูดจาคล้องจองกันทำให้เกิดจังหวะของเสียงจังหวะของคำ แม้ภาษาพูดก็มีลีลาเป็นร้อยกรองแบบง่ายๆ เมื่อกวีเลือกสรรถ้อยคำแล้วนำมาเรียบเรียงด้วยกลวิธีอันประณีตตามรูปแบบของลักษณะคำประพันธ์แต่ละชนิด ได้แก่ กาพย์ กลอน โคลง ฉันท์ ก็ยิ่งทำให้ความไพเราะของภาษามีมากยิ่งขึ้น\n</p>\n<p>\n<br />\n         <strong><span style=\"background-color: #ccffff\"> 2</span><span style=\"background-color: #ccffff\">. เน้นความประณีตของคำและสำนวนโวหาร ภาษาที่ใช้ในวรรณคดีไม่เหมือนภาษาพูดทั่วไป </span></strong> คือ เป็นภาษาที่มีการเลือกใช้ถ้อยคำตกแต่งถ้อยคำให้หรูหรา มีการสร้างคำที่มีความหมายอย่างเดียวกันที่เรียกว่า คำไวพจน์ โดยใช้รูปศัพท์ต่างๆ กัน เพื่อมิให้เกิดความเบื่อหน่ายจำเจ <br />\n         นอกจากนั้นยังมีการใช้ภาษาสัญลักษณ์ เช่น ใช้คำ ดวงจันทร์ บุปผา มาลี เยาวมาลย์ แทนคำว่า “ผู้หญิง” เป็นต้น<br />\nการที่กวีไทยมุ่งเน้นความงาม ความไพเราะของคำทำให้กวีนิยมเล่นคำ เล่นสัมผัส เช่น นิราศเมืองแกลงของสุนทรภู่ บทนี้เล่นเสียง /ร/ และ /ว/ <br />\n         นอกจากนี้กวีไทยยังมุ่งแสดงฝีมือในการสร้างสำนวนโวหารเปรียบเทียบโดยการใช้ภาพพจน์เพื่อสื่อภาพในจินตนาการ ซึ่งให้ความรู้สึกลึกซึ้งกว่าภาพปกติที่ตาเห็น เช่น กวีเห็นต้นลำพูริมน้ำมีฝูงหิ่งห้อยจับอยู่ดูสวยงาม แสงแวววามของหิ่งห้อยโยงให้กวีคิดถึงแหวนที่นิ้วก้อยของนางผู้เป็นที่รัก\n</p>\n<p>\n<br />\n       <span style=\"background-color: #ccffff\"><strong>  3. เน้นการแสดงความรู้สึกที่สะเทือนอารมณ์จาการรำพันความรู้สึก </strong></span>  ตัวละครในเรื่องจะรำพันความรู้สึกต่างๆ เช่น รัก เศร้า โกรธ ฯลฯ เป็นคำกลอนยางหลายคำกลอน  ในงานประเภทนิราศกวีถ่ายทอดความรู้สึกสะเทือนใจได้เต็มที่ กวีมักพรรณนาธรรมชาติไปตามอารมณ์ของตน ธรรมชาติจึงเป็นส่วนประกอบสำคัญในการถ่ายทอดความรู้สึกสะเทือนอารมณ์ของกวี ในผลงานประเภทนี้จึงมักเน้นความรู้สึกมากกว่าภาพที่เห็นได้ด้วยตา  การที่กวีไทยเน้นอารมณ์มากกว่าแนวคิดทำให้วรรณคดีไทยไม่นิยมเสนอปัญหาหรือเสนอเนื้อหาที่มุ่งแสดงความคิดเกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่ง หรือมุ่งแสดงความคิดเห็นขัดแย้ง\n</p>\n<p>\n<br />\n       <span style=\"background-color: #ccffff\"><strong>  4. มีขนบการแต่ง </strong></span>  กล่าวคือ มีวิธีแต่งที่นิยมปฏิบัติแนวเดียวกันมาแต่โบราณ ได้แก่ ขึ้นต้นเรื่องด้วยการกล่าวคำไหว้ครู คือ ไหว้เทวดา ไหว้พระรัตนตรัย ไหว้ครูบาอาจารย์ สรรเสริญพระเกียรติคุณของพระหมากษัตริย์ หรือกล่าวชมบ้านเมือง  ในวรรณคดีไทยหลายเรื่องมักบอกชื่อผู้แต่งและจุดประสงค์ในการแต่ง  อนึ่ง สำหรับการบอกชื่อผู้แต่งวรรณคดีรุ่นเก่าก่อนสมัยรัตนโกสินทร์กวีไม่นิยมระบุชื่อ เพราะถือว่าเป็นการแต่งถวายเจ้านายหรือเพื่อสืบพระศาสนา<br />\n         ในด้านการดำเนินเรื่อง มีการบรรยายและพรรณนาฉากต่างๆ และความรู้สึกต่างๆ ด้วยสำนวนโวหารที่คล้ายคลึงกัน เช่น บทชมธรรมชาติ บทชมความงามของตัวละคร และบทคร่ำครวญต่างๆ  การเลียนแบบสำนวนจนกลายเป็นขนบการแต่งวรรณคดีดังตัวอย่างข้างต้นนี้ แสดงลักษณะการยึดแนวการแต่งของครูเป็นต้นแบบ กวีเห็นว่าสำนวนครูเป็นสำนวนดีเยี่ยม จึงยกมาเป็นแบบอย่างด้วยความเคารพ ด้วยความนับถือในฝีมือ มีการถ่อมตัวว่าฝีมือการประพันธ์ของตนถึงจะแต่งขึ้นใหม่ก็ไม่อาจแต่งได้ไพเราะเท่ากวีรุ่นก่อน จึงนิยมเลียนแบบหรือทำตามแบบมากกว่าจะริเริ่มสร้างสรรค์ลักษณะเฉพาะตัวขึ้นใหม่\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<img height=\"37\" width=\"600\" src=\"/files/u20264/087.gif\" border=\"0\" style=\"width: 638px; height: 37px\" />\n</p>\n<p><!--pagebreak--><!--pagebreak--></p><p>      \n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"494\" width=\"400\" src=\"/files/u20264/22.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 315px; height: 381px\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #009f4f\">ที่มารูปภาพ  </span><a href=\"http://i260.photobucket.com/albums/ii21/watchari/Picture063.jpg\">http://i260.photobucket.com/albums/ii21/watchari/Picture063.jpg</a>\n</div>\n<p>\n       <span style=\"background-color: #ccffff\"><strong>  5. วรรณคดีไทยมีเนื้อหาเกี่ยวเนื่องกับชนชั้นสูงมากกว่าคนสามัญ </strong></span> ตัวละครเอกมักเป็นกษัตริย์และชนชั้นสูง คุณสมบัติสำคัญของตัวเอกจะเน้นที่บุญญาธิการซึ่งเป็นผลมาจาก &quot;บารมี&quot; ที่ได้ทำไว้ทั้งในชาตินี้และชาติก่อน (อดีตชาติ) การที่เป็นดังนี้เนื่องจากในอดีตสถาบันกษัตริย์เป็นศูนย์รวมแห่งอำนาจวัฒนธรรมและความอยู่รอดของชาติบ้านเมืองจะดีหรือไม่ดีขึ้นอยู่กับกษัตริย์เป็นสำคัญ\n</p>\n<p>\n       <span style=\"background-color: #ccffff\"><strong>  6. แนวคิดสำคัญที่พบในวรรณคดีไทยโดยทั่วไปเป็นแนวคิดแบบพุทธปรัชญาง่ายๆ </strong></span> เช่น แนวคิดเรื่องทำดีได้ดี ทำชั่วได้ชั่ว แนวคิดเรื่องความไม่เที่ยงของสรรพสิ่ง (อนิจจัง) แนวคิดเรื่อง ความกตัญญู แนวคิดเรื่องความจงรักภักดี แนวคิดเรื่องความรักและการพลัดพราก เป็นต้น\n</p>\n<p>\n      <span style=\"background-color: #ccffff\"> </span><strong><span style=\"background-color: #ccffff\"> 7. เนื้อเรื่องที่รับมาจากวรรณกรรมต่างชาติจะได้รับการดัดแปลงให้เข้ากับวัฒนธรรมไทย </span></strong> เช่นบทละครเรื่องอิเหนา แม้เนื้อเรื่องจะเป็นนิยายชวา มีคำศัพท์ภาษาชวาติดมาด้วย แต่ฉากสถานที่วัฒนธรรมประเพณี และค่านิยมต่างๆ ได้รับการปรับเปลี่ยนให้เป็นแบบไทย\n</p>\n<p>\n       <span style=\"background-color: #ccffff\"><strong>  8. ในวรรณคดีไทยมีลักษณะเป็นวรรณคดีสำหรับอ่าน </strong></span> แม้จะใช้กลอนบทละครในการเดินเรื่องแต่ที่จริงแล้วมีลักษณะเป็นวรรณคดีสำหรับอ่าน