• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:aaa23c1b29ee244e22fb54b1930d48db' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<strong><span style=\"color: #003366\">• การเตรียมวัตถุดิบ</span></strong>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #666699\">วัตถุดิบอาจแบ่งเป็น<br />\n1. วัตถุดิบหลัก เช่น ดิน เฟลด์สปาร์ ควอตซ์ <br />\n2. วัตถุดิบอื่นๆ เพื่อทำให้ผลิตภัณฑ์มีคุณภาพสูงขึ้น เช่น ดิกไคต์ โดโลไมต์ เป็นต้น</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #666699\">    <span style=\"color: #003366\"><strong>ดิน</strong></span> เป็นวัตถุดิบสำคัญที่ใช้ในการผลิตเซรามิกส์หลายประเภท โดยเฉพาะที่ใช้เป็นภาชนะรองรับอาหาร เครื่องสุขภัณฑ์ กระเบื้อง องค์ประกอบที่สำคัญของดิน คือ SiO<sub>2</sub>, Al<sub>2</sub>O<sub>3</sub>, Fe<sub>2</sub>O<sub>3</sub>, CaO, MgO, K<sub>2</sub>O และ Na<sub>2</sub>O ซึ่งดินจากที่ต่างกันจะมีองค์ประกอบในสัดส่วนที่ต่างกัน</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #666699\">         แบ่งดินตามลักษณะทางกายภาพ จะแบ่งได้ดังนี้</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #666699\">         <strong><span style=\"color: #003366\">1. ดินขาว</span></strong> เป็นวัตถุดิบที่สำคัญ ดินขาวบริสุทธิ์ มีสูตรเคมีเป็น Al<sub>2</sub>O<sub>3</sub> (2SiO<sub>2</sub>.2H<sub>2</sub>O) ในประเทศไทยพบดินขาวในลักษณะที่เป็นสีขาวหรือสีอ่อนทั้งในสภาพที่ยังไม่ได้เผาและหลังเผา เช่น ที่จังหวัดลำปาง อุตรดิตถ์ ปราจีนบุรี ระนอง สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช<br />\nดินเหนียว มีสีขาวคล้ำจนถึงดำสนิท เนื้อละเอียด เหนียวและแข็งแรงทนทานกว่าดินขาว พบมากที่ ลำปาง เชียงใหม่ ปราจีนบุรี สุราษฎร์ธานี เมื่อนำดินเหนียวผสมกับดินขาว จะทำให้เนื้อดินแน่น และเนียนมากขึ้น สะดวกในการขึ้นรูปและทำเป็นผลิตภัณฑ์</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #666699\"></span></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"114\" src=\"/files/u18295/din.jpg\" height=\"200\" />\n</div>\n<p>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #99ccff\">ที่มา : </span><a href=\"http://www.yupparaj.ac.th/webpage/computer/student/topic27/pic8.jpg\"><span style=\"color: #99ccff\">http://www.yupparaj.ac.th/webpage/computer/student/topic27/pic8.jpg</span></a>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #666699\">         <span style=\"color: #003366\"><strong>2. เฟลด์สปาร์ (หินฟันม้า)</strong></span> เป็นสารประกอบอะลูมิโนซิลิเกตของธาตุหมู่ I และ II ส่วนใหญ่มีองค์ประกอบคงที่ ทำหน้าที่ช่วยให้เกิดการหลอมเหลวที่อุณหภูมิต่ำ ส่งเสริมให้เกิดการเปลี่ยนแปลงเป็นเนื้อแก้ว ทำให้เกิดความโปร่งใส<br />\n             โซดาเฟลด์สปาร์จะมี Na ในปริมาณมาก จะใช้เป็นส่วนประกอบในน้ำเคลือบและใช้ผสมในเนื้อดิน <br />\n             โพแทชเฟลด์สปาร์ มี K ในปริมาณมาก จะใช้เป็นส่วนผสมในเนื้อดินปั้น</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #666699\"><img border=\"0\" align=\"middle\" width=\"200\" src=\"/files/u18295/p1131_01.jpg\" height=\"157\" /></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #99ccff\">ที่มา : </span><a href=\"http://www.culture.nstru.ac.th/~culturedb/images/culture/p1131_01.jpg\"><span style=\"color: #99ccff\">http://www.culture.nstru.ac.th/~culturedb/images/culture/p1131_01.jpg</span></a>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #666699\">         <strong><span style=\"color: #003366\">3. ควอตซ์ (หินเขี้ยวหนุมาน)</span></strong> องค์ประกอบคือ ซิลิกา ส่วนมากใสไม่มีสี ถ้ามีสิ่งเจือปนจะให้สีต่างๆ ทำหน้าที่เป็นโครงสร้างของผลิตภัณฑ์เซรามิกส์ ช่วยให้เกิดความแข็งแรงไม่โค้งงอ ทำให้ผลิตภัณฑ์หดตัวน้อย</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #666699\"></span></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"179\" src=\"/files/u18295/quast.jpg\" height=\"155\" />\n</div>\n<p>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #666699\"></span><span