• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:199cb55c4c779c1b26dbd33d2a0a544e' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\nความหมายและความสำคัญของประวัติศาสตร์</p>\n<p>ประวัติศาสตร์ เป็นวิชาที่ว่าด้วยพฤติกรรมหรือเรื่องราวของมนุษย์ที่เกิดขึ้นในอดีต ร่องรอยที่คนในอดีตสร้างเอาไว้ เป้าหมายของการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ คือ การเข้าใจสังคมในอดีตให้ใกล้เคียงกับความเป็นจริงมากที่สุด เพื่อนำมาเสริมสร้างความเข้าใจในสังคมปัจจุบัน</p>\n<p>ความสำคัญของประวัติศาสตร์ สามารถสรุปได้ดังนี้</p>\n<p>1. ประวัติศาสตร์ช่วยให้มนุษย์รู้จักตัวเอง กล่าวคือ ทำให้รู้บางสิ่งบางอย่างเกี่ยวกับขอบเขตของตน ขณะเดียวกันก็รู้เกี่ยวกับขอบเขตของคนอื่น</p>\n<p>2. ประวัติศาสตร์ช่วยให้เกิดความเข้าใจในมรดก วัฒนธรรมของมนุษยชาติ ความรู้ ความคิดอ่านกว้างขวาง ทันเหตุการณ์ ทันสมัย ทันคน และสามารถเข้าใจคุณค่าสิ่งต่างๆในสมัยของตนได้</p>\n<p>3. ประวัติศาสตร์ช่วยเสริมสร้างให้เกิดความระมัดระวัง ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ฝึกฝนความอดทน ความสุขุมรอบคอบ ความสามารถในการวินิจฉัย และมีความละเอียดเพียงพอที่จะเข้าใจปัญหาสลับซับซ้อน</p>\n<p>4. ประวัติศาสตร์เป็นเหตุการณ์ในอดีตที่มนุษย์สามารถนำมาเป็นบทเรียน และประยุกต์ใช้ในกระบวนการแก้ไขปัญหา และวิกฤตการณ์ต่างๆ ให้เป็นไปตามหลักจริยธรรม คุณธรรม ทั้งนี้เพื่อสันติสุขและพัฒนาการของสังคมมนุษย์เอง</p>\n<p>ลักษณะและประเภทของหลักฐานทางประวัติศาสตร์</p>\n<p>หลักฐานทางประวัติศาสตร์ หมายถึง ร่องรอยของสิ่งที่มนุษย์ประดิษฐ์ สร้างสรรค์ รวมทั้งร่องรอยของพฤติกรรมที่เกิดขึ้นในอดีต และเหลือตกค้างมาถึงปัจจุบัน ซึ่งสามารถใช้เป็นเครื่องนำทางในการศึกษา สืบค้น แสวงหาข้อเท็จจริงเกี่ยงกับเรื่องราวในอดีตของมนุษย์ได้ในระดับหนึ่ง</p>\n<p>หลักฐานทางประวัติศาสตร์ของไทยแบ่งออกเป็น 2 ประเภท ตามแบบสากล คือ </p>\n<p>1. หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร ได้แก่ จารึก บันทึก จดหมายเหตุร่วมสมัย ตำนาน พงศาวดาร วรรณกรรมต่างๆ บันทึกความทรงจำ เอกสารราชการ หนังสือพิมพ์ กฎหมาย งานวิจัย งานพิมพ์ทางประวัติศาสตร์ เป็นต้น ( ผนังถ้ำที่เป็นรูปวาดแต่สามารถแปลความหมายได้ จะถือว่าเป็นหลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร เช่น ผนังขิงสุสานฟาโรห์ )</p>\n<p>2. หลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร ได้แก่ หลักฐานทางโบราณคดี หลักฐานจากการบอกเล่าและสัมภาษณ์ หลักฐานด้านศิลปกรรม สถาปัตยกรรม นาฏกรรมและดนตรี หลักฐานทางมานุษยวิทยาและสังคมวิทยา เช่น ขนบธรรมเนียมประเพณี คติความเชื่อ วิถีชีวิตของกลุ่มชนต่างๆ ฯลฯ ( กำแพงเมือง เมืองโบราณ โครงกระดูก นับว่าเป็นหลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร )</p>\n<p>หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษรและหลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษรมีข้อดี และจำกัด ดังนี้</p>\n<p>ข้อดี<br />\nข้อจำกัด</p>\n<p>1. หลักฐานทั้ง 2 ช่วยในการสืบค้นความเป็นจริงในอดีต</p>\n<p>2. การมีหลักฐานหลายอย่างช่วยทำให้ได้ความจริงมากขึ้น</p>\n<p>3. การมีหลักฐานหลายอย่างสามารถตรวจสอบซึ่งกันและกัน เพื่อหาความชัดเจนได้ดีขึ้น<br />\n1. หากผู้บันทึกหลักฐานลายลักษณ์อักษรไม่รู้เบื้องหลังของเหตุการณ์ที่แท้จริง หรือมีอคติกับเรื่องราวที่บันทึก ก็จะไม่ได้ข้อมูลที่ถูกต้องตามความเป็นจริง</p>\n<p>2. หลักฐานลายลักษณ์อักษรต้องอาศัยการตีความ การซักถามจากบุคคล หรือผู้รู้ผู้เชี่ยวชาญประกอบด้วย ซึ่งอาจนำไปสู่การผิดพลาด หรือเข้าใจผิดได้</p>\n<p>\nข้อมูลทางประวัติศาสตร์ไทยจะอาศัยหลักฐานทั้งที่เป็นลายลักษณ์อักษร และไม่เป็นลายลักษณ์อักษร โดยแบ่งความสำคัญของหลักฐานออกเป็น 2 กลุ่ม คือ</p>\n<p>1.หลักฐานชั้นต้น หรือ หลักฐานปฐมภูมิ (Primary Sources ) หมายถึง บันทึกหรือคำบอกเล่าของผู้พบเห็น หรือผู้ที่อยู่ในเหตุการณ์ หรือผู้ร่วมสมัยกับเหตุการณ์ จดหมายเหตุ บันทึกการเดินทาง หลักฐานทางโบราณคดี แผนที่ ลายแทง เป็นต้น</p>\n<p>2. หลักฐานชั้นรอง ( Secondary Sources ) หมายถึง ผลงานการค้นคว้าที่เขียนขึ้น หรือเรียบเรียงขึ้นภายหลังเกิดเหตุการณ์นั้นแล้ว โดยอาศัยหลักฐานขั้นต้นประกอบ อาจเพิ่มเติมความคิดเห็น หรือเหตุผลอื่นๆ ประกอบ ส่วนใหญ่จะอยู่ในรูปของเอกสารต่างๆ เช่น พงศาวดาร ตำนาน เป็นต้น\n</p>\n', created = 1720191570, expire = 1720277970, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:199cb55c4c779c1b26dbd33d2a0a544e' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

