• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:54e0e843bd0e932565182b5c568973f3' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><span style=\"color: #ff0000; background-color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; color: #92d050; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p></o:p></span></span></p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff0000; background-color: #000000\"><span style=\"color: #33cccc; background-color: #ffffff\"><img border=\"0\" width=\"86\" src=\"/library/studentshow/2549/m6-4/no01-08-36/president/picture/01.gif\" height=\"69\" /> </span></span><span style=\"color: #ff0000; background-color: #000000\"><span style=\"color: #33cccc; background-color: #ffffff\"><strong><u>นายกรัฐมนตรีคนที่ 1 พระยามโนปกรณนิติธาดา (ก้อน หุตะสิงห์)</u></strong></span></span> <img border=\"0\" width=\"86\" src=\"/library/studentshow/2549/m6-4/no01-08-36/president/picture/01.gif\" height=\"69\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"283\" src=\"/files/u19235/007.jpg\" height=\"400\" style=\"width: 267px; height: 364px\" />\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #666699\">ที่มาของรูป:</span> <a href=\"http://www.oknation.net/blog/home/blog_data/262/14262/images/MyKing/SonOfRama5/KingOfThai2477/TheEnd/007.jpg\">http://www.oknation.net/blog/home/blog_data/262/14262/images/MyKing/SonOfRama5/KingOfThai2477/TheEnd/007.jpg</a>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"color: #ff0000; background-color: #000000\"><span style=\"color: #33cccc; background-color: #ffffff\">ระยะเวลาดำรงตำแหน่ง <br />\nสมัยที่ 1 : คณะรัฐมนตรี คณะที่ 1 : 28 มิถุนายน 2475 - 9 ธันวาคม 2475 <br />\nสมัยที่ 2 : คณะรัฐมนตรี คณะที่ 2 : 10 ธันวาคม 2475 - 1 เมษายน 2476 <br />\nสมัยที่ 3 : คณะรัฐมนตรี คณะที่ 3 : 1 เมษายน 2476 - 20 มิถุนายน 2476 </span></span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"color: #ff0000; background-color: #000000\"><span style=\"color: #33cccc; background-color: #ffffff\"></span></span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"color: #ff0000; background-color: #000000\"><span style=\"color: #33cccc; background-color: #ffffff\">ประวัติ  พระยามโนปกรณนิติธาดาชื่อเดิมว่า &quot;ก้อน หุตะสิงห์&quot; เกิดที่จังหวัดพระนคร เมื่อวันที่ 15 กรกฎาคม 2427 เวลา 11.20 น. เป็นบุตรของนายฮวดกับนางแก้ว หุตะสิงห์ สมรสกับ คุณหญิงมโนปกรณนิติธาดา (นิตย์ สามเสน) เริ่มการศึกษาชั้นต้นที่วัดราชบูรณะ (วัดเลียบ) การศึกษาที่โรงเรียนสวนกุหลาบ วิทยาลัย โรงเรียนอัสสัมชัญวิทยาลัย และโรงเรียนกฎหมายกระทรวงยุติธรรม ตามลำดับ จนสำเร็จ เป็นเนติบัณฑิตสยาม และต่อมาได้ทุนเล่าเรียนหลวงไปศึกษาต่อที่ประเทศอังกฤษ จนสำเร็จเนติบัณฑิต อังกฤษ จาก The Middle Temple หลังจากสำเร็จเนติบัณฑิตสยามได้เข้ารับราชการที่กระทรวงยุติธรรม และได้รับ พระราชทานบรรดาศักดิ์ หลวงประดิษฐ์พิจารณ์การ จนกระทั่งได้เป็นสมุหพระนิติศาสตร์ และ พระยามโนปกรณนิติธาดาในที่สุดใน ปี พ.ศ. 2461 ได้รับความไว้วางพระราชหฤทัยจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ให้ดำรงตำแหน่งที่ปรึกษาราชการในพระองค์ เมื่อพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทรงลงพระปรมาภิไธยในพระราชบัญญัติ ธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว พ.