• user warning: Duplicate entry '536306482' for key 'PRIMARY' query: INSERT INTO accesslog (title, path, url, hostname, uid, sid, timer, timestamp) values('สวนลอยแห่งบาบิโลน (The Hanging Garden Of Babylon)', 'node/40868', '', '18.226.17.255', 0, 'cde96460e231b7ce8a505fc2228c7ec3', 124, 1729542411) in /home/tgv/htdocs/modules/statistics/statistics.module on line 63.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:2c6a28045c09246f3f51017510a5f375' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><div style=\"text-align: center\" align=\"center\">\n<span style=\"color: #ffffff\">.</span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\" align=\"center\">\n<span style=\"color: #ffffff\">.</span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\" align=\"center\">\n<span style=\"color: #ffffff\">.</span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\" align=\"center\">\n<span style=\"color: #ffffff\">.</span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\" align=\"center\">\n<span style=\"color: #ffffff\">.</span> \n</div>\n<div style=\"text-align: center\" align=\"center\">\n         <span style=\"color: #ffffff\"><img border=\"0\" src=\"/files/u7190/Untitled-4.gif\" align=\"middle\" height=\"238\" width=\"500\" /></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\" align=\"center\">\n<img border=\"12\" src=\"/files/u7190/2.gif\" align=\"left\" height=\"600\" width=\"64\" /><img border=\"12\" src=\"/files/u7190/2.gif\" align=\"right\" height=\"600\" width=\"64\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\" align=\"left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\" align=\"left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\" align=\"left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\" align=\"left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\" align=\"left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\" align=\"left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\" align=\"left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\" align=\"left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\" align=\"left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\" align=\"left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\" align=\"left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\" align=\"left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\" align=\"left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\" align=\"left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\" align=\"left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\" align=\"left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\" align=\"left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\" align=\"left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\" align=\"left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\" align=\"left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\" align=\"left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\" align=\"left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\" align=\"left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\" align=\"left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\" align=\"left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\" align=\"left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\" align=\"left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\" align=\"left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\" align=\"left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\" align=\"left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\" align=\"left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\" align=\"left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\" align=\"left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\" align=\"left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\" align=\"left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\" align=\"left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\" align=\"left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: left\" align=\"left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: left\" align=\"left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: left\" align=\"left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: left\" align=\"left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: left\" align=\"left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: left\" align=\"left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: left\" align=\"left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: left\" align=\"left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: left\" align=\"left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: left\" align=\"left\">\n         \n</div>\n<div style=\"text-align: left\" align=\"left\">\n</div>\n<p style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" src=\"/files/u7190/Untitled-1_copy.jpg\" height=\"263\" width=\"350\" />\n</p>\n<div style=\"text-align: left\" align=\"left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: left\" align=\"left\">\n  \n</div>\n<div style=\"text-align: left\" align=\"left\">\n          <span style=\"color: #ea60a5\"><strong>เมโสโปเตเมีย เป็นแหล่งอารยธรรมหนึ่งที่เก่าแก่ที่สุดในตะวันออกกลาง ปัจจุบันคือประเทศอิรัก เมืองหลวงคือกรุงแบกแดด คำว่า “เมโสโปเตเมีย” (Mesopotamia ; กรีก : Μεσοποταμία : เมโสโปตาเมีย) เป็นคำที่มาจากภาษากรีก meso แปลว่า กลาง ส่วน po tamia แปลว่า แม่น้ำ ดังนั้นคำว่าเมโสโปเตเมียจึงแปลว่า “ที่ระหว่างแม่น้ำ” โดยมีความหมายตามจริงคือ “ดินแดนระหว่างแม่น้ำไทกรีส (Tigris) และยูเฟรตีส (Euphrates)” ระหว่างแม่น้ำทั้งสองสาย แม่น้ำทั้ง 2 สายนี้มีต้นกำเนิดมาจากทางเหนือ คือ เทือกเขาอาร์มีเนียในเอเชียไมเนอร์ แล้วไหลลงมาทางใต้สู่อ่าวเปอร์เซีย นอกจากนี้ดินแดนดังกล่าวอาจเรียกได้อีกชื่อหนึ่งว่า “ดินแดนพระจันทร์เสี้ยว (Fertiel Crescent)” เพราะมีลักษณะเป็นรูปครึ่งวงกลมผืนใหญ่ ทอดโค้งขึ้นไปทางฝั่งทะเลเมดิเตอร์เรเนียนแล้วไปจรดที่อ่าวเปอร์เซีย</strong></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\" align=\"left\">\n<br />\n          <strong><span style=\"color: #89481a\">เมโสโปเตเมีย เป็นดินแดนที่มีอากาศร้อนและฝนตกน้อย น้ำที่ได้รับส่วนใหญ่มาจากแม่น้ำบนเทือกเขาในอาร์มิเนีย(Armenia) เมื่อถึงฤดูร้อนหิมะเหล่านี้จะละลายกลายเป็นน้ำ และพัดพาเอาโคลนตมมาทับถมที่ชายฝั่งทั้งสองด้าน ทำให้พื้นดินในแถบนั้นมีความอุดมสมบูรณ์เหมาะแก่การเพาะปลูก บางครั้งหิมะละลายมากเกินไปทำให้น้ำในแม่น้ำท่วมสร้างความเสียหายให้กับบ้านเมือง ไร่นา ทรัพย์สินและผู้คนที่อาศัยอยู่ในบริเวณนั้นเป็นอย่างมาก ดังนั้นในสภาพแวดล้อมเช่นนี้จะต้องอาศัยระบบการชลประทานที่มีประสิทธิภาพ จึงจะทำให้เกิดผลดีต่อการทำกสิกรรม</span></strong>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\" align=\"left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: left\" align=\"left\">\n<br />\n        \n</div>\n<div style=\"text-align: left\" align=\"left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: left\" align=\"left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: left\" align=\"left\">\n<p style=\"text-align: center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n&nbsp;\n</p>\n<div style=\"text-align: left\" align=\"left\">\n<img border=\"12\" src=\"/files/u7190/2.gif\" align=\"left\" height=\"600\" width=\"64\" /><img border=\"12\" src=\"/files/u7190/2.gif\" align=\"right\" height=\"600\" width=\"64\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: left\" align=\"left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: left\" align=\"left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: left\" align=\"left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: left\" align=\"left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: left\" align=\"left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: left\" align=\"left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: left\" align=\"left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: left\" align=\"left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: left\" align=\"left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: left\" align=\"left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: left\" align=\"left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: left\" align=\"left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: left\" align=\"left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: left\" align=\"left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: left\" align=\"left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: left\" align=\"left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: left\" align=\"left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: left\" align=\"left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: left\" align=\"left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: left\" align=\"left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: left\" align=\"left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: left\" align=\"left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: left\" align=\"left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: left\" align=\"left\">\n         \n</div>\n<div style=\"text-align: left\" align=\"left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: left\" align=\"left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: left\" align=\"left\">\n         \n</div>\n<div style=\"text-align: left\" align=\"left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: left\" align=\"left\">\n  \n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" src=\"/files/u7190/36.jpg\" alt=\"ที่มา : http://www.garethstevens.com/expand.asp?ProductCode=0-8368-4199-9\" height=\"300\" width=\"232\" />\n</div>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\" align=\"left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: left\" align=\"left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: left\" align=\"left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: left\" align=\"left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: left\" align=\"left\">\n         \n</div>\n<div style=\"text-align: left\" align=\"left\">\n          <strong><span style=\"color: #ea60a5\">ความอุดมสมบูรณ์ของลุ่มแม่น้ำเป็นสิ่งที่ดึงดูดให้ผู้คนเข้ามาอาศัยในบริเวณนี้เป็นส่วนมาก แต่ด้วยความร้อนของอากาศทำให้ผู้คนที่อาศัยอยู่ขาดความกระตือรือร้น เมื่อมีผู้อื่นเข้ามารุกรานจึงต้องพ่ายแพ้ให้กับผู้ที่เข้ามาใหม่ เมื่ออยู่ไปนานๆ ก็ประสบสภาวะเดียวกัน ผู้รุกรานส่วนใหญ่มักจะมาจากบริเวณหุบเขาที่ราบสูงทางภาคเหนือ และตะวันออกซึ่งเป็นภูเขาหินปูนไม่มีความอุดมสมบูรณ์เท่ากับแถบลุ่มแม่น้ำ นอกจากนี้ยังมีผู้รุกรานที่มาจากทะเลทรายซีเรียและอารเบีย ทำให้ดินแดนแห่งนี้เป็นเรื่องราวที่เกี่ยวกับอารยธรรมของชนกลุ่มต่างๆ หลายกลุ่ม</span></strong>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\" align=\"left\">\n<br />\n          <strong><span style=\"color: #89481a\">ชนกลุ่มแรกที่สร้างอารยธรรมเมโสโปเตเมียขึ้นคือชาวสุเมเรียน ผู้คิดค้นและประดิษฐ์ตัวอักษรขึ้นเป็นครั้งแรกในโลก อารยธรรมที่ชาวสุเมเรียนคิดค้นขึ้นนั้นเป็นพื้นฐานที่สำคัญของอารยธรรมเมโสโปเตเมีย สถาปัตยธรรม ตัวอักษร ศิลปกรรมอื่นๆ ตลอดจนทัศนคติที่มีต่อชีวิตและเทพเจ้าก็ยังคงมีอิทธิพลอยู่ในช่วงสมัยโบราณ</span></strong>\n</div>\n<p style=\"text-align: center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" src=\"/files/u7190/Untitled-4_1.gif\" align=\"middle\" height=\"238\" width=\"500\" />\n</p>\n<div style=\"text-align: left\" align=\"left\">\n</div>\n</div>\n', created = 1729542421, expire = 1729628821, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:2c6a28045c09246f3f51017510a5f375' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:f04f3a6783b4d36cfd54642f31536274' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><img border=\"0\" src=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-kiss.gif\" alt=\"Kiss\" title=\"Kiss\" /><strong><span style=\"color: #ff9900\">เค้าให้ทำสื่อการเรียนรู้ไม่ใช่หรอ??</span></strong></p>\n', created = 1729542421, expire = 1729628821, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:f04f3a6783b4d36cfd54642f31536274' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

