• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:565d9f01e42f241605c2fbfde6140c22' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #ffffff\"> .</span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #ffffff\">.</span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #ffffff\">.</span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #ffffff\">.</span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #ffffff\">.</span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" src=\"/files/u7190/Untitled-5.gif\" height=\"238\" width=\"500\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<img border=\"0\" src=\"/files/u7190/10.gif\" align=\"left\" height=\"512\" width=\"72\" /><img border=\"0\" src=\"/files/u7190/10_1.gif\" align=\"right\" height=\"512\" width=\"72\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n</div>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<strong><span style=\"color: #ea60a5\">อารยธรรมของชาวอะมอไรท์</span></strong> \n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"text-align: left\">\n<strong><span style=\"color: #8f4909\">1. กฎหมาย<br />\n          พระเจ้าฮัมมูราบีทรงกำหนดให้ตรากฎหมายฮัมมูราบี(The Law Code of Hammurabi) ขึ้น โดยจารึกเป็นอักษรคูนิฟอร์ม กฎหมายฮัมมูราบีนั้นถือเป็นกฎหมายฉบับแรกของโลก ภายในกล่าวถึงเรื่องการสมรส หย่าร้าง มรดก สิทธิทางสตรี ฯลฯ บทลงโทษของผู้ที่กระทำผิดนั้นค่อนข้างรุนแรง โดยใช้หลักตาต่อตา ฟันต่อฟัน (an eye for an eye, a tooth for a tooth)</span></strong>\n</p>\n<p><strong></strong>\n</p></div>\n<p>\n<strong><img border=\"0\" src=\"/files/u7190/44_1.jpg\" alt=\"ที่มา : http://home.comcast.net/~DiazStudents/whistory_units1.htm\" align=\"left\" height=\"315\" width=\"144\" /></strong>\n</p>\n<p>\n<strong> <span style=\"color: #ffffff\"><img border=\"0\" src=\"/files/u7190/81_code_hammurabi.jpg\" alt=\"ที่มา : http://tomgpalmer.com/2005/08/28/the-rule-of-law-yes-and-no/\" align=\"right\" height=\"300\" width=\"294\" /></span></strong>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<div style=\"text-align: left\">\n<img border=\"0\" src=\"/files/u7190/10.gif\" align=\"left\" height=\"512\" width=\"72\" /><img border=\"0\" src=\"/files/u7190/10_1.gif\" align=\"right\" height=\"512\" width=\"72\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<strong></strong>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<strong></strong>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<strong><span style=\"color: #ea60a5\">2. การปกครอง<br />\n          พระเจ้าฮัมมูราบีนั้นทรงมุ่งสร้างความสงบและความมั่งคั่ง ทำให้จักรวรรดิบาบิโลเนียนนั้นขยายกว้างขวางในสมัยของพระองค์</span></strong>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<br />\n<strong><span style=\"color: #8f4909\">3. วรรณกรรม<br />\n          วรรณกรรมที่เด่นที่สุดของชาวอะมอไรท์ คือ มหากาพย์กิลกาเมช (The Epic of Gilgamesh) โดยมีเค้าโครงเรื่องมาจากตำนานของชาวสุเมเรียนเกี่ยงกับเรื่องน้ำท่วมโลก<br />\n</span></strong>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<strong>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" src=\"/files/u7190/_____________________________________________1.jpg\" alt=\"ที่มา : http://jaydambrosio.tripod.com/mesopotamia.html\" height=\"229\" width=\"200\" />\n</div>\n<p></p></strong>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<strong></strong>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<strong></strong>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<strong></strong>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<strong></strong>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<strong></strong>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<strong></strong>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<strong></strong>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<strong></strong>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<strong></strong>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<strong></strong>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<strong></strong>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<strong></strong>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<strong></strong>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<strong></strong>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<strong></strong>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<strong></strong>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<strong></strong>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<strong></strong>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<strong></strong>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<strong></strong>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<strong></strong>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<strong></strong>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<strong></strong>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<strong><span style=\"color: #ea60a5\">4. ประติมากรรม<br />\n          ประติมากรรมส่วนใหญ่ที่ขุดพบเป็นแบบนูนสูง (High relief) นิยมหล่อด้วยโลหะหรือแกะสลักจากหิน เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับพระราชประวัติของพระมหากษัตริย์ หรือรูปพิธีกรรมทางศาสนา</span> </strong>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<strong></strong>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<strong></strong>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<br />\n<strong>          <span style=\"color: #8f4909\">ประติมากรรมในสมัยนี่ขุดพบได้มีดังนี้</span></strong>\n</div>\n<p><strong></strong></p>\n<div style=\"text-align: left\">\n<br />\n          <span style=\"color: #ea60a5\">4.1 ประติมากรรมแบบนูนสูง เป็นรูปเทพแห่งพระอาทิตย์ทรงมอบกฎหมายให้แก่พระเจ้าฮัมมูราบี ที่ฐานมีข้อความที่เป็นอักษรคูนิฟอร์ม งานชิ้นนี้สร้างขึ้นเพื่อ</span> <span style=\"color: #ea60a5\">แสดงว่าประมวลกฎหมายที่พระเจ้าฮัมมูราบีใช้ในการปกครองนั้น พระองค์ทรงรับมาจากพระเจ้า เพราะฉะนั้นผู้ที่ละเมิดต่อกฎหมายก็เปรียบเสมือนผู้ที่ละเมิดต่อพระเจ้า นอกจาก</span> <span style=\"color: #ea60a5\">จะถูกลง<span style=\"color: #ea60a5\"><span style=\"color: #ea60a5\"><img border=\"0\" src=\"/files/u7190/10.gif\" align=\"left\" height=\"512\" width=\"72\" /></span></span>โทษ<img border=\"0\" src=\"/files/u7190/10_1.gif\" align=\"right\" height=\"512\" width=\"72\" />ทางกฎหมายแล้วยังต้องถูกลงโทษจากพระเจ้าอีกด้วย ภาพนี้จะมีความคล้ายคลึงกับเรื่องราวของโมเสส ตอนรับบัญญัติ 10 ประการจากพระเจ้าเพื่อใช้ในการปกครองชาวฮิบรู นักโบราณคดีสันนิษฐานว่าศิลปกรรมชิ้นนี้สร้างขึ้นเมื่อประมาณ 1,750 B.C. ปัจจุบันตั้งอยู่ที่พิพิธภัณฑ์ ลูฟ (Louvre) </span>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<span style=\"color: #ea60a5\">ประเทศฝรั่งเศส</span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" src=\"/files/u7190/82.jpg\" alt=\"ที่มา : http://www.flickr.com/photos/mharrsch/320539991/\" height=\"267\" width=\"200\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<br />\n          <span style=\"color: #8f4909\">4.2 ประติมากรรมแบบลอยตัว <br />\n-  รูปพระเศียรของพระมหากษัตริย์ สันนิษฐานว่าอาจเป็นพระเศียรของพระเจ้าฮัมมูราบี งานชิ้นนี้สร้างขึ้นในสมัยบาบิโลเนีย โดยแกะสลักจากหินแกรนิต (Granite) พบที่เมืองสุสา (Susa)</span>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<br />\n<span style=\"color: #ea60a5\">-  รูปสิงโต (1,900 1,800 B.C.) สร้างด้วยบรอนซ์ (Bronze) ดวงตาฝังหินสี เชื่อกันว่าสิงโตตัวนี้อาจเป็น 1 ใน 2 ตัวที่เฝ้าหน้าประตูวิหาร (Dagan) พบที่เมืองมารี (Mari) ซึ่งเป็นศูนย์กลางทางศิลปกรรมของอาณาจักรบาบิโลเนียและอัสซีเรีย</span>\n</div>\n<p><span style=\"color: #ea60a5\"></span></p>\n<p>\n<span style=\"color: #ea60a5\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ea60a5\"></span>\n</p>\n<div style=\"text-align: left\">\n\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" src=\"/files/u7190/Untitled-5_1.gif\" height=\"238\" width=\"500\" />\n</div>\n</div>\n<p></p>\n', created = 1729542401, expire = 1729628801, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:565d9f01e42f241605c2fbfde6140c22' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