แบบเดียวกับหนังสือนิทานคำกลอนอื่นๆ เนื่องจากมีการพรรณนาความยืดยาว ให้รายละเอียดต่างๆ เพื่อให้ผู้อ่านได้ภาพชัดเจน การแต่งก็เน้นความไพเราะของคำ ดังนั้นเมื่อจะนำไปใช้เป็นบทแสดง จะต้องปรับเปลี่ยนบทเสียใหม่เพื่อให้กระชับขึ้น ถ่ายทอดเป็นท่ารำได้ จึงไม่จำเป็นต้องเน้นความไพเราะของคำมากนัก ดังเราจะพบว่า บทละครเรื่องรามเกียรติ์ สมัยรัชกาลที่ 1 มีเนื้อความสมบูรณ์ครบถ้วน แต่ไม่เหมาะที่จะนำมาแสดงละคร\n</p>\n<p>\n        <span style=\"background-color: #ccffff\"> </span><strong><span style=\"background-color: #ccffff\"><span style=\"background-color: #ccffff\"> </span>9. ในวรรณคดีไทยมักมีบทอัศจรรย์แทรกอยู่ด้วย </span></strong> เรื่องของความรักและเพศสัมพันธ์เป็นธรรมชาติอย่างหนึ่งของมนุษย์ ในหารพรรณนาฉากรักฉากพิศวาสของตัวละครหญิงชาย กวีไทยไม่นิยมกล่าวตรงไปตรงมา แต่จะกล่าวถึงโดยใช้กลวิธีการเปรียบเทียบหรือใช้สัญลักษณ์แทน บทนี้เรียกกันว่า “บทอัศจรรย์” กล่าวคือ กวีใช้ธรรมชาติเป็นสัญลักษณ์แทนการแสดงพฤติกรมทางเพศ บทอัศจรรย์จึงเป็นบทที่ต้องใช้ความสามารถในการแต่ง เพื่อให้เป็นงานทางศิลปะมิใช่อนาจาร\n</p>\n<p>\n        <span style=\"background-color: #ccffff\"><strong>10. วรรณคดีไทยมักแทรกวามเชื่อและค่านิยมของ<span style=\"background-color: #ccffff\">ไทยไว้ด้วยเสมอ</span><span style=\"background-color: #ccffff\"> </span></strong></span><br />\nนอกจากความเชื่อดั้งเดิมแล้ว จะเห็นได้ว่า ความเชื่อของคนไทยยังมีที่มาจากพระพุทธศาสนา จากคำประพันธ์ข้างต้นแสดงตามความเชื่อในเรื่องการเวียนว่ายตายเกิด\n</p>\n<p>\n     -     ชาตินี้-ชาติหน้าตามแบบชาวพุทธ ผู้พูดอธิษฐานว่า เมื่อตายไปแล้วขอให้ได้เกิดใหม่และพบกันใหม่ในสวรรค์ ท้ายสุดได้มุ่งความปรารถนาไปสู่นิพพานซึ่งเป็นความปรารถนาสูงสุดของชาวพุทธ<br />\n     -     ในวรรณคดีไทยเราจะพบความเชื่อที่ผสมปนเปกันระหว่างไสยศาสตร์ตามคติดั้งเดิมกับความเชื่อในพระพุทธศาสนา ทั้งนี้เป็นผลสืบเนื่องมาจากการนับถือพุทธศาสนาแบบไทยซึ่งผสมผสานความเชื่อดังกล่างเข้าด้วยกัน<br />\n    -      ลักษณะต่างๆ ดังที่กล่าวมาข้างต้น นับเป็นลักษณะเด่นของวรรณคดีไทย ซึ่งผู้เรียนควรเรียนรู้และเข้าใจเพื่อจะอ่านวรณคดีไทยได้อย่างซาบซึ้งต่อไป\n</p>\n<p>\n<img height=\"32\" width=\"600\" src=\"/files/u20264/036.gif\" border=\"0\" style=\"width: 636px; height: 32px\" />\n</p>\n<p>\n<br />\nที่มา 1. <a href=\"http://library.uru.ac.th/webdb/images/tuy1.htm\">http://library.uru.ac.th/webdb/images/tuy1.htm</a>\n</p>\n', created = 1714988493, expire = 1715074893, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:2e373d51abceefe5f8f56af51bd6e846' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:99212afb2fa4b28b7b69a496115f3816' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #ff99cc\"><strong><span style=\"color: #800000\"></span></strong></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #ff99cc\"><strong><span style=\"color: #800000\"> ความหมายของ “วรรณคดี” และ “วรรณกรรม”</span></strong> </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/47105\"><img height=\"306\" width=\"300\" src=\"/files/u20264/icon-home5_0.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 130px; height: 122px\" /></a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/47161\"><img height=\"300\" width=\"350\" src=\"/files/u20264/next2.gif\" border=\"0\" style=\"width: 204px; height: 142px\" /></a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"background-color: #ff99cc\"><span style=\"background-color: #ffffff\"></span>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"background-color: #ffffcc\"></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"background-color: #ffffcc\"></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"background-color: #ffffcc\"></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"background-color: #ffffcc\"></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"background-color: #ffffcc\"></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"background-color: #ffffff\"></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"background-color: #ffffff\"></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"background-color: #ffffff\"></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"background-color: #ffffff\"><span style=\"background-color: #ffffcc\"><img height=\"446\" width=\"300\" src=\"/files/u20264/2_0.jpg\" border=\"0\" /></span></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"background-color: #ffffff\"><span style=\"background-color: #ffffcc\"></span></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"background-color: #ffffff\"><span style=\"background-color: #ffffcc\"></span></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"background-color: #ffffff\"><span style=\"background-color: #ffffcc\">ที่มารูปภาพ  </span></span><a href=\"http://www.oknation.net/blog/home/blog_data/480/32480/blog_entry1/blog/2009-04-30/comment/433859_images/16_1241106003.jpg\"><span style=\"background-color: #ffffff\"><span style=\"background-color: #ffffcc\">http://www.oknation.net/blog/home/blog_data/480/32480/blog_entry1/blog/2009-04-30/comment/433859_images/16_1241106003.jpg</span></span></a><span style=\"background-color: #ffffcc\"><span