• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:11167ef2ed81f6eac661fee0f2fa13bb' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n                                                           <strong><u><span style=\"color: #993366\">มงคลที่ 14 ทำงานไม่คั่งค้าง</span></u></strong>\n</p>\n<p>\n                                                       <img border=\"0\" src=\"/files/u19256/W14.jpg\" height=\"258\" width=\"210\" />\n</p>\n<p>\n                                         แหล่งที่มา : <a href=\"http://www.kmitl.ac.th/buddhist/tumma/\">http://www.kmitl.ac.th/buddhist/tumma/</a>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\nจะทำงาน การใด ตั้งใจมั่น<br />\nอย่าผัดวัน ทำเล่น เช้า เย็น สาย<br />\nไม่ทิ้งคา อากูล มากมูลมาย<br />\nเร่งคลี่คลาย ให้เสร็จ สำเร็จการ\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ffff99\"><span style=\"color: #ff0000\"><strong><em>เหตุที่ทำให้งานคั่งค้าง</em></strong></span> <br />\n</span>1. <em><span style=\"color: #ff0000\">ทำงานไม่ถูกกาล</span></em> ยังไม่ถึงเวลาทำก็ร้อนใจด่วนไปทำ แต่พอถึงเวลาควรทำกลับไม่ทำ เช่น ตอนแดดออกมัวไปถูบ้านพอฝนตกกลับไปซักผ้าตากเท่าไหร่ก็ไม่แห้ง หรือตอนเด็กไม่ยอมเรียนหนังสือ เที่ยวสำมะเลเทเมา พอแก่เฒ่าจะมาเรียนก็เรียนไม่ไหวแล้ว <br />\n2. <span style=\"color: #ff0000\"><em>ทำงานไม่ถูกวิธี</em></span> ทำผิดขั้นตอน ผิดลำดับ เช่นจะทำความสะอาดบ้านก็ไปกวาดพื้นก่อน แล้วกวาดเพดานที่หลัง ฝุ่นผงต่างๆก็ตกลงมาต้องกวาดพื้นใหม่อีก เป็นต้น <br />\n3. <span style=\"color: #ff0000\"><em>ไม่ยอมทำงาน</em></span> ชอบผัดวันประกันพรุ่ง หรือหาเหตุต่างๆ นานามาอ้าง เช่น รอฤกษ์รอยาม พระสัมมาสัมพุทธเจ้าตรัสว่า ถ้าเราจะทำความดีเมื่อไหร่ ฤกษ์ก็ดีเมื่อนั้น ไม่ต้องรอ ทำไปได้เลย ประโยชน์ย่อมเป็นฤกษ์ของประโยชน์เอง\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #993300\"><strong><em>“ประโยชน์ย่อมล่วงเลยคนโง่ ผู้มัวรอฤกษ์ยามอยู่” (พุทธพจน์)</em></strong></span>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"background-color: #ff99cc; color: #008000\">วิธีทำงานให้เสร็จ</span></strong> <br />\nวิธีทำงานที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าตรัสไว้คือ <u><strong><span style=\"color: #800080\">อิทธิบาท 4</span></strong></u> ได้แก่ <br />\n<span style=\"color: #800080\"><strong>1. ฉันทะ ความเต็มใจทำ <br />\n2. วิริยะ ความแข็งใจทำ <br />\n3. จิตตะ ความตั้งใจทำ <br />\n4. วิมังสา ความเข้าใจทำ</strong></span> <br />\n<span style=\"background-color: #ff99cc; color: #800080\">ฉันทะ</span> คือ <span style=\"color: #800080\">ความรักงาน</span> จะเกิดขึ้นได้ต่อเมื่อเราเล็งเห็นผลของงานว่าถ้าทำงานนี้แล้วจะได้อะไร เช่น เรียนหนังสือ แล้วจะได้วิชาความรู้ไปประกอบอาชีพ คนสั่งงานจำเป็นอย่างยิ่ง ที่จะต้องปลูกความพอใจให้แก่ผู้ทำงานควรจะให้เขารู้ด้วยว่าทำแล้วจะเกิดผลดีอย่างไร หรือถ้าไม่ทำจะเสียผลทางไหนผู้สั่งงานบางคนใช้อำนาจบาทใหญ่ บางทีสั่งพลางด่าพลาง ใช้ถ้อยคำดูหมิ่นเหยียดหยามไปพลาง เป็นการทำลายกำลังใจของผู้ทำ นับว่าทำผิดอย่างยิ่ง\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ff99cc; color: #800080\">วิริยะ </span>คือ <span style=\"color: #800080\">ความพากเพียร</span> ความไม่ท้อถ้อยเป็นคุณธรรมทางใจเรียกความรู้สึกนี้ว่า <u><span style=\"color: #800000\">“ความกล้า”</span></u> อยากจะรู้ว่ากล้าอย่างไร ต้องดูทางตรงข้ามเสียก่อนคือทางความเกียจคร้าน คนเกียจคร้านทุกคนและทุกครั้ง คือคนขลาด คนกลัว กลัวหนาว กลัวร้อน กลัวแดด กลัวฝน จะทำงานแต่ละครั้งเป็นต้องอ้างว่าหนาวจะตาย ร้อนจะตาย อิ่มจะตาย เหนื่อยจะตาย ง่วงจะตาย คนเกียจคร้านทุกคนตายวันละไม่รู้กี่ร้อยครั้ง <br />\nการเอาชนะคำขู่ของความเกียจคร้านเสียได้ท่านเรียกว่า วิริยะ คือ ความเพียร หรือความกล้านั่นเอง <br />\nต้องละเว้นจากอบายมุขให้ได้เสียก่อน จึงจะมีความเพียรได้ <br />\n      มีข้อน่าสังเกตสำหรับคนทำงานร่วมกันคือ จะต้องขยันด้วยกันทั้งหัวหน้าและลูกน้องจึงจะได้เรื่อง ยิ่งผู้เป็นหัวหน้ายิ่งสำคัญมาก ถ้าเป็นคนเกียจคร้านคิดกินแรงผู้น้อยท่าเดียว คิดแต่ว่า “ให้แกวิดน้ำท่าข้าจะล่อน้ำแกง” ผู้น้อยก็มักขยันไปได้ไม่กี่น้ำ ประเดี๋ยวก็รามือกันหมด แต่ถ้าหัวหน้าเอาการเอางานก็ดึงผู้น้อยให้ขยันขันแข็งขึ้นด้วย\n</p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"color: #ff0000\"><strong><em>              “ ความเกียจคร้านย่อมทำลายคุณธรรมทุกประการ เป็นบรรพชิตก็ไม่ได้เป็นคฤหัสถ์ก็ไม่ดี”</em></strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ff99cc; color: #800080\">จิตตะ</span> คือ <span style=\"color: #800080\">ความเอาใจใส่</span> คนมีจิตตะเป็นคนไม่ปล่อยปละละเลยกับงานของตน คอยตรวจตรางานอยู่เสมอ <br />\nปกติคนที่โตเป็นผู้ใหญ่รู้ผิดชอบแล้ว ที่จะเป็นคนเฉยเมยไม่ใส่ใจกับงานเลยมีไม่เท่าไร ส่วนใหญ่มักจะใส่ใจกับงานอยู่แล้ว เพราะธรรมชาติของใจคนชอบคิด ทำให้หยุดคิดสิยาก แต่เสียอยู่อย่างเดียวคือ ชอบคิดชอบเจ้ากี้เจ้าการแต่เรื่องงานของคนอื่น คอยติ คอยสอด คอยแทรก คอยวิพากษ์วิจารณ์ ธุระของตัวกลับไม่คิดเสียนี่ เห็นคนอื่นใส่เสื้อขาดรูเท่าหัวเข็มหมุดก็ตำหนิติเตียนเขาเป็นเรื่องใหญ่ แต่ทีตัวเอง มุ้งขาดรูเท่ากำปั้นตั้งเดือนแล้วเมื่อไรจะเย็บล่ะ? และที่เที่ยวไปสอดแทรกงานเขา แต่งานเราไม่ดูนั้น มักทำให้อะไรของเราดีขึ้นบ้าง เพราะฉะนั้นพระสัมมาสัมพุทธเจ้าจึงทรงสอนให้เราเป็นนักตรวจตรางาน คือให้มีจิตตะ แล้วก็ทรงให้โอวาทสำทับไว้ด้วยว่า “จงตรวจตรางานของตัวเอง ทั้งที่ทำแล้วและยังไม่ได้ทำ\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ff99cc; color: #800080\">วิมังสา</span> สุดยอดของวิธีทำงานให้สำเร็จรวมอยู่ในอิทธิบาทข้อสุดท้ายนี้ คือ วิมังสา แปลว่า การพินิจพิเคราะห์ หมายความว่า <span style=\"color: #800080\">ทำงานด้วยปัญญาด้วยสมองคิด </span>ไม่ใช่สักแต่ว่าทำ คนเราแม้จะรักงานแค่ไหน บากบั่นปานใดหรือเอาใจจดจ่ออยู่ตลอดเวลา แต่ถ้าขาดการใช้ปัญญาพิจารณางานด้วยแล้วผลที่สุดงานก็คั่งค้างจนได้ เพราะแม้ว่าขั้นตอนการทำงานจะสำเร็จไปแล้วแต่ผลงานก็ไม่เรียบร้อย ต้องทำกันใหม่ร่ำไป อีกประการหนึ่ง คนทำงานที่ไม่ใช้ปัญญา ไปทำงานที่ไม่รู้จักเสร็จจะปล้ำให้มันเสร็จ หนักเข้าตัวเองก็กลายเป็นทาสของงาน เข้าตำรา “เปรตจัดหัวจัดตีน” ตามเรื่องที่เล่าว่า เปรตตัวหนึ่งได้รับคำสั่งจากหัวหน้าเปรตให้ไปเฝ้าศาลาข้างทาง เวลาคนนอนหลับเปรตก็ลงจากขื่อมาตรวจดูความเรียบร้อย ทีแรกก็เดินดูทางหัว จัดแนวศีรษะให้ได้ระดับเดียวกันให้เป็นระเบียบ ครั้งจัดทางศีรษะเสร็จก็วนไปตรวจทางเท้า เห็นเท้าไม่ได้ระดับก็ดึงลงมาให้เท่ากัน แล้วก็วนไปตรวจทางศีรษะอีก วนเวียนอยู่อย่างนี้ไม่มีวันเสร็จสิ้นได้เลย หาได้นึกไม่ว่าคนเขาตัวสูงก็มี เตี้ยก็มี ไม่เสมอกัน จัดจนตายก็ไม่เสร็จ คนที่ทำงานไม่ใช้ปัญญาจัดเป็นคนประเภท “เปรตจัดหัวจัดตีน”  อย่างนี้ก็มี ถ้าใช้ปัญญาพิจารณาหน่อยเดียว ทำให้เสร็จเท่าที่มันจะเสร็จได้ใจก็สบาย\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #993300\"><strong>คนที่ทำงานด้วยปัญญานั้นจะต้อง</strong></span> <br />\n- ทำให้ถูกกาล ไม่ทำก่อนหรือหลังเวลาอันควร <br />\n- ทำให้ถูกลักษณะของงาน <br />\n \n</p>\n<p>\n      สรุปวิธีการทำงานให้สำเร็จนั้น มีลักษณะล้วนขึ้นอยู่กับใจทั้งสิ้นคือเต็มใจทำ แข็งใจทำ ตั้งใจทำ และเข้าใจทำ วิธีการฝึกฝนใจที่ดีที่สุดก็คือ การให้ทานการรักษาศีล และการทำสมาธิเพื่อให้ใจผ่องใส ทำให้เกิดปัญญาพิจารณาเห็นผลของงานได้ รู้และเข้าใจวิธีทำงาน มีกำลังใจ และมีใจจดจ่ออยู่กับงาน ไม่วอกแวก\n</p>\n<p>\n <span style=\"color: #ff0000\"><strong><em><u>อุปสรรคในการทำงานให้เสร็จ</u></em></strong></span> <br />\n อุปสรรคใหญ่ในการทำงานให้เสร็จก็คือ <span style=\"color: #ff0000\"><u><strong><em>อบายมุข 6</em></strong></u></span> ได้แก่ <br />\n<span style=\"color: #ff0000\"><strong><em>1. ดื่มน้ำเมา <br />\n2. เที่ยวกลางคืน <br />\n3. ดูการละเล่นเป็นนิจ <br />\n4. เล่นการพนัน <br />\n5. คบคนชั่วเป็นมิตร <br />\n6. เกียจคร้านในการทำงาน <br />\n</em></strong></span>\n</p>\n<p>\n <span style=\"color: #008080\"><strong>อานิสงส์การทำงานไม่คั่งค้าง</strong></span> <br />\n1. ทำให้ฐานะของตน ครอบครัว ประเทศชาติดีขึ้น <br />\n2. ทำให้ได้รับความสุข <br />\n3. ทำให้พึ่งตัวเองได้ <br />\n4. ทำให้เป็นที่พึ่งของคนทั้งหลายได้ <br />\n5. ทำให้สามารถสร้างบุญกุศลอื่นๆ ได้ง่าย <br />\n6. ทำให้เป็นผู้ไม่ประมาท <br />\n7. ทำให้ป้องกันภัยในอบายภูมิได้ <br />\n8. ทำให้มีสุคติเป็นที่ไปเบื้องหน้า <br />\n9. ทำให้เป็นนิสัยติดตัวไปข้ามภพข้ามชาติ <br />\n10. ทำให้ได้รับการยกย่องสรรเสริญจากคนทั่วไป \n</p>\n<p>\n       <span style=\"color: #800000\"><strong><em> “บุคคลใดไม่คำนึงถึงหนาวร้อน  อดทนให้เหมือนหญ้า  กระทำกิจที่ควรทำด้วยเรี่ยวแรงชองลูกผู้ชาย  บุคคลนั้นย่อมไม่เสื่อมจากสุข”(สิงคาลสูตร)ที.ปา.11/185/199</em></strong></span>\n</p>\n<p>\n<strong><em><span style=\"color: #800000\"></span></em></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><em><span style=\"color: #800000\">                                        <a href=\"/node/41840\"><img border=\"0\" src=\"/files/u19256/001.gif\" height=\"38\" width=\"88\" /></a>        <a href=\"/node/41830\"><img border=\"0\" src=\"/files/u19256/003.gif\" height=\"32\" width=\"75\" /></a>        <a href=\"/node/45520\"><img border=\"0\" src=\"/files/u19256/002.gif\" height=\"43\" width=\"81\" /></a></span></em></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #800000\"><em>                                                                    </em><u><a target=\"_blank\" href=\"/node/41840?page=0%2C2\">สารบัญ คลิกที่นี่</a></u></span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #800000\"><u></u></span></strong>\n</p>\n', created = 1719992554, expire = 1720078954, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:11167ef2ed81f6eac661fee0f2fa13bb' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