กำเนิดอารยธรรมเมโสโปเตเมีย

รูปภาพของ sss27134
.
.
.
.
. 
        
         

  
          เมโสโปเตเมีย เป็นแหล่งอารยธรรมหนึ่งที่เก่าแก่ที่สุดในตะวันออกกลาง ปัจจุบันคือประเทศอิรัก เมืองหลวงคือกรุงแบกแดด คำว่า “เมโสโปเตเมีย” (Mesopotamia ; กรีก : Μεσοποταμία : เมโสโปตาเมีย) เป็นคำที่มาจากภาษากรีก meso แปลว่า กลาง ส่วน po tamia แปลว่า แม่น้ำ ดังนั้นคำว่าเมโสโปเตเมียจึงแปลว่า “ที่ระหว่างแม่น้ำ” โดยมีความหมายตามจริงคือ “ดินแดนระหว่างแม่น้ำไทกรีส (Tigris) และยูเฟรตีส (Euphrates)” ระหว่างแม่น้ำทั้งสองสาย แม่น้ำทั้ง 2 สายนี้มีต้นกำเนิดมาจากทางเหนือ คือ เทือกเขาอาร์มีเนียในเอเชียไมเนอร์ แล้วไหลลงมาทางใต้สู่อ่าวเปอร์เซีย นอกจากนี้ดินแดนดังกล่าวอาจเรียกได้อีกชื่อหนึ่งว่า “ดินแดนพระจันทร์เสี้ยว (Fertiel Crescent)” เพราะมีลักษณะเป็นรูปครึ่งวงกลมผืนใหญ่ ทอดโค้งขึ้นไปทางฝั่งทะเลเมดิเตอร์เรเนียนแล้วไปจรดที่อ่าวเปอร์เซีย