หลักฐานทางประวัติศาสตร์

ความหมายและความสำคัญของประวัติศาสตร์

ประวัติศาสตร์ เป็นวิชาที่ว่าด้วยพฤติกรรมหรือเรื่องราวของมนุษย์ที่เกิดขึ้นในอดีต ร่องรอยที่คนในอดีตสร้างเอาไว้ เป้าหมายของการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ คือ การเข้าใจสังคมในอดีตให้ใกล้เคียงกับความเป็นจริงมากที่สุด เพื่อนำมาเสริมสร้างความเข้าใจในสังคมปัจจุบัน

ความสำคัญของประวัติศาสตร์ สามารถสรุปได้ดังนี้

1. ประวัติศาสตร์ช่วยให้มนุษย์รู้จักตัวเอง กล่าวคือ ทำให้รู้บางสิ่งบางอย่างเกี่ยวกับขอบเขตของตน ขณะเดียวกันก็รู้เกี่ยวกับขอบเขตของคนอื่น

2. ประวัติศาสตร์ช่วยให้เกิดความเข้าใจในมรดก วัฒนธรรมของมนุษยชาติ ความรู้ ความคิดอ่านกว้างขวาง ทันเหตุการณ์ ทันสมัย ทันคน และสามารถเข้าใจคุณค่าสิ่งต่างๆในสมัยของตนได้

3. ประวัติศาสตร์ช่วยเสริมสร้างให้เกิดความระมัดระวัง ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ฝึกฝนความอดทน ความสุขุมรอบคอบ ความสามารถในการวินิจฉัย และมีความละเอียดเพียงพอที่จะเข้าใจปัญหาสลับซับซ้อน

4. ประวัติศาสตร์เป็นเหตุการณ์ในอดีตที่มนุษย์สามารถนำมาเป็นบทเรียน และประยุกต์ใช้ในกระบวนการแก้ไขปัญหา และวิกฤตการณ์ต่างๆ ให้เป็นไปตามหลักจริยธรรม คุณธรรม ทั้งนี้เพื่อสันติสุขและพัฒนาการของสังคมมนุษย์เอง