ศ. 2475 </span></span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"color: #ff0000; background-color: #000000\"><span style=\"color: #33cccc; background-color: #ffffff\">เมื่อวันที่ 27 มิถุนายน 2475ได้มีการประชุม คณะราษฎรครั้งแรกเมื่อวันอังคารที่ 28 มิถุนายน 2475 เวลา 14.00 น. ณ พระที่นั่งอนันตสมาคม และที่ประชุมได้มีมติแต่งตั้งพระยามโนปกรณนิติธาดาเป็นประธานคณะกรรมการราษฎร ซึ่งเป็น ตำแหน่งสูงสุดในการบริหารเทียบเท่ากับตำแหน่งนายกรัฐมนตรีในปัจจุบัน พระยามโนปกรณนิติธาดาได้ตำรงตำแหน่งประธานคณะกรรมการราษฎรอยู่จนถึง วันที่ 9 ธันวาคม 2475 จึงได้ลาออก พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานรัฐธรรมนูญฉบับถาวรเมื่อวันที่ 10 ธันวาคม 2475 และพระยามโนปกรณนิติธาดาได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ตามรัฐธรรมนูญอีกครั้งหนึ่ง ต่อมา เมื่อวันที่ 1 เมษายน 2476 พระยามโนปกรณนิติธาดาได้กราบบังคมทูล พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ขอให้ทรงประกาศพระราชกฤษฎีกาปิดประชุมสภาผู้แทนราษฎร และตั้งคณะรัฐมนตรีชุดใหม่ โดยมีพระยามโนปกรณนิติธาดาเป็นนายกรัฐมนตรีอีกครั้งหนึ่ง เมื่อวันที่ 20 มิถุนายน 2476 พันเอก พระยาพหลพลพยุหเสนาได้เข้ายึดอำนาจ จากรัฐบาล พระยามโนปกรณนิติธาดาได้ลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี และย้ายไปพำนัก อยู่ที่ปีนังเป็นเวลา 16 ปีเศษ และได้ถึงแก่อสัญกรรม ณ ที่นั้น เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2491 รวมอายุได้ 64 ปีเศษ </span></span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"color: #ff0000; background-color: #000000\"><span style=\"color: #33cccc; background-color: #ffffff\"><span style=\"background-color: #ffff99\"><a href=\"/node/48596\">กลับหน้าแรก</a></span></span></span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"color: #ff0000; background-color: #000000\"><span style=\"color: #33cccc; background-color: #ffffff\"></span></span></p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000; background-color: #000000\"><span style=\"color: #33cccc; background-color: #ffffff\"></span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff0000; background-color: #000000\"><span style=\"color: #33cccc; background-color: #ffffff\"><span style=\"color: #33cccc\"><img border=\"0\" width=\"53\" src=\"/library/studentshow/2549/m6-4/no01-08-36/president/picture/552762.gif\" height=\"47\" />คณะรัฐมนตรีสมัยที่ 1<img border=\"0\" width=\"53\" src=\"/library/studentshow/2549/m6-4/no01-08-36/president/picture/552762.gif\" height=\"47\" /></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000; background-color: #000000\"><span style=\"color: #33cccc; background-color: #ffffff\"><span style=\"color: #33cccc\">        พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๗ ได้ทรงพระราชทานพระบรมราชานุมัติ ให้ใช้<br />\nพระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว พ.ศ. ๒๔๗๕ เมื่อวันที่ ๒๗ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๗๕ และ<br />\nในวันที่ ๒๘ มิถุนายน ๒๔๗๕ สภาผู้แทนราษฎรอันประกอบด้วย สมาชิกซึ่งคณะผู้รักษาพระนครฝ่ายทหารได้ตั้งขึ้น<br />\nจำนวน ๗๐ นาย ได้ประชุมกันเป็นครั้งแรก ณ พระที่นั่งอนันตสมาคม<br />\n        โดยที่ธรรมนูญการปกครองแผ่นดิน มาตรา ๓๓ บัญญัติว่า &quot;ให้สภาเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้หนึ่งเป็น<br />\nประธานกรรมการ และให้ผู้เป็นประธานนั้นเลือกสมาชิกในสภาอีก ๑๔ นาย เพื่อเป็นกรรมการ การเลือกนี้เมื่อได้รับ<br />\nความเห็นชอบของสภาแล้ว ให้ถือว่าผู้ได้รับเลือกเป็นกรรมการของสภา&quot;<br />\n        ในการนี้ ได้มีสมาชิกเสนอให้มหาอำมาตย์โท พระยามโนปกรณนิติธาดา (ก้อน  หุตะสิงห์) เป็นประธาน<br />\nคณะกรรมการราษฎร โดยสภาผู้แทนราษฎรเป็นผู้เลือก เมื่อวันที่ ๒๘ มิถุนายน ๒๔๗๕ ประธานคณะกรรมการราษฎร<br />\nได้เสนอชื่อคณะกรรมการราษฎรและสภาได้อนุมัติ เมื่อวันที่ ๒๘ มิถุนายน ๒๔๗๕ ดังมีรายชื่อต่อไปนี้</span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000; background-color: #000000\"><span style=\"color: #33cccc; background-color: #ffffff\"><span style=\"color: #33cccc\">รายชื่อคณะกรรมการราษฎร<br />\n๑. นายพลเรือตรี พระยาปรีชาชลยุทธ (วัน จารุภา)  กรรมการราษฎร  <br />\n๒. มหาอำมาตย์ตรี พระยาศรีวิสารวาจา (เทียนเลี้ยง ฮุนตระกูล)  กรรมการราษฎร  <br />\n๓. นายพันเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน)  กรรมการราษฎร  <br />\n๔. นายพันเอก พระยาทรงสุรเดช (เทพ พันธุมเสน)  กรรมการราษฎร  <br />\n๕. นายพันเอก พระยาฤทธิอัคเณย์ (สละ เอมะศิริ)  กรรมการราษฎร  <br />\n๖. อำมาตย์เอก พระยาประมวญวิชาพูล (วงศ์ บุญหลง)  กรรมการราษฎร  <br />\n๗. นายพันโท พระประศาสน์พิทยายุทธ์ (วัน ชูถิ่น)  กรรมการราษฎร  <br />\n๘. นายพันตรี หลวงพิบูลสงคราม (แปลก พิบูลสงคราม)  กรรมการราษฎร  <br />\n๙. นายนาวาตรี หลวงสินธุสงครามชัย (สินธุ์ กมลนาวิน)  กรรมการราษฎร  <br />\n๑๐. อำมาตย์ตรี หลวงประดิษฐ์มนูธรรม (ปรีดี พนมยงค์)  กรรมการราษฎร  <br />\n๑๑. รองอำมาตย์เอก หลวงเดชสหกรณ์ (หม่อมหลวงเดช สนิทวงศ์)  กรรมการราษฎร  <br />\n๑๒. รองอำมาตย์เอก ตั้ว ลพานุกรม  กรรมการราษฎร  <br />\n๑๓. รองอำมาตย์เอก ประยูร ภมรมนตรี  กรรมการราษฎร  <br />\n๑๔. นายแนบ พหลโยธิน  กรรมการราษฎร  </span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000; background-color: #000000\"><span style=\"color: #33cccc; background-color: #ffffff\"><span style=\"color: #33cccc\">        คณะกรรมการราษฎรคณะนี้ ไม่มีการแถลงนโยบายการบริหารราชการแผ่นดินต่อสภา แต่ได้ถือเอา<br />\nหลัก ๖ ประการของคณะราษฎรที่ได้ให้สมาชิกสภาปฏิญาณตนต่อสภาก่อนเข้ารับหน้าที่นั้น เป็นนโยบายของรัฐบาล<br />\n        หลัก ๖ ประการของคณะราษฎร ปรากฎในหนังสือราชกิจจานุเบกษา พ.ศ.  เล่ม  หน้า   <br />\nเดิมคณะรัฐมนตรี เรียกว่า        คณะกรรมการราษฎร<br />\n        นายกรัฐมนตรี    เรียกว่า        ประธานคณะกรรมการราษฎร<br />\n        รัฐมนตรี                เรียกว่า        กรรมการราษฎร<br />\n        คณะรัฐมนตรีคณะเริ่มแรกนี้สิ้นสุดเมื่อวันที่ ๑๐ ธันวาคม ๒๔๗๕ เพราะประกาศใช้รัฐธรรมนูญฉบับถาวร<br />\nเมื่อวันที่ ๑๐ ธันวาคม ๒๔๗๕</span></span></span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p><span style=\"color: #ff0000; background-color: #000000\"><span style=\"color: #33cccc; background-color: #ffffff\"></span></span><span style=\"color: #ff0000; background-color: #000000\"><span style=\"color: #33cccc; background-color: #ffffff\"></span></span></p>\n<p align=\"left\">\n&nbsp;\n</p>\n<p></p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"color: #ff0000; background-color: #000000\"><a href=\"/node/48596\">กลับหน้าแรก</a></span>                                                                                                                 <span style=\"font-size: 10pt\"><img border=\"0\" width=\"120\" src=\"/library/studentshow/2549/m6-4/no01-08-36/president/picture/676784.gif\" height=\"140\" /></span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"left\">\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--></p>\n<p style=\"text-align: center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #ffff00; background-color: #000000\"><span style=\"background-color: #ffffff\"><img border=\"0\" width=\"53\" src=\"/library/studentshow/2549/m6-4/no01-08-36/president/picture/552762.gif\" height=\"47\" /></span><u>คณะรัฐมนตรีสมัยที่ 2</u></span></strong>  <img border=\"0\" width=\"53\" src=\"/library/studentshow/2549/m6-4/no01-08-36/president/picture/552762.gif\" height=\"47\" />\n</p>\n<p align=\"left\">\n         <span style=\"color: #33cccc\">พระยามโนปกรณนิติธาดา (ก้อน  หุตะสิงห์) เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการ ลงวันที่  ๑๐  ธันวาคม  ๒๔๗๕  พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาประชาธิปกพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงลงพระปรมาภิไธย และเจ้าพระยาพิชัยญาติ (ดั่น  บุนนาค)  ประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นผู้รับสนองพระบรมราชโองการ และในวันที่  ๑๐  ธันวาคม  ๒๔๗๕  มีการแต่งตั้งคณะรัฐมนตรี ดังนี้</span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"color: #33cccc\"> รายชื่อคณะรัฐมนตรี</span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"color: #33cccc\">๑. พระยามโนปกรณนิติธาดา นายกรัฐมนตรี (ก้อน หุตะสิงห์)  เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพระคลังมหาสมบัติ  <br />\n๒. นายพลเรือโท พระยาราชวังสัน (ศรี กมลนาวิน)  เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม  <br />\n๓. พระยาศรีวิสารวาจา (เทียนเลี้ยง ฮุนตระกูล)  เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ  <br />\n๔. พระยาวงษานุประพัทธ (หม่อมราชวงศ์สท้าน สนิทวงศ์)  เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรพาณิชยการ  <br />\n๕. เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี (สนั่น เทพหัสดิน)  เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงธรรมการ  <br />\n๖. พระยาจ่าแสนยบดีศรีบริบาล (ชิต สุนทรวร)  เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย  <br />\n๗. พระยาเทพวิทุรพหุลศรุตาบดี (บุญช่วย วณิกกุล)  เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม  <br />\n๘. นายพลเรือตรี พระยาปรีชาชลยุทธ (วัน จารุภา)  เป็นรัฐมนตรี  <br />\n๙. นายพันเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน)  เป็นรัฐมนตรี  <br />\n๑๐. นายพันเอก พระยาทรงสุรเดช (เทพ พันธุมเสน)  เป็นรัฐมนตรี  <br />\n๑๑. นายพันเอก พระฤทธิอัคเณย์ (สละ เอมะศิริ)  เป็นรัฐมนตรี  <br />\n๑๒. พระยาประมวญวิชาพูล (วงศ์ บุญ - หลง)  เป็นรัฐมนตรี  <br />\n๑๓. นายพันโท พระประศาสน์พิทยายุทธ์ (วัน ชูถิ่น)  เป็นรัฐมนตรี  <br />\n๑๔. หลวงประดิษฐ์มนูธรรม (ปรีดี พนมยงค์)  เป็นรัฐมนตรี  <br />\n๑๕. นายนาวาตรี หลวงสินธุสงครามชัย (สินธุ์ กมลนาวิน)  เป็นรัฐมนตรี  <br />\n๑๖. นายพันตรี หลวงพิบูลสงคราม (แปลก พิบูลสงคราม)  เป็นรัฐมนตรี  <br />\n๑๗. หลวงเดชสหกรณ์ (หม่อมหลวงเดช สนิทวงศ์)  เป็นรัฐมนตรี  <br />\n๑๘. นายประยูร ภมรมนตรี  เป็นรัฐมนตรี  <br />\n๑๙. นายแนบ พหลโยธิน  เป็นรัฐมนตรี  <br />\n๒๐. นายตั้ว ลพานุกรม  เป็นรัฐมนตรี  <br />\n        คณะรัฐมนตรีได้แถลงนโยบายต่อสภาผู้แทนราษฎรเมื่อวันที่  ๒๐  ธันวาคม  ๒๔๗๕</span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"color: #33cccc\"></span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"color: #33cccc; background-color: #ffff00\"><a href=\"/node/48596\">กลับหน้าแรก</a></span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"color: #33cccc; background-color: #ffffff\"></span></p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p>\n</p>\n<p