style=\"background-color: #ffffcc\"> </span></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"background-color: #ffffcc\"></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"background-color: #ffffcc\"></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"background-color: #ffffcc\"></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"background-color: #ffffcc\"></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"background-color: #ffffcc\"></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"background-color: #ffffcc\"></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"background-color: #ffffcc\"></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"background-color: #ffffcc\"></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"background-color: #ffffcc\"></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"background-color: #ffffcc\"></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"background-color: #ffffcc\"></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"background-color: #ffffcc\"></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"background-color: #ffffff\"></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"background-color: #ffffff\"></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n คำว่า <span style=\"background-color: #ff99cc; color: #800000\"><strong>“วรรณคดี”</strong></span> และ <span style=\"background-color: #ff99cc; color: #800000\"><strong>“วรรณกรรม”</strong></span> เป็นคำที่มักใช้ปะปนกันและมีผู้ให้คำนิยมทั้งในความหมายกว้างและความยาวแคบ\n</div>\n<p></p></span>\n</div>\n<p>\n          คำ <span style=\"background-color: #ff99cc; color: #800000\"><strong>“วรรณคดี”</strong></span>เป็นแนวคิดที่คนไทยรับมาจากชาติตะวันตก ก่อนหน้านี้เรามักใช้คำว่า “หนังสือ” หรือมิฉะนั้นก็เรียกชื่อหนังสือประกอบกับลักษณะคำประพันธ์ของหนังสือ เช่น เสือโคคำฉันท์ กากีกลอนสุภาพ กาพย์พระไชยสุริยา เป็นต้น\n</p>\n<p>\n         คำว่า <span style=\"background-color: #ff99cc; color: #800000\"><strong>“วรรณคดี”</strong></span> ปรากฏขึ้นเป็นครั้งแรกในสมัยรัชกาลที่ 5 แค่เริ่มใช้เป็นทางการในสมัยรัชกาลที่ 6 หมายถึง หนังสือที่แต่งขึ้นในสมัยใดก็ได้ที่แต่งเป็นร้อยกรองหรือร้อยแก้วก็ได้ <br />\nยกเว้นตำราแบบเรียน ความเรียง เรื่องประวัติศาสตร์และโบราณคดี วรรณคดีเป็นหนังสือที่มีเนื้อหาสาระที่เป็นประโยชน์ และใช้ภาษาได้ดี\n</p>\n<p>\nลักษณะเด่นของวรรณคดีไทย จำแนกเป็นข้อๆ ได้ ดังนี้\n</p>\n<p>\n         <span style=\"background-color: #ccffff\"> <strong>1.