มงคลที่ 14 ทำงานไม่คั่งค้าง

                                                           มงคลที่ 14 ทำงานไม่คั่งค้าง

                                                       

                                         แหล่งที่มา : http://www.kmitl.ac.th/buddhist/tumma/

 

จะทำงาน การใด ตั้งใจมั่น
อย่าผัดวัน ทำเล่น เช้า เย็น สาย
ไม่ทิ้งคา อากูล มากมูลมาย
เร่งคลี่คลาย ให้เสร็จ สำเร็จการ

เหตุที่ทำให้งานคั่งค้าง
1. ทำงานไม่ถูกกาล ยังไม่ถึงเวลาทำก็ร้อนใจด่วนไปทำ แต่พอถึงเวลาควรทำกลับไม่ทำ เช่น ตอนแดดออกมัวไปถูบ้านพอฝนตกกลับไปซักผ้าตากเท่าไหร่ก็ไม่แห้ง หรือตอนเด็กไม่ยอมเรียนหนังสือ เที่ยวสำมะเลเทเมา พอแก่เฒ่าจะมาเรียนก็เรียนไม่ไหวแล้ว
2. ทำงานไม่ถูกวิธี ทำผิดขั้นตอน ผิดลำดับ เช่นจะทำความสะอาดบ้านก็ไปกวาดพื้นก่อน แล้วกวาดเพดานที่หลัง ฝุ่นผงต่างๆก็ตกลงมาต้องกวาดพื้นใหม่อีก เป็นต้น
3. ไม่ยอมทำงาน ชอบผัดวันประกันพรุ่ง หรือหาเหตุต่างๆ นานามาอ้าง เช่น รอฤกษ์รอยาม พระสัมมาสัมพุทธเจ้าตรัสว่า ถ้าเราจะทำความดีเมื่อไหร่ ฤกษ์ก็ดีเมื่อนั้น ไม่ต้องรอ ทำไปได้เลย ประโยชน์ย่อมเป็นฤกษ์ของประโยชน์เอง

“ประโยชน์ย่อมล่วงเลยคนโง่ ผู้มัวรอฤกษ์ยามอยู่” (พุทธพจน์)

วิธีทำงานให้เสร็จ
วิธีทำงานที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าตรัสไว้คือ อิทธิบาท 4 ได้แก่
1. ฉันทะ ความเต็มใจทำ
2. วิริยะ ความแข็งใจทำ
3. จิตตะ ความตั้งใจทำ
4. วิมังสา ความเข้าใจทำ

ฉันทะ คือ ความรักงาน จะเกิดขึ้นได้ต่อเมื่อเราเล็งเห็นผลของงานว่าถ้าทำงานนี้แล้วจะได้อะไร เช่น เรียนหนังสือ แล้วจะได้วิชาความรู้ไปประกอบอาชีพ คนสั่งงานจำเป็นอย่างยิ่ง ที่จะต้องปลูกความพอใจให้แก่ผู้ทำงานควรจะให้เขารู้ด้วยว่าทำแล้วจะเกิดผลดีอย่างไร หรือถ้าไม่ทำจะเสียผลทางไหนผู้สั่งงานบางคนใช้อำนาจบาทใหญ่ บางทีสั่งพลางด่าพลาง ใช้ถ้อยคำดูหมิ่นเหยียดหยามไปพลาง เป็นการทำลายกำลังใจของผู้ทำ นับว่าทำผิดอย่างยิ่ง

วิริยะ คือ ความพากเพียร ความไม่ท้อถ้อยเป็นคุณธรรมทางใจเรียกความรู้สึกนี้ว่า “ความกล้า” อยากจะรู้ว่ากล้าอย่างไร ต้องดูทางตรงข้ามเสียก่อนคือทางความเกียจคร้าน คนเกียจคร้านทุกคนและทุกครั้ง คือคนขลาด คนกลัว กลัวหนาว กลัวร้อน กลัวแดด กลัวฝน จะทำงานแต่ละครั้งเป็นต้องอ้างว่าหนาวจะตาย ร้อนจะตาย อิ่มจะตาย เหนื่อยจะตาย ง่วงจะตาย คนเกียจคร้านทุกคนตายวันละไม่รู้กี่ร้อยครั้ง
การเอาชนะคำขู่ของความเกียจคร้านเสียได้ท่านเรียกว่า วิริยะ คือ ความเพียร หรือความกล้านั่นเอง
ต้องละเว้นจากอบายมุขให้ได้เสียก่อน จึงจะมีความเพียรได้ 
      มีข้อน่าสังเกตสำหรับคนทำงานร่วมกันคือ จะต้องขยันด้วยกันทั้งหัวหน้าและลูกน้องจึงจะได้เรื่อง ยิ่งผู้เป็นหัวหน้ายิ่งสำคัญมาก ถ้าเป็นคนเกียจคร้านคิดกินแรงผู้น้อยท่าเดียว คิดแต่ว่า “ให้แกวิดน้ำท่าข้าจะล่อน้ำแกง” ผู้น้อยก็มักขยันไปได้ไม่กี่น้ำ ประเดี๋ยวก็รามือกันหมด แต่ถ้าหัวหน้าเอาการเอางานก็ดึงผู้น้อยให้ขยันขันแข็งขึ้นด้วย