อารยธรรมอะมอไรท์

รูปภาพของ sss27134
 .
.
.
.
.

 

อารยธรรมของชาวอะมอไรท์

 

1. กฎหมาย
          พระเจ้าฮัมมูราบีทรงกำหนดให้ตรากฎหมายฮัมมูราบี(The Law Code of Hammurabi) ขึ้น โดยจารึกเป็นอักษรคูนิฟอร์ม กฎหมายฮัมมูราบีนั้นถือเป็นกฎหมายฉบับแรกของโลก ภายในกล่าวถึงเรื่องการสมรส หย่าร้าง มรดก สิทธิทางสตรี ฯลฯ บทลงโทษของผู้ที่กระทำผิดนั้นค่อนข้างรุนแรง โดยใช้หลักตาต่อตา ฟันต่อฟัน (an eye for an eye, a tooth for a tooth)

ที่มา : http://home.comcast.net/~DiazStudents/whistory_units1.htm

 ที่มา : http://tomgpalmer.com/2005/08/28/the-rule-of-law-yes-and-no/

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

2. การปกครอง
          พระเจ้าฮัมมูราบีนั้นทรงมุ่งสร้างความสงบและความมั่งคั่ง ทำให้จักรวรรดิบาบิโลเนียนนั้นขยายกว้างขวางในสมัยของพระองค์

3. วรรณกรรม
          วรรณกรรมที่เด่นที่สุดของชาวอะมอไรท์ คือ มหากาพย์กิลกาเมช (The Epic of Gilgamesh) โดยมีเค้าโครงเรื่องมาจากตำนานของชาวสุเมเรียนเกี่ยงกับเรื่องน้ำท่วมโลก
ที่มา : http://jaydambrosio.tripod.com/mesopotamia.html

4. ประติมากรรม
          ประติมากรรมส่วนใหญ่ที่ขุดพบเป็นแบบนูนสูง (High relief) นิยมหล่อด้วยโลหะหรือแกะสลักจากหิน เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับพระราชประวัติของพระมหากษัตริย์ หรือรูปพิธีกรรมทางศาสนา

          ประติมากรรมในสมัยนี่ขุดพบได้มีดังนี้


          4.1 ประติมากรรมแบบนูนสูง เป็นรูปเทพแห่งพระอาทิตย์ทรงมอบกฎหมายให้แก่พระเจ้าฮัมมูราบี ที่ฐานมีข้อความที่เป็นอักษรคูนิฟอร์ม งานชิ้นนี้สร้างขึ้นเพื่อ แสดงว่าประมวลกฎหมายที่พระเจ้าฮัมมูราบีใช้ในการปกครองนั้น พระองค์ทรงรับมาจากพระเจ้า เพราะฉะนั้นผู้ที่ละเมิดต่อกฎหมายก็เปรียบเสมือนผู้ที่ละเมิดต่อพระเจ้า นอกจาก จะถูกลงโทษทางกฎหมายแล้วยังต้องถูกลงโทษจากพระเจ้าอีกด้วย ภาพนี้จะมีความคล้ายคลึงกับเรื่องราวของโมเสส ตอนรับบัญญัติ 10 ประการจากพระเจ้าเพื่อใช้ในการปกครองชาวฮิบรู นักโบราณคดีสันนิษฐานว่าศิลปกรรมชิ้นนี้สร้างขึ้นเมื่อประมาณ 1,750 B.C. ปัจจุบันตั้งอยู่ที่พิพิธภัณฑ์ ลูฟ (Louvre)
ประเทศฝรั่งเศส
ที่มา : http://www.flickr.com/photos/mharrsch/320539991/

          4.2 ประติมากรรมแบบลอยตัว
-  รูปพระเศียรของพระมหากษัตริย์ สันนิษฐานว่าอาจเป็นพระเศียรของพระเจ้าฮัมมูราบี งานชิ้นนี้สร้างขึ้นในสมัยบาบิโลเนีย โดยแกะสลักจากหินแกรนิต (Granite) พบที่เมืองสุสา (Susa)

-  รูปสิงโต (1,900 1,800 B.C.) สร้างด้วยบรอนซ์ (Bronze) ดวงตาฝังหินสี เชื่อกันว่าสิงโตตัวนี้อาจเป็น 1 ใน 2 ตัวที่เฝ้าหน้าประตูวิหาร (Dagan) พบที่เมืองมารี (Mari) ซึ่งเป็นศูนย์กลางทางศิลปกรรมของอาณาจักรบาบิโลเนียและอัสซีเรีย

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 419 คน กำลังออนไลน์