align=\"left\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"left\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"53\" src=\"/library/studentshow/2549/m6-4/no01-08-36/president/picture/552762.gif\" height=\"47\" /><span style=\"color: #00ffff; background-color: #000000\">คณะรัฐมนตรีคณะที่ 3</span><img border=\"0\" width=\"53\" src=\"/library/studentshow/2549/m6-4/no01-08-36/president/picture/552762.gif\" height=\"47\" />\n</p>\n<p align=\"left\">\n        <span style=\"color: #33cccc\">พระยามโนปกรณนิติธาดา (ก้อน  หุตะสิงห์) เป็นนายกรัฐมนตรี ตามความในข้อ ๒ แห่ง<br />\nพระราชกฤษฎีกาให้ปิดประชุมสภาผู้แทนราษฎรและตั้งคณะรัฐมนตรีชุดใหม่  ๒๔๗๖  ซึ่งในประกาศนั้นบัญญัติ<br />\nให้รัฐมนตรีผู้ซึ่งว่าการกระทรวงต่าง ๆ อยู่ในเวลายุบสภาเป็นสมาชิกของคณะรัฐมนตรีใหม่โดยตำแหน่ง <br />\nส่วนรัฐมนตรีอื่น ๆ ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ตั้งขึ้นโดยคำแนะนำของนายกรัฐมนตรี โดยพระบาทสมเด็จ<br />\nพระปรมินทรมหาประชาธิปกพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงลงพระปรมาภิไธย ในประกาศตั้งคณะรัฐมนตรี <br />\nเมื่อวันที่  ๑  เมษายน  ๒๔๗๖  โดยมีดังต่อไปนี้</span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"color: #33cccc\">๑. พระยามโนปกรณนิติธาดา<br />\n๒. เจ้าพระยาวงษา<br />\n๓. เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี<br />\n๔. พระยาเทพวิทุรพหุลศรุตาบดี<br />\n๕. พล.ร.ท.พระยาราชวังสัน ร.น.<br />\n๖. พระยาจ่าแสนยบดีศรีบริบาล<br />\n๗. พระยาศรีวิสารวาจา<br />\n๘. พ.อ. พระยาทรงสุรเดช<br />\n๙. พ.อ.พระยาฤทธิอัคเณย์<br />\n๑๐. พ.ท.พระประศาสน์พิทยายุทธ์<br />\n๑๑. พ.ต. หลวงพิบูลสงคราม<br />\n๑๒. น.ต.หลวงสินธุสงครามชัย ร.น.<br />\n๑๓. นายประยูร  ภมรมนตรี</span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"color: #33cccc\">ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ</span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"color: #33cccc\"> รายชื่อคณะรัฐมนตรี<br />\n๑. พระยามโนปกรณนิติธาดา (ก้อน หุตะสิงห์)  เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพระคลังมหาสมบัติ  <br />\n๒. พล.ร.ท.พระยาราชวังสัน ร.น. (ศรี กมลนาวิน)  เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม  <br />\n๓. พระยาศรีวิสารวาจา (เทียนเลี้ยง ฮุนตระกูล)  เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ  <br />\n๔. พระยาวงษานุประพัทธ (หม่อมราชวงศ์สท้าน สนิทวงศ์)  เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรพาณิชยการ  <br />\n๕. เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี (สนั่น เทพหัสดิน)  เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงธรรมการ  <br />\n๖. พระยาจ่าแสนยบดีศรีบริบาล (ชิต สุนทรวร)  เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย  <br />\n๗. พระยาเทพวิทุรพหุลศรุตาบดี (บุญช่วย วณิกกุล)  เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม  <br />\n๘. พระยาอุดมพงศ์เพ็ญสวัสดิ์ (หม่อมราชวงศ์ประยูร อิศรศักดิ์)  เป็นรัฐมนตรี  <br />\n๙. พล.ร.ต.พระยาปรีชาชลยุทธ ร.น. (วัน จารุภา)  เป็นรัฐมนตรี  <br />\n๑๐. พระยามานวราชเสวี (ปลอด ณ สงขลา)  เป็นรัฐมนตรี  <br />\n๑๑. พ.อ.พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน)  เป็นรัฐมนตรี  <br />\n๑๒. พ.อ.พระยาทรงสุรเดช (เทพ พันธุมเสน)  เป็นรัฐมนตรี  <br />\n๑๓. พ.อ. พระยาฤทธิอัคเณย์ (สละ เอมะศิริ)  เป็นรัฐมนตรี  <br />\n๑๔. พ.ท.พระประศาสน์พิทยายุทธ์ (วัน ชูถิ่น)  เป็นรัฐมนตรี  <br />\n๑๕. พ.ต.