นิยมด้วยคำประพันธ์ร้อยกรองมากกว่าร้อยแก้ว </strong></span> วรรณคดีร้อยแก้วเพิ่งเริ่มมานิยมในสมัยรัชกาลที่ 4 ก่อนกน้านั้นถือว่านักปราชญ์และลูกผู้ดีมีตระกูลที่เตรียมตัวจะเข้ารับราชการ ต้องเรียนรู้วิธีแต่งคำประพันธ์ด้วยการแต่งหนังสือหรือการแต่งวรรณคดีจึงนิยมแต่งเป็นบทกลอน ลักษณะภาษากาพย์กลอนที่มีสัมผัสคล้องจองสอดคล้องกับลักษณะนิสัยของคนไทยที่ชอบพูดจาคล้องจองกันทำให้เกิดจังหวะของเสียงจังหวะของคำ แม้ภาษาพูดก็มีลีลาเป็นร้อยกรองแบบง่ายๆ เมื่อกวีเลือกสรรถ้อยคำแล้วนำมาเรียบเรียงด้วยกลวิธีอันประณีตตามรูปแบบของลักษณะคำประพันธ์แต่ละชนิด ได้แก่ กาพย์ กลอน โคลง ฉันท์ ก็ยิ่งทำให้ความไพเราะของภาษามีมากยิ่งขึ้น\n</p>\n<p>\n<br />\n         <strong><span style=\"background-color: #ccffff\"> 2</span><span style=\"background-color: #ccffff\">. เน้นความประณีตของคำและสำนวนโวหาร ภาษาที่ใช้ในวรรณคดีไม่เหมือนภาษาพูดทั่วไป </span></strong> คือ เป็นภาษาที่มีการเลือกใช้ถ้อยคำตกแต่งถ้อยคำให้หรูหรา มีการสร้างคำที่มีความหมายอย่างเดียวกันที่เรียกว่า คำไวพจน์ โดยใช้รูปศัพท์ต่างๆ กัน เพื่อมิให้เกิดความเบื่อหน่ายจำเจ <br />\n         นอกจากนั้นยังมีการใช้ภาษาสัญลักษณ์ เช่น ใช้คำ ดวงจันทร์ บุปผา มาลี เยาวมาลย์ แทนคำว่า “ผู้หญิง” เป็นต้น<br />\nการที่กวีไทยมุ่งเน้นความงาม ความไพเราะของคำทำให้กวีนิยมเล่นคำ เล่นสัมผัส เช่น นิราศเมืองแกลงของสุนทรภู่ บทนี้เล่นเสียง /ร/ และ /ว/ <br />\n         นอกจากนี้กวีไทยยังมุ่งแสดงฝีมือในการสร้างสำนวนโวหารเปรียบเทียบโดยการใช้ภาพพจน์เพื่อสื่อภาพในจินตนาการ ซึ่งให้ความรู้สึกลึกซึ้งกว่าภาพปกติที่ตาเห็น เช่น กวีเห็นต้นลำพูริมน้ำมีฝูงหิ่งห้อยจับอยู่ดูสวยงาม แสงแวววามของหิ่งห้อยโยงให้กวีคิดถึงแหวนที่นิ้วก้อยของนางผู้เป็นที่รัก\n</p>\n<p>\n<br />\n       <span style=\"background-color: #ccffff\"><strong>  3. เน้นการแสดงความรู้สึกที่สะเทือนอารมณ์จาการรำพันความรู้สึก </strong></span>  ตัวละครในเรื่องจะรำพันความรู้สึกต่างๆ เช่น รัก เศร้า โกรธ ฯลฯ เป็นคำกลอนยางหลายคำกลอน  ในงานประเภทนิราศกวีถ่ายทอดความรู้สึกสะเทือนใจได้เต็มที่ กวีมักพรรณนาธรรมชาติไปตามอารมณ์ของตน ธรรมชาติจึงเป็นส่วนประกอบสำคัญในการถ่ายทอดความรู้สึกสะเทือนอารมณ์ของกวี ในผลงานประเภทนี้จึงมักเน้นความรู้สึกมากกว่าภาพที่เห็นได้ด้วยตา  การที่กวีไทยเน้นอารมณ์มากกว่าแนวคิดทำให้วรรณคดีไทยไม่นิยมเสนอปัญหาหรือเสนอเนื้อหาที่มุ่งแสดงความคิดเกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่ง หรือมุ่งแสดงความคิดเห็นขัดแย้ง\n</p>\n<p>\n<br />\n       <span style=\"background-color: #ccffff\"><strong>  4. มีขนบการแต่ง </strong></span>  กล่าวคือ มีวิธีแต่งที่นิยมปฏิบัติแนวเดียวกันมาแต่โบราณ ได้แก่ ขึ้นต้นเรื่องด้วยการกล่าวคำไหว้ครู คือ ไหว้เทวดา ไหว้พระรัตนตรัย ไหว้ครูบาอาจารย์ สรรเสริญพระเกียรติคุณของพระหมากษัตริย์ หรือกล่าวชมบ้านเมือง  ในวรรณคดีไทยหลายเรื่องมักบอกชื่อผู้แต่งและจุดประสงค์ในการแต่ง  อนึ่ง สำหรับการบอกชื่อผู้แต่งวรรณคดีรุ่นเก่าก่อนสมัยรัตนโกสินทร์กวีไม่นิยมระบุชื่อ เพราะถือว่าเป็นการแต่งถวายเจ้านายหรือเพื่อสืบพระศาสนา<br />\n         ในด้านการดำเนินเรื่อง มีการบรรยายและพรรณนาฉากต่างๆ และความรู้สึกต่างๆ ด้วยสำนวนโวหารที่คล้ายคลึงกัน เช่น บทชมธรรมชาติ บทชมความงามของตัวละคร และบทคร่ำครวญต่างๆ  การเลียนแบบสำนวนจนกลายเป็นขนบการแต่งวรรณคดีดังตัวอย่างข้างต้นนี้ แสดงลักษณะการยึดแนวการแต่งของครูเป็นต้นแบบ กวีเห็นว่าสำนวนครูเป็นสำนวนดีเยี่ยม จึงยกมาเป็นแบบอย่างด้วยความเคารพ ด้วยความนับถือในฝีมือ มีการถ่อมตัวว่าฝีมือการประพันธ์ของตนถึงจะแต่งขึ้นใหม่ก็ไม่อาจแต่งได้ไพเราะเท่ากวีรุ่นก่อน จึงนิยมเลียนแบบหรือทำตามแบบมากกว่าจะริเริ่มสร้างสรรค์ลักษณะเฉพาะตัวขึ้นใหม่\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<img height=\"37\" width=\"600\" src=\"/files/u20264/087.gif\" border=\"0\" style=\"width: 638px; height: 37px\" />\n</p>\n<p></p>', created = 1714988493, expire = 1715074893, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:99212afb2fa4b28b7b69a496115f3816' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ความหมายของ “วรรณคดี” และ “วรรณกรรม”

 ความหมายของ “วรรณคดี” และ “วรรณกรรม” 

 

 คำว่า “วรรณคดี” และ “วรรณกรรม” เป็นคำที่มักใช้ปะปนกันและมีผู้ให้คำนิยมทั้งในความหมายกว้างและความยาวแคบ

          คำ “วรรณคดี”เป็นแนวคิดที่คนไทยรับมาจากชาติตะวันตก ก่อนหน้านี้เรามักใช้คำว่า “หนังสือ” หรือมิฉะนั้นก็เรียกชื่อหนังสือประกอบกับลักษณะคำประพันธ์ของหนังสือ เช่น เสือโคคำฉันท์ กากีกลอนสุภาพ กาพย์พระไชยสุริยา เป็นต้น

         คำว่า “วรรณคดี” ปรากฏขึ้นเป็นครั้งแรกในสมัยรัชกาลที่ 5 แค่เริ่มใช้เป็นทางการในสมัยรัชกาลที่ 6 หมายถึง หนังสือที่แต่งขึ้นในสมัยใดก็ได้ที่แต่งเป็นร้อยกรองหรือร้อยแก้วก็ได้
ยกเว้นตำราแบบเรียน ความเรียง เรื่องประวัติศาสตร์และโบราณคดี วรรณคดีเป็นหนังสือที่มีเนื้อหาสาระที่เป็นประโยชน์ และใช้ภาษาได้ดี

ลักษณะเด่นของวรรณคดีไทย จำแนกเป็นข้อๆ ได้ ดังนี้

          1.นิยมด้วยคำประพันธ์ร้อยกรองมากกว่าร้อยแก้ว  วรรณคดีร้อยแก้วเพิ่งเริ่มมานิยมในสมัยรัชกาลที่ 4 ก่อนกน้านั้นถือว่านักปราชญ์และลูกผู้ดีมีตระกูลที่เตรียมตัวจะเข้ารับราชการ ต้องเรียนรู้วิธีแต่งคำประพันธ์ด้วยการแต่งหนังสือหรือการแต่งวรรณคดีจึงนิยมแต่งเป็นบทกลอน ลักษณะภาษากาพย์กลอนที่มีสัมผัสคล้องจองสอดคล้องกับลักษณะนิสัยของคนไทยที่ชอบพูดจาคล้องจองกันทำให้เกิดจังหวะของเสียงจังหวะของคำ แม้ภาษาพูดก็มีลีลาเป็นร้อยกรองแบบง่ายๆ เมื่อกวีเลือกสรรถ้อยคำแล้วนำมาเรียบเรียงด้วยกลวิธีอันประณีตตามรูปแบบของลักษณะคำประพันธ์แต่ละชนิด ได้แก่ กาพย์ กลอน โคลง ฉันท์ ก็ยิ่งทำให้ความไพเราะของภาษามีมากยิ่งขึ้น