style=\"color: #666699\"></span><span style=\"color: #666699\"><span style=\"color: #99ccff\">ที่มา : </span><a href=\"http://guru.sanook.com/picfront/sub/resize_3166__22122006100307.jpg\"><span style=\"color: #99ccff\">http://guru.sanook.com/picfront/sub/resize_3166__22122006100307.jpg</span></a></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #666699\">         <strong><span style=\"color: #003366\">4. แร่โดโลไมต์</span></strong> หรือแร่หินตะกอนที่ประกอบด้วย [CaMg(CO<sub>3</sub>)<sub>2</sub>] เป็นส่วนใหญ่ ลักษณะคล้ายหินปูน ผสมเล็กน้อยในเนื้อดิน ลดจุดหลอมเหลวของวัตถุดิบ และผสมในน้ำเคลือบ</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #666699\"><img border=\"0\" align=\"middle\" width=\"200\" src=\"/files/u18295/dolomite.jpg\" height=\"165\" /> </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #666699\"><span style=\"color: #99ccff\">ที่มา : </span><a href=\"http://www.dmr.go.th/images/info/mineral/dolomite_2.jpg\"><span style=\"color: #99ccff\">http://www.dmr.go.th/images/info/mineral/dolomite_2.jpg</span></a></span><span style=\"color: #666699\"> </span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #666699\">         <strong><span style=\"color: #003366\">5. สารประกอบออกไซด์ <br />\n</span></strong>             BeO Al<sub>2</sub>O<sub>3</sub>   ผสมในผลิตภัณฑ์ที่ทนไฟสูง<br />\n             Sio<sub>2</sub> B<sub>2</sub>O<sub>3</sub>    ผสมเพื่อทำให้ผลิตภัณฑ์เป็นเนื้อแก้ว<br />\n             SnO<sub>2</sub> ZnO   ใช้เคลือบเพื่อทำให้ทึบแสง </span><span style=\"color: #666699\"></span></p>\n<p>\n         <strong><span style=\"color: #003366\">6. </span><span style=\"color: #003366\">ดิกไคต์</span></strong> องค์ประกอบเหมือนดิน แต่มีโครงสร้างผลึกต่างกัน <br />\n             อะลูมินาร้อยละ 28-32 โดยมวล จะเป็นหินแข็ง นำมาแกะสลักเป็นรูปต่างๆ ไว้ประดับตกแต่ง<br />\n             อะลูมินาร้อยละ 11-28 โดยมวล ใช้ทำวัสดุทนไฟ ทำกระเบื้องปูพื้น<br />\n             อะลูมินาร้อยละต่ำกว่าข้างต้น ใช้ทำปูนซีเมนต์ขาว\n</p>\n<p align=\"center\">\n <img border=\"0\" width=\"199\" src=\"/files/u18295/dikkyte.gif\" height=\"199\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"color: #99ccff\">ที่มา : </span><a href=\"http://kanchanapisek.or.th/kp8/nky/nky70902.gif\"><span style=\"color: #99ccff\">http://kanchanapisek.or.th/kp8/nky/nky70902.gif</span></a>\n</p>\n<p></p>\n<p>\n<span style=\"color: #666699\">         วัตถุดิบทุกชนิดที่ใช้ผลิตเซรามิกส์ จะต้องทำให้บริสุทธิ์และบดให้มีความละเอียดตามต้องการ จากนั้นจึงน้ำมาผสมกับน้ำและสารอื่นๆ ทำให้เนื้อดินอยู่ในสภาพที่เหมาะสมในการขึ้นรูป</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n <img border=\"0\" width=\"119\" src=\"/files/u18295/52655.gif\" height=\"11\" />  <img border=\"0\" width=\"119\" src=\"/files/u18295/52655.gif\" height=\"11\" />  <img border=\"0\" width=\"119\" src=\"/files/u18295/52655.gif\" height=\"11\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ffffff\"><a href=\"/node/40518\" title=\"Back\"><img border=\"0\" width=\"36\" src=\"/files/u18295/555-crop2.jpg\" height=\"40\" /></a>1234</span> <a href=\"/node/40508\" title=\"Home\"><img border=\"0\" width=\"48\" src=\"/files/u18295/bg.jpg\" height=\"45\" /></a><span style=\"color: #ffffff\">1234<a href=\"/node/40521\" title=\"Next\"><img border=\"0\" width=\"37\" src=\"/files/u18295/555-crop.jpg\" height=\"38\" /></a></span>\n</p>\n', created = 1715598451, expire = 1715684851, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:aaa23c1b29ee244e22fb54b1930d48db' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม

• การเตรียมวัตถุดิบ

วัตถุดิบอาจแบ่งเป็น
1. วัตถุดิบหลัก เช่น ดิน เฟลด์สปาร์ ควอตซ์
2. วัตถุดิบอื่นๆ เพื่อทำให้ผลิตภัณฑ์มีคุณภาพสูงขึ้น เช่น ดิกไคต์ โดโลไมต์ เป็นต้น

    ดิน เป็นวัตถุดิบสำคัญที่ใช้ในการผลิตเซรามิกส์หลายประเภท โดยเฉพาะที่ใช้เป็นภาชนะรองรับอาหาร เครื่องสุขภัณฑ์ กระเบื้อง องค์ประกอบที่สำคัญของดิน คือ SiO2, Al2O3, Fe2O3, CaO, MgO, K2O และ Na2O ซึ่งดินจากที่ต่างกันจะมีองค์ประกอบในสัดส่วนที่ต่างกัน

         แบ่งดินตามลักษณะทางกายภาพ จะแบ่งได้ดังนี้

         1. ดินขาว เป็นวัตถุดิบที่สำคัญ ดินขาวบริสุทธิ์ มีสูตรเคมีเป็น Al2O3 (2SiO2.2H2O) ในประเทศไทยพบดินขาวในลักษณะที่เป็นสีขาวหรือสีอ่อนทั้งในสภาพที่ยังไม่ได้เผาและหลังเผา เช่น ที่จังหวัดลำปาง อุตรดิตถ์ ปราจีนบุรี ระนอง สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช
ดินเหนียว มีสีขาวคล้ำจนถึงดำสนิท เนื้อละเอียด เหนียวและแข็งแรงทนทานกว่าดินขาว พบมากที่ ลำปาง เชียงใหม่ ปราจีนบุรี สุราษฎร์ธานี เมื่อนำดินเหนียวผสมกับดินขาว จะทำให้เนื้อดินแน่น และเนียนมากขึ้น สะดวกในการขึ้นรูปและทำเป็นผลิตภัณฑ์

ที่มา : http://www.yupparaj.ac.th/webpage/computer/student/topic27/pic8.jpg

         2. เฟลด์สปาร์ (หินฟันม้า) เป็นสารประกอบอะลูมิโนซิลิเกตของธาตุหมู่ I และ II ส่วนใหญ่มีองค์ประกอบคงที่ ทำหน้าที่ช่วยให้เกิดการหลอมเหลวที่อุณหภูมิต่ำ ส่งเสริมให้เกิดการเปลี่ยนแปลงเป็นเนื้อแก้ว ทำให้เกิดความโปร่งใส
             โซดาเฟลด์สปาร์จะมี Na ในปริมาณมาก จะใช้เป็นส่วนประกอบในน้ำเคลือบและใช้ผสมในเนื้อดิน
             โพแทชเฟลด์สปาร์ มี K ในปริมาณมาก จะใช้เป็นส่วนผสมในเนื้อดินปั้น

ที่มา : http://www.culture.nstru.ac.th/~culturedb/images/culture/p1131_01.jpg

         3. ควอตซ์ (หินเขี้ยวหนุมาน) องค์ประกอบคือ ซิลิกา ส่วนมากใสไม่มีสี ถ้ามีสิ่งเจือปนจะให้สีต่างๆ ทำหน้าที่เป็นโครงสร้างของผลิตภัณฑ์เซรามิกส์ ช่วยให้เกิดความแข็งแรงไม่โค้งงอ ทำให้ผลิตภัณฑ์หดตัวน้อย

ที่มา : http://guru.sanook.com/picfront/sub/resize_3166__22122006100307.jpg

         4. แร่โดโลไมต์ หรือแร่หินตะกอนที่ประกอบด้วย [CaMg(CO3)2] เป็นส่วนใหญ่ ลักษณะคล้ายหินปูน ผสมเล็กน้อยในเนื้อดิน ลดจุดหลอมเหลวของวัตถุดิบ และผสมในน้ำเคลือบ

 

ที่มา : http://www.dmr.go.th/images/info/mineral/dolomite_2.jpg

         5. สารประกอบออกไซด์
             BeO Al2O3   ผสมในผลิตภัณฑ์ที่ทนไฟสูง
             Sio2 B2O3    ผสมเพื่อทำให้ผลิตภัณฑ์เป็นเนื้อแก้ว
             SnO2 ZnO   ใช้เคลือบเพื่อทำให้ทึบแสง

         6. ดิกไคต์ องค์ประกอบเหมือนดิน แต่มีโครงสร้างผลึกต่างกัน
             อะลูมินาร้อยละ 28-32 โดยมวล จะเป็นหินแข็ง นำมาแกะสลักเป็นรูปต่างๆ ไว้ประดับตกแต่ง
             อะลูมินาร้อยละ 11-28 โดยมวล ใช้ทำวัสดุทนไฟ ทำกระเบื้องปูพื้น
             อะลูมินาร้อยละต่ำกว่าข้างต้น ใช้ทำปูนซีเมนต์ขาว

 

 ที่มา : http://kanchanapisek.or.th/kp8/nky/nky70902.gif

         วัตถุดิบทุกชนิดที่ใช้ผลิตเซรามิกส์ จะต้องทำให้บริสุทธิ์และบดให้มีความละเอียดตามต้องการ จากนั้นจึงน้ำมาผสมกับน้ำและสารอื่นๆ ทำให้เนื้อดินอยู่ในสภาพที่เหมาะสมในการขึ้นรูป

 

    

1234 1234

สร้างโดย: 
ครูสมบัติ เอกเชี่ยวชาญ และนางสาวระพีพร เรืองสุรเชษฐ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 286 คน กำลังออนไลน์