หลวงพิบูลสงคราม (แปลก พิบูลสงคราม)  เป็นรัฐมนตรี  <br />\n๑๖. น.ต.หลวงสินธุสงครามชัย ร.น. (สินธุ์ กมลนาวิน)  เป็นรัฐมนตรี  <br />\n๑๗. น.ต.หลวงศุภชลาศัย ร.น. (บุง ศุภชลาศัย)  เป็นรัฐมนตรี  <br />\n๑๘. นายประยูร ภมรมนตรี  เป็นรัฐมนตรี  </span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"color: #33cccc\"> คณะรัฐมนตรีคณะนี้ไม่มีการแถลงนโยบาย <br />\n        คณะรัฐมนตรีคณะนี้มีการเปลี่ยนแปลง คือ<br />\n        ๑. มีประกาศพระบรมราชโองการเมื่อวันที่  ๑๘  มิถุนายน  ๒๔๗๖  ว่า พ.อ.พระยาพหลพลพยุหเสนา <br />\n(พจน์  พหลโยธิน) พ.อ.พระยาทรงสุรเดช (เทพ  พันธุมเสน) พ.อ.พระยาฤทธิอัคเณย์ (สละ  เอมะศิริ) และ <br />\nพ.ท.พระยาประศาสน์พิทยายุทธ์ (วัน  ชูถิ่น) ได้กราบถวายบังคมลาออกจากตำแหน่งตั้งแต่วันที่  ๒๔ มิถุนายน <br />\n๒๔๗๖  โดยอ้างเหตุผลว่าได้รับราชการตรากตรำมาครบ ๑ ปีแล้วและมีความเจ็บป่วยเนือง ๆ <br />\n        ๒. ตั้งให้นายพลตรี พระยาพิชัยสงคราม  (แก๊บ  สรโยธิน)  และนายพันเอก พระยาศรีสิทธิสงคราม <br />\n(ดิ่น  ท่าราบ) เป็นรัฐมนตรีตั้งแต่วันที่  ๑๘ มิถุนายน  ๒๔๗๖<br />\n</span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n <img border=\"0\" width=\"30\" src=\"/library/studentshow/2549/m6-4/no01-08-36/president/picture/635198.gif\" height=\"30\" /><img border=\"0\" width=\"30\" src=\"/library/studentshow/2549/m6-4/no01-08-36/president/picture/635198.gif\" height=\"30\" />                                              <span style=\"color: #00ff00; background-color: #ffff00\"> <a href=\"/node/48596\">กลับหน้าแรก</a></span>                                                                 <img border=\"0\" width=\"30\" src=\"/library/studentshow/2549/m6-4/no01-08-36/president/picture/635198.gif\" height=\"30\" /><img border=\"0\" width=\"30\" src=\"/library/studentshow/2549/m6-4/no01-08-36/president/picture/635198.gif\" height=\"30\" />\n</p>\n<p align=\"left\">\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1720187268, expire = 1720273668, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:54e0e843bd0e932565182b5c568973f3' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:a04b32450e914de0ee06cfc298ef5053' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><span style=\"color: #ff0000; background-color: #000000\"><span style=\"font-size: 14pt; color: #92d050; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p></o:p></span></span></p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff0000; background-color: #000000\"><span style=\"color: #33cccc; background-color: #ffffff\"><img border=\"0\" width=\"86\" src=\"/library/studentshow/2549/m6-4/no01-08-36/president/picture/01.gif\" height=\"69\" /> </span></span><span style=\"color: #ff0000; background-color: #000000\"><span style=\"color: #33cccc; background-color: #ffffff\"><strong><u>นายกรัฐมนตรีคนที่ 1 พระยามโนปกรณนิติธาดา (ก้อน หุตะสิงห์)</u></strong></span></span> <img border=\"0\" width=\"86\" src=\"/library/studentshow/2549/m6-4/no01-08-36/president/picture/01.gif\" height=\"69\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"283\" src=\"/files/u19235/007.jpg\" height=\"400\" style=\"width: 267px; height: 364px\" />\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #666699\">ที่มาของรูป:</span> <a