• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:2f318fe3a09ff87d3dc90f1784b30a80' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<span style=\"color: #666699\"><span style=\"color: #003366\"><span style=\"color: #666699\">     </span></span><span style=\"color: #003366\"><strong>ปูนซีเมนต์</strong></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #666699\"><strong><span style=\"color: #003366\"></span></strong></span></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"200\" src=\"/files/u18295/poon.jpg\" height=\"263\" style=\"width: 167px; height: 236px\" />\n</div>\n<p>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #666699\"><span style=\"color: #99ccff\">ที่มา : </span><a href=\"http://www.tiche.org/forum/uploads/Guest/FD5_tiger1.jpg\"><span style=\"color: #99ccff\">http://www.tiche.org/forum/uploads/Guest/FD5_tiger1.jpg</span></a></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #666699\"><span style=\"color: #003366\"><span style=\"color: #666699\">     </span></span><span style=\"color: #666699\">ปูนซีเมนต์ หมายถึง ผงผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการบดปูนเม็ด ซึ่งเกิดจากการเผาส่วนผสมต่างๆ ได้แก่ แคลเซียมคาร์บอเนต ซิลิกา อะลูมินา และออกไซด์จากเหล็ก สัดส่วนของวัตถุดิบแตกต่างกันจะทำให้มีสมบัติแตกต่างกัน</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #666699\"><span style=\"color: #666699\"><span style=\"color: #003366\"><span style=\"color: #666699\"><span style=\"color: #333333\">     </span></span></span><span style=\"color: #003366\"><strong>วัตถุดิบเนื้อปูน</strong></span> ร้อยละ 80 โดยมวล  เป็นหินปูน(มีแร่แคลไซด์)  ดินสอพอง หรือ ดินมาร์ล หินอ่อน หินชอล์ก</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #666699\"><span style=\"color: #666699\"><span style=\"color: #003366\"><span style=\"color: #666699\"><span style=\"color: #333333\">    </span><span style=\"color: #003366\"><strong> </strong></span></span></span><strong><span style=\"color: #003366\">วัตถุดิบเนื้อดิน</span></strong> มีเนื้อปูนอะลูมินา ซิลิกา หรือออกไซด์ของเหล็กปริมาณสูง ใช้ในกรณีที่ส่วนผสมของเนื้อปูนและเนื้อดินมีองค์ประกอบไม่เป็นไปตามกำหนด เช่น อะลูมินาต่ำต้องเติมแร่บอกไซด์  ถ้ามีเหล็กต่ำก็เติมแร่ที่มีเหล็กออกไซด์หรือเศษเหล็ก</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #666699\"><span style=\"color: #666699\"><span style=\"color: #003366\"><span style=\"color: #666699\"><span style=\"color: #333333\">     </span></span></span><span style=\"color: #003366\"><strong>สารเติมแต่ง</strong></span>  เติมภายหลังการเผาเพื่อปรับสมบัติบางประการ เช่น การเติบยิปซัมเพื่อหน่วงเวลาให้ปูนที่ผสมกันน้ำแข็งตัวช้าลง<br />\nกระบวนการที่ใช้ผลิตมีทั้งแบบเผาเปียก และ เผาแห้ง ซึ่งขึ้นอยู่กับความชื้นและชนิดของวัตถุดิบที่ใช้</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #666699\"><span style=\"color: #666699\">     - แบบเผาเปียก ใช้ในกรณีความชื้นสูง เช่น มีดินดำ ดินขาว หรือ ดินเหนียวเป็นส่วนประกอบ   <br />\n    <span style=\"color: #666699\">กระบวนการผลิต</span> นำวัตถุดิบผสมกันตรมสัดส่วนบดให้ละเอียดแล้วนำมาตีรวมกับน้ำจนเป็นน้ำดิน สูบน้ำดินที่ผ่านกรรมวิธีปรับคุณภาพมาสู่เตาเผา จะได้เป็นปูนเม็ดเก็บไว้ในไซโล เมื่อนำปูนเม็ดผสมกับยิปซัมแล้วบดละเอียดจะได้ปูนซีเมนต์ผง<br />\n       การผลิตแบบนี้ใช้พลังงานมากและต้นทุนสูงจึงไม่นิยม</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #666699\"><span style=\"color: #666699\">     - แบบเผาแห้ง ใช้ในกรณีความชื้นต่ำ เช่น มีหินปูน หรือ หินดินดานเป็นส่วนประกอบ<br />\n    กระบวนการผลิต นำวัตถุดิบทั้งหมดมาบดผสมกันในอัตราส่วนที่เหมาะสมแล้วนำไปเผาแบบฝุ่นแห้ง</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #666699\"><span style=\"color: #666699\">    เมื่อนำปูนซีเมนต์มาผสมกับน้ำจะจับตัวแข็งและมีกำลังอัดสูง จึงใช้เป็นตัวประสานวัสดุชนิดเม็ด เช่น ทรายหยาบ กรวด และหินให้เกาะตัวแน่นเป็นคอนกรีตได้ ปูนซีเมนต์อาจแบ่งได้เป็น 2 ประเภท ดังนี้  </span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #666699\"><span style=\"color: #666699\">    <strong>1. ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์</strong>   ได้จากการบดปูนเม็ดกับยิปซัม แบ่งออกเป็น 5 ประเภท</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #666699\"><span style=\"color: #666699\">       ประเภทที่ 1 ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ธรรมดา ใช้สำหรับงานการก่อสร้างตามปกติทั่วไป</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #666699\"><span style=\"color: #666699\">       ประเภทที่ 2 ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์สำหรับใช้ในการทำคอนกรีตหรือผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมที่เกิดความร้อนและทนซัลเฟตได้ปานกลาง</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #666699\"><span style=\"color: #666699\">       ประเภทที่ 3 ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ประเภทเกิดแรงเร็วสูง ใช้ในงานคอนกรีตที่ต้องการถอดแบบได้เร็ว หรืองานที่ต้องการใช้เร็วเพื่อแข่งกับเวลา</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #666699\"><span style=\"color: #666699\">       ประเภทที่ 4 ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ประเภทเกิดความร้อนต่ำ ใช้ในงานคอนกรีตที่มีเนื้อหนาๆ</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #666699\"><span style=\"color: #666699\">       ประเภทที่ 5 ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ประเภททนซัลเฟตได้สูง ใช้ในงานก่อสร้างบริเวณดินที่มีความเค็มปนอยู่ เช่น ในทะเลหรือตามชายฝั่ง </span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #666699\"><span style=\"color: #666699\"><span style=\"color: #666699\"><span style=\"color: #666699\">    </span></span><span style=\"color: #666699\"><strong>2. ปูนซีเมนต์ผสม</strong></span> มีแรงอัดต่ำลงกว่าปูนซีเมนต์ธรรมดาเล็กน้อยเนื่องจากมีการเติมทรายหรือหินปูนละเอียดประมาณร้อยละ 25 ลงไปบดพร้อมกับปูนเม็ด เหมาะสำหรับใช้ในงานก่อสร้างที่ไม่ต้องรับน้ำหนักมาก หรืองานคอนกรีตที่ไม่มีการยืดหดมาก เช่น งานก่อ งานฉาบ เทพื้น  ทำกระเบื้องมุงหลังคา หล่อท่อ</span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n <img border=\"0\" width=\"119\" src=\"/files/u18295/52655.gif\" height=\"11\" />  <img border=\"0\" width=\"119\" src=\"/files/u18295/52655.gif\" height=\"11\" />  <img border=\"0\" width=\"119\" src=\"/files/u18295/52655.gif\" height=\"11\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ffffff\"><a href=\"/node/40523\" title=\"Back\"><img border=\"0\" width=\"36\" src=\"/files/u18295/555-crop2.jpg\" height=\"40\" /></a>1234</span> <a href=\"/node/40508\" title=\"Home\"><img border=\"0\" width=\"48\" src=\"/files/u18295/bg.jpg\" height=\"45\" /></a><span style=\"color: #ffffff\">1234<a href=\"/node/40530\" title=\"Next\"><img border=\"0\" width=\"37\" src=\"/files/u18295/555-crop.jpg\" height=\"38\" /></a></span>\n</p>\n', created = 1715603216, expire = 1715689616, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:2f318fe3a09ff87d3dc90f1784b30a80' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม

     ปูนซีเมนต์

ที่มา : http://www.tiche.org/forum/uploads/Guest/FD5_tiger1.jpg

     ปูนซีเมนต์ หมายถึง ผงผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการบดปูนเม็ด ซึ่งเกิดจากการเผาส่วนผสมต่างๆ ได้แก่ แคลเซียมคาร์บอเนต ซิลิกา อะลูมินา และออกไซด์จากเหล็ก สัดส่วนของวัตถุดิบแตกต่างกันจะทำให้มีสมบัติแตกต่างกัน

     วัตถุดิบเนื้อปูน ร้อยละ 80 โดยมวล  เป็นหินปูน(มีแร่แคลไซด์)  ดินสอพอง หรือ ดินมาร์ล หินอ่อน หินชอล์ก

     วัตถุดิบเนื้อดิน มีเนื้อปูนอะลูมินา ซิลิกา หรือออกไซด์ของเหล็กปริมาณสูง ใช้ในกรณีที่ส่วนผสมของเนื้อปูนและเนื้อดินมีองค์ประกอบไม่เป็นไปตามกำหนด เช่น อะลูมินาต่ำต้องเติมแร่บอกไซด์  ถ้ามีเหล็กต่ำก็เติมแร่ที่มีเหล็กออกไซด์หรือเศษเหล็ก

     สารเติมแต่ง  เติมภายหลังการเผาเพื่อปรับสมบัติบางประการ เช่น การเติบยิปซัมเพื่อหน่วงเวลาให้ปูนที่ผสมกันน้ำแข็งตัวช้าลง
กระบวนการที่ใช้ผลิตมีทั้งแบบเผาเปียก และ เผาแห้ง ซึ่งขึ้นอยู่กับความชื้นและชนิดของวัตถุดิบที่ใช้

     - แบบเผาเปียก ใช้ในกรณีความชื้นสูง เช่น มีดินดำ ดินขาว หรือ ดินเหนียวเป็นส่วนประกอบ   
    กระบวนการผลิต นำวัตถุดิบผสมกันตรมสัดส่วนบดให้ละเอียดแล้วนำมาตีรวมกับน้ำจนเป็นน้ำดิน สูบน้ำดินที่ผ่านกรรมวิธีปรับคุณภาพมาสู่เตาเผา จะได้เป็นปูนเม็ดเก็บไว้ในไซโล เมื่อนำปูนเม็ดผสมกับยิปซัมแล้วบดละเอียดจะได้ปูนซีเมนต์ผง
       การผลิตแบบนี้ใช้พลังงานมากและต้นทุนสูงจึงไม่นิยม

     - แบบเผาแห้ง ใช้ในกรณีความชื้นต่ำ เช่น มีหินปูน หรือ หินดินดานเป็นส่วนประกอบ
    กระบวนการผลิต นำวัตถุดิบทั้งหมดมาบดผสมกันในอัตราส่วนที่เหมาะสมแล้วนำไปเผาแบบฝุ่นแห้ง

    เมื่อนำปูนซีเมนต์มาผสมกับน้ำจะจับตัวแข็งและมีกำลังอัดสูง จึงใช้เป็นตัวประสานวัสดุชนิดเม็ด เช่น ทรายหยาบ กรวด และหินให้เกาะตัวแน่นเป็นคอนกรีตได้ ปูนซีเมนต์อาจแบ่งได้เป็น 2 ประเภท ดังนี้ 

    1. ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์   ได้จากการบดปูนเม็ดกับยิปซัม แบ่งออกเป็น 5 ประเภท

       ประเภทที่ 1 ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ธรรมดา ใช้สำหรับงานการก่อสร้างตามปกติทั่วไป

       ประเภทที่ 2 ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์สำหรับใช้ในการทำคอนกรีตหรือผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมที่เกิดความร้อนและทนซัลเฟตได้ปานกลาง

       ประเภทที่ 3 ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ประเภทเกิดแรงเร็วสูง ใช้ในงานคอนกรีตที่ต้องการถอดแบบได้เร็ว หรืองานที่ต้องการใช้เร็วเพื่อแข่งกับเวลา

       ประเภทที่ 4 ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ประเภทเกิดความร้อนต่ำ ใช้ในงานคอนกรีตที่มีเนื้อหนาๆ

       ประเภทที่ 5 ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ประเภททนซัลเฟตได้สูง ใช้ในงานก่อสร้างบริเวณดินที่มีความเค็มปนอยู่ เช่น ในทะเลหรือตามชายฝั่ง

    2. ปูนซีเมนต์ผสม มีแรงอัดต่ำลงกว่าปูนซีเมนต์ธรรมดาเล็กน้อยเนื่องจากมีการเติมทรายหรือหินปูนละเอียดประมาณร้อยละ 25 ลงไปบดพร้อมกับปูนเม็ด เหมาะสำหรับใช้ในงานก่อสร้างที่ไม่ต้องรับน้ำหนักมาก หรืองานคอนกรีตที่ไม่มีการยืดหดมาก เช่น งานก่อ งานฉาบ เทพื้น  ทำกระเบื้องมุงหลังคา หล่อท่อ

 

    

1234 1234

สร้างโดย: 
ครูสมบัติ เอกเชี่ยวชาญ และนางสาวระพีพร เรืองสุรเชษฐ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 325 คน กำลังออนไลน์