          เมโสโปเตเมีย เป็นดินแดนที่มีอากาศร้อนและฝนตกน้อย น้ำที่ได้รับส่วนใหญ่มาจากแม่น้ำบนเทือกเขาในอาร์มิเนีย(Armenia) เมื่อถึงฤดูร้อนหิมะเหล่านี้จะละลายกลายเป็นน้ำ และพัดพาเอาโคลนตมมาทับถมที่ชายฝั่งทั้งสองด้าน ทำให้พื้นดินในแถบนั้นมีความอุดมสมบูรณ์เหมาะแก่การเพาะปลูก บางครั้งหิมะละลายมากเกินไปทำให้น้ำในแม่น้ำท่วมสร้างความเสียหายให้กับบ้านเมือง ไร่นา ทรัพย์สินและผู้คนที่อาศัยอยู่ในบริเวณนั้นเป็นอย่างมาก ดังนั้นในสภาพแวดล้อมเช่นนี้จะต้องอาศัยระบบการชลประทานที่มีประสิทธิภาพ จึงจะทำให้เกิดผลดีต่อการทำกสิกรรม

        

 

 

         
         
 
ที่มา : http://www.garethstevens.com/expand.asp?ProductCode=0-8368-4199-9
         
          ความอุดมสมบูรณ์ของลุ่มแม่น้ำเป็นสิ่งที่ดึงดูดให้ผู้คนเข้ามาอาศัยในบริเวณนี้เป็นส่วนมาก แต่ด้วยความร้อนของอากาศทำให้ผู้คนที่อาศัยอยู่ขาดความกระตือรือร้น เมื่อมีผู้อื่นเข้ามารุกรานจึงต้องพ่ายแพ้ให้กับผู้ที่เข้ามาใหม่ เมื่ออยู่ไปนานๆ ก็ประสบสภาวะเดียวกัน ผู้รุกรานส่วนใหญ่มักจะมาจากบริเวณหุบเขาที่ราบสูงทางภาคเหนือ และตะวันออกซึ่งเป็นภูเขาหินปูนไม่มีความอุดมสมบูรณ์เท่ากับแถบลุ่มแม่น้ำ นอกจากนี้ยังมีผู้รุกรานที่มาจากทะเลทรายซีเรียและอารเบีย ทำให้ดินแดนแห่งนี้เป็นเรื่องราวที่เกี่ยวกับอารยธรรมของชนกลุ่มต่างๆ หลายกลุ่ม

          ชนกลุ่มแรกที่สร้างอารยธรรมเมโสโปเตเมียขึ้นคือชาวสุเมเรียน ผู้คิดค้นและประดิษฐ์ตัวอักษรขึ้นเป็นครั้งแรกในโลก อารยธรรมที่ชาวสุเมเรียนคิดค้นขึ้นนั้นเป็นพื้นฐานที่สำคัญของอารยธรรมเมโสโปเตเมีย สถาปัตยธรรม ตัวอักษร ศิลปกรรมอื่นๆ ตลอดจนทัศนคติที่มีต่อชีวิตและเทพเจ้าก็ยังคงมีอิทธิพลอยู่ในช่วงสมัยโบราณ

 

รูปภาพของ sss27106

Kissเค้าให้ทำสื่อการเรียนรู้ไม่ใช่หรอ??

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 421 คน กำลังออนไลน์