href=\"http://www.oknation.net/blog/home/blog_data/262/14262/images/MyKing/SonOfRama5/KingOfThai2477/TheEnd/007.jpg\">http://www.oknation.net/blog/home/blog_data/262/14262/images/MyKing/SonOfRama5/KingOfThai2477/TheEnd/007.jpg</a>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"color: #ff0000; background-color: #000000\"><span style=\"color: #33cccc; background-color: #ffffff\">ระยะเวลาดำรงตำแหน่ง <br />\nสมัยที่ 1 : คณะรัฐมนตรี คณะที่ 1 : 28 มิถุนายน 2475 - 9 ธันวาคม 2475 <br />\nสมัยที่ 2 : คณะรัฐมนตรี คณะที่ 2 : 10 ธันวาคม 2475 - 1 เมษายน 2476 <br />\nสมัยที่ 3 : คณะรัฐมนตรี คณะที่ 3 : 1 เมษายน 2476 - 20 มิถุนายน 2476 </span></span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"color: #ff0000; background-color: #000000\"><span style=\"color: #33cccc; background-color: #ffffff\"></span></span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"color: #ff0000; background-color: #000000\"><span style=\"color: #33cccc; background-color: #ffffff\">ประวัติ  พระยามโนปกรณนิติธาดาชื่อเดิมว่า &quot;ก้อน หุตะสิงห์&quot; เกิดที่จังหวัดพระนคร เมื่อวันที่ 15 กรกฎาคม 2427 เวลา 11.20 น. เป็นบุตรของนายฮวดกับนางแก้ว หุตะสิงห์ สมรสกับ คุณหญิงมโนปกรณนิติธาดา (นิตย์ สามเสน) เริ่มการศึกษาชั้นต้นที่วัดราชบูรณะ (วัดเลียบ) การศึกษาที่โรงเรียนสวนกุหลาบ วิทยาลัย โรงเรียนอัสสัมชัญวิทยาลัย และโรงเรียนกฎหมายกระทรวงยุติธรรม ตามลำดับ จนสำเร็จ เป็นเนติบัณฑิตสยาม และต่อมาได้ทุนเล่าเรียนหลวงไปศึกษาต่อที่ประเทศอังกฤษ จนสำเร็จเนติบัณฑิต อังกฤษ จาก The Middle Temple หลังจากสำเร็จเนติบัณฑิตสยามได้เข้ารับราชการที่กระทรวงยุติธรรม และได้รับ พระราชทานบรรดาศักดิ์ หลวงประดิษฐ์พิจารณ์การ จนกระทั่งได้เป็นสมุหพระนิติศาสตร์ และ พระยามโนปกรณนิติธาดาในที่สุดใน ปี พ.ศ. 2461 ได้รับความไว้วางพระราชหฤทัยจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ให้ดำรงตำแหน่งที่ปรึกษาราชการในพระองค์ เมื่อพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทรงลงพระปรมาภิไธยในพระราชบัญญัติ ธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว พ.ศ. 2475 </span></span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"color: #ff0000; background-color: #000000\"><span style=\"color: #33cccc; background-color: #ffffff\">เมื่อวันที่ 27 มิถุนายน 2475ได้มีการประชุม คณะราษฎรครั้งแรกเมื่อวันอังคารที่ 28 มิถุนายน 2475 เวลา 14.00 น. ณ พระที่นั่งอนันตสมาคม และที่ประชุมได้มีมติแต่งตั้งพระยามโนปกรณนิติธาดาเป็นประธานคณะกรรมการราษฎร ซึ่งเป็น ตำแหน่งสูงสุดในการบริหารเทียบเท่ากับตำแหน่งนายกรัฐมนตรีในปัจจุบัน พระยามโนปกรณนิติธาดาได้ตำรงตำแหน่งประธานคณะกรรมการราษฎรอยู่จนถึง วันที่ 9 ธันวาคม 2475 จึงได้ลาออก พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานรัฐธรรมนูญฉบับถาวรเมื่อวันที่ 10 ธันวาคม 2475 และพระยามโนปกรณนิติธาดาได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ตามรัฐธรรมนูญอีกครั้งหนึ่ง ต่อมา เมื่อวันที่ 1 เมษายน 2476 พระยามโนปกรณนิติธาดาได้กราบบังคมทูล พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ขอให้ทรงประกาศพระราชกฤษฎีกาปิดประชุมสภาผู้แทนราษฎร และตั้งคณะรัฐมนตรีชุดใหม่ โดยมีพระยามโนปกรณนิติธาดาเป็นนายกรัฐมนตรีอีกครั้งหนึ่ง เมื่อวันที่ 20 มิถุนายน 2476 พันเอก พระยาพหลพลพยุหเสนาได้เข้ายึดอำนาจ จากรัฐบาล พระยามโนปกรณนิติธาดาได้ลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี และย้ายไปพำนัก อยู่ที่ปีนังเป็นเวลา 16 ปีเศษ และได้ถึงแก่อสัญกรรม ณ ที่นั้น เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2491 รวมอายุได้ 64 ปีเศษ </span></span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"color: #ff0000; background-color: #000000\"><span style=\"color: #33cccc; background-color: #ffffff\"><span style=\"background-color: #ffff99\"><a href=\"/node/48596\">กลับหน้าแรก</a></span></span></span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"color: #ff0000; background-color: #000000\"><span style=\"color: #33cccc; background-color: #ffffff\"></span></span></p>\n', created = 1720187268, expire = 1720273668, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:a04b32450e914de0ee06cfc298ef5053' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

บุคคลสำคัญ

 นายกรัฐมนตรีคนที่ 1 พระยามโนปกรณนิติธาดา (ก้อน หุตะสิงห์)

ที่มาของรูป: http://www.oknation.net/blog/home/blog_data/262/14262/images/MyKing/SonOfRama5/KingOfThai2477/TheEnd/007.jpg

ระยะเวลาดำรงตำแหน่ง
สมัยที่ 1 : คณะรัฐมนตรี คณะที่ 1 : 28 มิถุนายน 2475 - 9 ธันวาคม 2475
สมัยที่ 2 : คณะรัฐมนตรี คณะที่ 2 : 10 ธันวาคม 2475 - 1 เมษายน 2476
สมัยที่ 3 : คณะรัฐมนตรี คณะที่ 3 : 1 เมษายน 2476 - 20 มิถุนายน 2476

ประวัติ  พระยามโนปกรณนิติธาดาชื่อเดิมว่า "ก้อน หุตะสิงห์" เกิดที่จังหวัดพระนคร เมื่อวันที่ 15 กรกฎาคม 2427 เวลา 11.20 น. เป็นบุตรของนายฮวดกับนางแก้ว หุตะสิงห์ สมรสกับ คุณหญิงมโนปกรณนิติธาดา (นิตย์ สามเสน) เริ่มการศึกษาชั้นต้นที่วัดราชบูรณะ (วัดเลียบ) การศึกษาที่โรงเรียนสวนกุหลาบ วิทยาลัย โรงเรียนอัสสัมชัญวิทยาลัย และโรงเรียนกฎหมายกระทรวงยุติธรรม ตามลำดับ จนสำเร็จ เป็นเนติบัณฑิตสยาม และต่อมาได้ทุนเล่าเรียนหลวงไปศึกษาต่อที่ประเทศอังกฤษ จนสำเร็จเนติบัณฑิต อังกฤษ จาก The Middle Temple หลังจากสำเร็จเนติบัณฑิตสยามได้เข้ารับราชการที่กระทรวงยุติธรรม และได้รับ พระราชทานบรรดาศักดิ์ หลวงประดิษฐ์พิจารณ์การ จนกระทั่งได้เป็นสมุหพระนิติศาสตร์ และ พระยามโนปกรณนิติธาดาในที่สุดใน ปี พ.ศ. 2461 ได้รับความไว้วางพระราชหฤทัยจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ให้ดำรงตำแหน่งที่ปรึกษาราชการในพระองค์ เมื่อพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทรงลงพระปรมาภิไธยในพระราชบัญญัติ ธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว พ.ศ. 2475

เมื่อวันที่ 27 มิถุนายน 2475ได้มีการประชุม คณะราษฎรครั้งแรกเมื่อวันอังคารที่ 28 มิถุนายน 2475 เวลา 14.00 น. ณ พระที่นั่งอนันตสมาคม และที่ประชุมได้มีมติแต่งตั้งพระยามโนปกรณนิติธาดาเป็นประธานคณะกรรมการราษฎร ซึ่งเป็น ตำแหน่งสูงสุดในการบริหารเทียบเท่ากับตำแหน่งนายกรัฐมนตรีในปัจจุบัน พระยามโนปกรณนิติธาดาได้ตำรงตำแหน่งประธานคณะกรรมการราษฎรอยู่จนถึง วันที่ 9 ธันวาคม 2475 จึงได้ลาออก พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานรัฐธรรมนูญฉบับถาวรเมื่อวันที่ 10 ธันวาคม 2475 และพระยามโนปกรณนิติธาดาได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ตามรัฐธรรมนูญอีกครั้งหนึ่ง ต่อมา เมื่อวันที่ 1 เมษายน 2476 พระยามโนปกรณนิติธาดาได้กราบบังคมทูล พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ขอให้ทรงประกาศพระราชกฤษฎีกาปิดประชุมสภาผู้แทนราษฎร และตั้งคณะรัฐมนตรีชุดใหม่ โดยมีพระยามโนปกรณนิติธาดาเป็นนายกรัฐมนตรีอีกครั้งหนึ่ง เมื่อวันที่ 20 มิถุนายน 2476 พันเอก พระยาพหลพลพยุหเสนาได้เข้ายึดอำนาจ จากรัฐบาล พระยามโนปกรณนิติธาดาได้ลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี และย้ายไปพำนัก อยู่ที่ปีนังเป็นเวลา 16 ปีเศษ และได้ถึงแก่อสัญกรรม ณ ที่นั้น เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2491 รวมอายุได้ 64 ปีเศษ

กลับหน้าแรก

สร้างโดย: 
นางมาลัยวรรณ จันทร เเละนางสาวโอปอล อิสระธานันท์

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 615 คน กำลังออนไลน์