ลักษณะและประเภทของหลักฐานทางประวัติศาสตร์

หลักฐานทางประวัติศาสตร์ หมายถึง ร่องรอยของสิ่งที่มนุษย์ประดิษฐ์ สร้างสรรค์ รวมทั้งร่องรอยของพฤติกรรมที่เกิดขึ้นในอดีต และเหลือตกค้างมาถึงปัจจุบัน ซึ่งสามารถใช้เป็นเครื่องนำทางในการศึกษา สืบค้น แสวงหาข้อเท็จจริงเกี่ยงกับเรื่องราวในอดีตของมนุษย์ได้ในระดับหนึ่ง

หลักฐานทางประวัติศาสตร์ของไทยแบ่งออกเป็น 2 ประเภท ตามแบบสากล คือ

1. หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร ได้แก่ จารึก บันทึก จดหมายเหตุร่วมสมัย ตำนาน พงศาวดาร วรรณกรรมต่างๆ บันทึกความทรงจำ เอกสารราชการ หนังสือพิมพ์ กฎหมาย งานวิจัย งานพิมพ์ทางประวัติศาสตร์ เป็นต้น ( ผนังถ้ำที่เป็นรูปวาดแต่สามารถแปลความหมายได้ จะถือว่าเป็นหลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร เช่น ผนังขิงสุสานฟาโรห์ )

2. หลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร ได้แก่ หลักฐานทางโบราณคดี หลักฐานจากการบอกเล่าและสัมภาษณ์ หลักฐานด้านศิลปกรรม สถาปัตยกรรม นาฏกรรมและดนตรี หลักฐานทางมานุษยวิทยาและสังคมวิทยา เช่น ขนบธรรมเนียมประเพณี คติความเชื่อ วิถีชีวิตของกลุ่มชนต่างๆ ฯลฯ ( กำแพงเมือง เมืองโบราณ โครงกระดูก นับว่าเป็นหลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร )

หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษรและหลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษรมีข้อดี และจำกัด ดังนี้

ข้อดี
ข้อจำกัด

1. หลักฐานทั้ง 2 ช่วยในการสืบค้นความเป็นจริงในอดีต

2. การมีหลักฐานหลายอย่างช่วยทำให้ได้ความจริงมากขึ้น

3. การมีหลักฐานหลายอย่างสามารถตรวจสอบซึ่งกันและกัน เพื่อหาความชัดเจนได้ดีขึ้น
1. หากผู้บันทึกหลักฐานลายลักษณ์อักษรไม่รู้เบื้องหลังของเหตุการณ์ที่แท้จริง หรือมีอคติกับเรื่องราวที่บันทึก ก็จะไม่ได้ข้อมูลที่ถูกต้องตามความเป็นจริง

2. หลักฐานลายลักษณ์อักษรต้องอาศัยการตีความ การซักถามจากบุคคล หรือผู้รู้ผู้เชี่ยวชาญประกอบด้วย ซึ่งอาจนำไปสู่การผิดพลาด หรือเข้าใจผิดได้

ข้อมูลทางประวัติศาสตร์ไทยจะอาศัยหลักฐานทั้งที่เป็นลายลักษณ์อักษร และไม่เป็นลายลักษณ์อักษร โดยแบ่งความสำคัญของหลักฐานออกเป็น 2 กลุ่ม คือ

1.หลักฐานชั้นต้น หรือ หลักฐานปฐมภูมิ (Primary Sources ) หมายถึง บันทึกหรือคำบอกเล่าของผู้พบเห็น หรือผู้ที่อยู่ในเหตุการณ์ หรือผู้ร่วมสมัยกับเหตุการณ์ จดหมายเหตุ บันทึกการเดินทาง หลักฐานทางโบราณคดี แผนที่ ลายแทง เป็นต้น

2. หลักฐานชั้นรอง ( Secondary Sources ) หมายถึง ผลงานการค้นคว้าที่เขียนขึ้น หรือเรียบเรียงขึ้นภายหลังเกิดเหตุการณ์นั้นแล้ว โดยอาศัยหลักฐานขั้นต้นประกอบ อาจเพิ่มเติมความคิดเห็น หรือเหตุผลอื่นๆ ประกอบ ส่วนใหญ่จะอยู่ในรูปของเอกสารต่างๆ เช่น พงศาวดาร ตำนาน เป็นต้น

สร้างโดย: 
เด็กหญิงภัทรภร บุญทวีมิตร ม.2/10 เลขที่ 22

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 591 คน กำลังออนไลน์