              “ ความเกียจคร้านย่อมทำลายคุณธรรมทุกประการ เป็นบรรพชิตก็ไม่ได้เป็นคฤหัสถ์ก็ไม่ดี”

จิตตะ คือ ความเอาใจใส่ คนมีจิตตะเป็นคนไม่ปล่อยปละละเลยกับงานของตน คอยตรวจตรางานอยู่เสมอ
ปกติคนที่โตเป็นผู้ใหญ่รู้ผิดชอบแล้ว ที่จะเป็นคนเฉยเมยไม่ใส่ใจกับงานเลยมีไม่เท่าไร ส่วนใหญ่มักจะใส่ใจกับงานอยู่แล้ว เพราะธรรมชาติของใจคนชอบคิด ทำให้หยุดคิดสิยาก แต่เสียอยู่อย่างเดียวคือ ชอบคิดชอบเจ้ากี้เจ้าการแต่เรื่องงานของคนอื่น คอยติ คอยสอด คอยแทรก คอยวิพากษ์วิจารณ์ ธุระของตัวกลับไม่คิดเสียนี่ เห็นคนอื่นใส่เสื้อขาดรูเท่าหัวเข็มหมุดก็ตำหนิติเตียนเขาเป็นเรื่องใหญ่ แต่ทีตัวเอง มุ้งขาดรูเท่ากำปั้นตั้งเดือนแล้วเมื่อไรจะเย็บล่ะ? และที่เที่ยวไปสอดแทรกงานเขา แต่งานเราไม่ดูนั้น มักทำให้อะไรของเราดีขึ้นบ้าง เพราะฉะนั้นพระสัมมาสัมพุทธเจ้าจึงทรงสอนให้เราเป็นนักตรวจตรางาน คือให้มีจิตตะ แล้วก็ทรงให้โอวาทสำทับไว้ด้วยว่า “จงตรวจตรางานของตัวเอง ทั้งที่ทำแล้วและยังไม่ได้ทำ