          2. เน้นความประณีตของคำและสำนวนโวหาร ภาษาที่ใช้ในวรรณคดีไม่เหมือนภาษาพูดทั่วไป  คือ เป็นภาษาที่มีการเลือกใช้ถ้อยคำตกแต่งถ้อยคำให้หรูหรา มีการสร้างคำที่มีความหมายอย่างเดียวกันที่เรียกว่า คำไวพจน์ โดยใช้รูปศัพท์ต่างๆ กัน เพื่อมิให้เกิดความเบื่อหน่ายจำเจ
         นอกจากนั้นยังมีการใช้ภาษาสัญลักษณ์ เช่น ใช้คำ ดวงจันทร์ บุปผา มาลี เยาวมาลย์ แทนคำว่า “ผู้หญิง” เป็นต้น
การที่กวีไทยมุ่งเน้นความงาม ความไพเราะของคำทำให้กวีนิยมเล่นคำ เล่นสัมผัส เช่น นิราศเมืองแกลงของสุนทรภู่ บทนี้เล่นเสียง /ร/ และ /ว/ 
         นอกจากนี้กวีไทยยังมุ่งแสดงฝีมือในการสร้างสำนวนโวหารเปรียบเทียบโดยการใช้ภาพพจน์เพื่อสื่อภาพในจินตนาการ ซึ่งให้ความรู้สึกลึกซึ้งกว่าภาพปกติที่ตาเห็น เช่น กวีเห็นต้นลำพูริมน้ำมีฝูงหิ่งห้อยจับอยู่ดูสวยงาม แสงแวววามของหิ่งห้อยโยงให้กวีคิดถึงแหวนที่นิ้วก้อยของนางผู้เป็นที่รัก


         3. เน้นการแสดงความรู้สึกที่สะเทือนอารมณ์จาการรำพันความรู้สึก   ตัวละครในเรื่องจะรำพันความรู้สึกต่างๆ เช่น รัก เศร้า โกรธ ฯลฯ เป็นคำกลอนยางหลายคำกลอน  ในงานประเภทนิราศกวีถ่ายทอดความรู้สึกสะเทือนใจได้เต็มที่ กวีมักพรรณนาธรรมชาติไปตามอารมณ์ของตน ธรรมชาติจึงเป็นส่วนประกอบสำคัญในการถ่ายทอดความรู้สึกสะเทือนอารมณ์ของกวี ในผลงานประเภทนี้จึงมักเน้นความรู้สึกมากกว่าภาพที่เห็นได้ด้วยตา  การที่กวีไทยเน้นอารมณ์มากกว่าแนวคิดทำให้วรรณคดีไทยไม่นิยมเสนอปัญหาหรือเสนอเนื้อหาที่มุ่งแสดงความคิดเกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่ง หรือมุ่งแสดงความคิดเห็นขัดแย้ง


         4. มีขนบการแต่ง   กล่าวคือ มีวิธีแต่งที่นิยมปฏิบัติแนวเดียวกันมาแต่โบราณ ได้แก่ ขึ้นต้นเรื่องด้วยการกล่าวคำไหว้ครู คือ ไหว้เทวดา ไหว้พระรัตนตรัย ไหว้ครูบาอาจารย์ สรรเสริญพระเกียรติคุณของพระหมากษัตริย์ หรือกล่าวชมบ้านเมือง  ในวรรณคดีไทยหลายเรื่องมักบอกชื่อผู้แต่งและจุดประสงค์ในการแต่ง  อนึ่ง สำหรับการบอกชื่อผู้แต่งวรรณคดีรุ่นเก่าก่อนสมัยรัตนโกสินทร์กวีไม่นิยมระบุชื่อ เพราะถือว่าเป็นการแต่งถวายเจ้านายหรือเพื่อสืบพระศาสนา
         ในด้านการดำเนินเรื่อง มีการบรรยายและพรรณนาฉากต่างๆ และความรู้สึกต่างๆ ด้วยสำนวนโวหารที่คล้ายคลึงกัน เช่น บทชมธรรมชาติ บทชมความงามของตัวละคร และบทคร่ำครวญต่างๆ  การเลียนแบบสำนวนจนกลายเป็นขนบการแต่งวรรณคดีดังตัวอย่างข้างต้นนี้ แสดงลักษณะการยึดแนวการแต่งของครูเป็นต้นแบบ กวีเห็นว่าสำนวนครูเป็นสำนวนดีเยี่ยม จึงยกมาเป็นแบบอย่างด้วยความเคารพ ด้วยความนับถือในฝีมือ มีการถ่อมตัวว่าฝีมือการประพันธ์ของตนถึงจะแต่งขึ้นใหม่ก็ไม่อาจแต่งได้ไพเราะเท่ากวีรุ่นก่อน จึงนิยมเลียนแบบหรือทำตามแบบมากกว่าจะริเริ่มสร้างสรรค์ลักษณะเฉพาะตัวขึ้นใหม่

 

สร้างโดย: 
ทิพย์พรรษา

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 500 คน กำลังออนไลน์