• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:27285b572fe2e70766d626dcf338c065' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><h1 align=\"center\"><span style=\"color: #ff6600\"><strong>ดีบุก</strong></span></h1>\n<h1 align=\"center\"><span style=\"color: #ff6600\"><strong></strong></span></h1>\n<h1 align=\"center\"><span style=\"color: #ff6600\"><strong></strong></span></h1>\n<p>\n<span style=\"color: #ff9900\">     แร่ดีบุกที่พบส่วนใหญ่ พบในรูปของ แร่แคสซิเทอร์ไรต์ (SnO<sub>2</sub>)</span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"500\" src=\"/files/u7179/Sn.jpg\" alt=\"ดีบุก\" height=\"375\" style=\"width: 244px; height: 143px\" />\n</div>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ffcc00\">ที่มา : </span><a href=\"http://www.lks.ac.th/student/kroo_su/chem3/Pics/Celestite.jpg\"><span style=\"color: #ffcc00\">http://www.lks.ac.th/student/kroo_su/chem3/Pics/Celestite.jpg</span></a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff9900\"><span style=\"color: #ff6600\"><span style=\"color: #ff9900\"></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff9900\"><span style=\"color: #ff6600\"><span style=\"color: #ff9900\">     </span><strong>การถลุงแร่ดีบุก</strong></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff9900\"><span style=\"color: #ff9900\">     <span style=\"color: #ff9900\">     </span></span>1. นำแร่ดีบุกผสมกับถ่านโค้กและหินปูน อัตราส่วน 20 : 4 : 5 โดยมวล</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff9900\"><span style=\"color: #ff9900\">     <span style=\"color: #ff9900\">     </span></span>2. นำใส่เตาถลุงที่มีไฟฟ้าหรือน้ำมันเตาให้ความร้อน</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff9900\"><span style=\"color: #ff9900\">     <span style=\"color: #ff9900\">     </span></span>3. เกิดปฏิกริยาดังนี้</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff9900\"><span style=\"color: #ff9900\">     <span style=\"color: #ff9900\">     <span style=\"color: #ff9900\">     </span></span></span>3.1 2C(s) + O<sub>2</sub>(g)<span style=\"color: #800000\"> <span style=\"color: #ff9900\">→ </span></span>2CO(g)</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff9900\"><span style=\"color: #ff9900\">     <span style=\"color: #ff9900\">     <span style=\"color: #ff9900\">     </span></span></span>SnO<sub>2</sub>(s) + 2CO(g)<span style=\"color: #800000\"> </span><span style=\"color: #ff9900\">→ </span><span style=\"color: #800000\"></span>Sn(l) + 2CO<sub>2</sub>(g)</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff9900\">แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ที่เกิดขึ้น สามารถเปลี่ยนกลับไปเป็นแก๊สคาร์บอนมอนอกไซด์แล้วนำกลับมาใช้ใหม่ได้</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff9900\"><span style=\"color: #ff9900\">     <span style=\"color: #ff9900\">     <span style=\"color: #ff9900\">     </span></span></span>3.2 สำหรับแร่ดีบุกบางชนิดที่มีสารประกอบ SiO ปนอยู่ ต้องจำกัดออก </span><span style=\"color: #ff9900\">โดยปฏิกริยาต่อไปนี้ ที่สุดท้ายแล้วได้ผลิตภัณฑ์เป็นแคลเซียมซิลิเกต</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff9900\"><span style=\"color: #ff9900\">     <span style=\"color: #ff9900\">     <span style=\"color: #ff9900\">     </span></span></span>CaCo<sub>3</sub>(s)<span style=\"color: #800000\"> </span><span style=\"color: #ff9900\">→ </span><span style=\"color: #800000\"></span>CaO(s) + CO<sub>2</sub>(s)</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff9900\"><span style=\"color: #ff9900\">     <span style=\"color: #ff9900\">     <span style=\"color: #ff9900\">     </span></span></span>CaO(s) + Sio<sub>2</sub>(s)<span style=\"color: #800000\"> </span><span style=\"color: #ff9900\">→ </span><span style=\"color: #800000\"></span>CaSiO<sub>3</sub>(l)</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff9900\"><span style=\"color: #ff9900\">     <span style=\"color: #ff9900\">     </span></span>4. ดีบุกที่ผ่านการถลุงแล้วต้องมีการนำไปทำให้บริสุทธิ์อีกทีก่อน กากโลหะที่เป็นตะกอนที่มีดีบุกปนอยู่ ต้องมีการนำไปถลุงเอาดีบุกออกอีกครั้ง</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff9900\"><span style=\"color: #ff6600\"><span style=\"color: #ff9900\">     </span><strong>คุณสมบัติของดีบุก</strong></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff9900\"><span style=\"color: #ff9900\">     </span>•<span style=\"color: #ff6600\"> </span>ทนต่อการกัดกร่อน</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff9900\"><span style=\"color: #ff9900\">     </span>•<span style=\"color: #ff6600\"> </span>ไม่เป็นสนิม</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff9900\"><span style=\"color: #ff9900\">     </span>•<span style=\"color: #ff6600\"> </span>ไม่เป็นพิษต่อร่างกาย</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff9900\"><span style=\"color: #ff9900\">     </span>•<span style=\"color: #ff6600\"> </span>ผสมเป็นเนื้อเดียวกับโลหะอื่นได้ดี</span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #ff9900\"></span><span style=\"color: #ff9900\"></span></p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"color: #ff6600\"><span style=\"color: #ff9900\">     </span><strong>ประโยชน์ของดีบุก</strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff9900\">     </span>•<span style=\"color: #ff6600\"> </span>ใช้เคลือบโลหะ ทำภาชนะบรรจุอาหาร\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff9900\">     </span>•<span style=\"color: #ff6600\"> </span>ทำโลหะผสม เช่น <span style=\"color: #ff6600\">ดีบุก ผสม ทองแดง เป็น ทองสัมฤทธิ์/ทองบรอนซ์</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff6600\"><span style=\"color: #ff9900\">     <span style=\"color: #ff9900\">     <span style=\"color: #ff9900\">     <span style=\"color: #ff9900\">     <span style=\"color: #ff9900\">     <span style=\"color: #ff9900\">    </span></span></span></span></span></span>ดีบุก ผสม ทองแดงและพลวง เป็น โลหะพิวเตอร์</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff6600\"><span style=\"color: #ff9900\">     <span style=\"color: #ff9900\">     <span style=\"color: #ff9900\">     <span style=\"color: #ff9900\">     <span style=\"color: #ff9900\">     <span style=\"color: #ff9900\">    </span></span></span></span></span></span>ดีบุก ผสม ตะกั่ว เป็น ตะกั่วบัดกรี</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n <img border=\"0\" width=\"119\" src=\"/files/u18295/52655.gif\" height=\"11\" />  <img border=\"0\" width=\"119\" src=\"/files/u18295/52655.gif\" height=\"11\" />  <img border=\"0\" width=\"119\" src=\"/files/u18295/52655.gif\" height=\"11\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ffffff\"><a href=\"/node/40511\" title=\"Back\"><img border=\"0\" width=\"36\" src=\"/files/u18295/555-crop2.jpg\" height=\"40\" /></a>1234</span> <a href=\"/node/40508\" title=\"Home\"><img border=\"0\" width=\"48\" src=\"/files/u18295/bg.jpg\" height=\"45\" /></a><span style=\"color: #ffffff\">1234<a href=\"/node/40513\" title=\"Next\"><img border=\"0\" width=\"37\" src=\"/files/u18295/555-crop.jpg\" height=\"38\" /></a></span>\n</p>\n<p></p>\n', created = 1715539926, expire = 1715626326, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:27285b572fe2e70766d626dcf338c065' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม

ดีบุก

     แร่ดีบุกที่พบส่วนใหญ่ พบในรูปของ แร่แคสซิเทอร์ไรต์ (SnO2)

 

ดีบุก

ที่มา : http://www.lks.ac.th/student/kroo_su/chem3/Pics/Celestite.jpg

     การถลุงแร่ดีบุก

          1. นำแร่ดีบุกผสมกับถ่านโค้กและหินปูน อัตราส่วน 20 : 4 : 5 โดยมวล

          2. นำใส่เตาถลุงที่มีไฟฟ้าหรือน้ำมันเตาให้ความร้อน

          3. เกิดปฏิกริยาดังนี้

               3.1 2C(s) + O2(g) 2CO(g)

               SnO2(s) + 2CO(g) Sn(l) + 2CO2(g)

แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ที่เกิดขึ้น สามารถเปลี่ยนกลับไปเป็นแก๊สคาร์บอนมอนอกไซด์แล้วนำกลับมาใช้ใหม่ได้

               3.2 สำหรับแร่ดีบุกบางชนิดที่มีสารประกอบ SiO ปนอยู่ ต้องจำกัดออก โดยปฏิกริยาต่อไปนี้ ที่สุดท้ายแล้วได้ผลิตภัณฑ์เป็นแคลเซียมซิลิเกต

               CaCo3(s) CaO(s) + CO2(s)

               CaO(s) + Sio2(s) CaSiO3(l)

          4. ดีบุกที่ผ่านการถลุงแล้วต้องมีการนำไปทำให้บริสุทธิ์อีกทีก่อน กากโลหะที่เป็นตะกอนที่มีดีบุกปนอยู่ ต้องมีการนำไปถลุงเอาดีบุกออกอีกครั้ง

     คุณสมบัติของดีบุก

     ทนต่อการกัดกร่อน

     ไม่เป็นสนิม

     ไม่เป็นพิษต่อร่างกาย

     ผสมเป็นเนื้อเดียวกับโลหะอื่นได้ดี


     ประโยชน์ของดีบุก

     ใช้เคลือบโลหะ ทำภาชนะบรรจุอาหาร

     ทำโลหะผสม เช่น ดีบุก ผสม ทองแดง เป็น ทองสัมฤทธิ์/ทองบรอนซ์

                             ดีบุก ผสม ทองแดงและพลวง เป็น โลหะพิวเตอร์

                             ดีบุก ผสม ตะกั่ว เป็น ตะกั่วบัดกรี

 

    

1234 1234

สร้างโดย: 
ครูสมบัติ เอกเชี่ยวชาญ และนางสาวระพีพร เรืองสุรเชษฐ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 214 คน กำลังออนไลน์