วิมังสา สุดยอดของวิธีทำงานให้สำเร็จรวมอยู่ในอิทธิบาทข้อสุดท้ายนี้ คือ วิมังสา แปลว่า การพินิจพิเคราะห์ หมายความว่า ทำงานด้วยปัญญาด้วยสมองคิด ไม่ใช่สักแต่ว่าทำ คนเราแม้จะรักงานแค่ไหน บากบั่นปานใดหรือเอาใจจดจ่ออยู่ตลอดเวลา แต่ถ้าขาดการใช้ปัญญาพิจารณางานด้วยแล้วผลที่สุดงานก็คั่งค้างจนได้ เพราะแม้ว่าขั้นตอนการทำงานจะสำเร็จไปแล้วแต่ผลงานก็ไม่เรียบร้อย ต้องทำกันใหม่ร่ำไป อีกประการหนึ่ง คนทำงานที่ไม่ใช้ปัญญา ไปทำงานที่ไม่รู้จักเสร็จจะปล้ำให้มันเสร็จ หนักเข้าตัวเองก็กลายเป็นทาสของงาน เข้าตำรา “เปรตจัดหัวจัดตีน” ตามเรื่องที่เล่าว่า เปรตตัวหนึ่งได้รับคำสั่งจากหัวหน้าเปรตให้ไปเฝ้าศาลาข้างทาง เวลาคนนอนหลับเปรตก็ลงจากขื่อมาตรวจดูความเรียบร้อย ทีแรกก็เดินดูทางหัว จัดแนวศีรษะให้ได้ระดับเดียวกันให้เป็นระเบียบ ครั้งจัดทางศีรษะเสร็จก็วนไปตรวจทางเท้า เห็นเท้าไม่ได้ระดับก็ดึงลงมาให้เท่ากัน แล้วก็วนไปตรวจทางศีรษะอีก วนเวียนอยู่อย่างนี้ไม่มีวันเสร็จสิ้นได้เลย หาได้นึกไม่ว่าคนเขาตัวสูงก็มี เตี้ยก็มี ไม่เสมอกัน จัดจนตายก็ไม่เสร็จ คนที่ทำงานไม่ใช้ปัญญาจัดเป็นคนประเภท “เปรตจัดหัวจัดตีน”  อย่างนี้ก็มี ถ้าใช้ปัญญาพิจารณาหน่อยเดียว ทำให้เสร็จเท่าที่มันจะเสร็จได้ใจก็สบาย

คนที่ทำงานด้วยปัญญานั้นจะต้อง
- ทำให้ถูกกาล ไม่ทำก่อนหรือหลังเวลาอันควร
- ทำให้ถูกลักษณะของงาน
 

      สรุปวิธีการทำงานให้สำเร็จนั้น มีลักษณะล้วนขึ้นอยู่กับใจทั้งสิ้นคือเต็มใจทำ แข็งใจทำ ตั้งใจทำ และเข้าใจทำ วิธีการฝึกฝนใจที่ดีที่สุดก็คือ การให้ทานการรักษาศีล และการทำสมาธิเพื่อให้ใจผ่องใส ทำให้เกิดปัญญาพิจารณาเห็นผลของงานได้ รู้และเข้าใจวิธีทำงาน มีกำลังใจ และมีใจจดจ่ออยู่กับงาน ไม่วอกแวก

 อุปสรรคในการทำงานให้เสร็จ
 อุปสรรคใหญ่ในการทำงานให้เสร็จก็คือ อบายมุข 6 ได้แก่
1. ดื่มน้ำเมา
2. เที่ยวกลางคืน
3. ดูการละเล่นเป็นนิจ
4. เล่นการพนัน
5. คบคนชั่วเป็นมิตร
6. เกียจคร้านในการทำงาน 

 อานิสงส์การทำงานไม่คั่งค้าง
1. ทำให้ฐานะของตน ครอบครัว ประเทศชาติดีขึ้น
2. ทำให้ได้รับความสุข
3. ทำให้พึ่งตัวเองได้
4. ทำให้เป็นที่พึ่งของคนทั้งหลายได้
5. ทำให้สามารถสร้างบุญกุศลอื่นๆ ได้ง่าย
6. ทำให้เป็นผู้ไม่ประมาท
7. ทำให้ป้องกันภัยในอบายภูมิได้
8. ทำให้มีสุคติเป็นที่ไปเบื้องหน้า
9. ทำให้เป็นนิสัยติดตัวไปข้ามภพข้ามชาติ
10. ทำให้ได้รับการยกย่องสรรเสริญจากคนทั่วไป 

        “บุคคลใดไม่คำนึงถึงหนาวร้อน  อดทนให้เหมือนหญ้า  กระทำกิจที่ควรทำด้วยเรี่ยวแรงชองลูกผู้ชาย  บุคคลนั้นย่อมไม่เสื่อมจากสุข”(สิงคาลสูตร)ที.ปา.11/185/199

                                                       

                                                                    สารบัญ คลิกที่นี่

สร้างโดย: 
นางปาลิดา สวนชังและนางสาวนันทิชา เรืองวินิตวงศ์

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 438 คน กำลังออนไลน์