• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:41c0bfeca3d0e5742c359895ef7cffa1' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><h1 align=\"center\"><strong><span style=\"color: #800000\">แร่ทองแดง</span></strong></h1>\n<h1 align=\"center\"><strong><span style=\"color: #800000\"></span></strong></h1>\n<p>\n<strong><u><span style=\"color: #800000\"></span></u></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><u><span style=\"color: #800000\"></span></u></strong></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"347\" src=\"/files/u7179/Copper.jpg\" alt=\"แร่ทองแดง\" height=\"292\" style=\"width: 209px; height: 149px\" />\n</div>\n<p>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ffcc00\">ที่มา : </span><a href=\"http://www.industrial.cmru.ac.th/Civil/wechsawan/materials/ch02/ch02-3.files/image002.jpg\"><span style=\"color: #ffcc00\"><u>http://www.industrial.cmru.ac.th/Civil/wechsawan/materials/ch02/ch02-3.files/image002.jpg</u></span></a>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #993300\">     แร่ทองแดงพบที่ จ.เลย หนองคาย ขอนแก่น นครราชสีมา ตาก อุตรดิตถ์ แพร่ น่าน ลำปาง ลำพูน เพชรบูรณ์ ลพบุรี ฉะเชิงเทรา และกาญจนบุรี แต่ยังไม่มีการผลิตแร่ทองแดงส่วนใหญ่มีทองแดงเป็นส่วนประกอบปริมาณไม่มาก แร่ทองแดงที่สำคัญคือ แร่คาลโคโพไรต์ (CuFeS<sub>2</sub>)</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #993300\"><img border=\"0\" width=\"195\" src=\"/files/u7179/chachoporite.jpg\" alt=\"แร่คาลโคโพไรต์\" height=\"194\" style=\"width: 181px; height: 181px\" /></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ffcc00\">ที่มา : </span><a href=\"http://www.lks.ac.th/student/kroo_su/chem1/images/chachoporite.jpg\"><span style=\"color: #ffcc00\"><u>http://www.lks.ac.th/student/kroo_su/chem1/images/chachoporite.jpg</u></span></a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #800000\">     <strong>การถลุงทองแดงจากแร่</strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #800000\">          ขั้นแรกคือ แยกแร่ที่ต้องการออกจากสิ่งเจือปน อาจใช้วิธีการลอยตัว เป็นต้น จากนั้นนำแร่มาเผาในอากาศ หรือที่เรียกว่าการ ย่างแร่ ไอร์ออน (II) ซัลไฟต์บางส่วนจะถูกออกซิไดส์ เป็นไอร์ออน (II) ออกไซด์ ดังสมการ</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #800000\">2CuFeS<sub>2</sub>(s) + 3O<sub>2</sub>(g) → 2CuS(s) + 2FeO(s) + 2SO<sub>2</sub>(g)</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #800000\">แล้วนำผลิตภัณฑ์ที่ได้ไปเผารวมกับออกไซด์ของซิลิกอนบนเตาถลุงอุณหภูมิประมาณ 1100 <sup>o</sup>C<sup> </sup>เพื่อกำจัดไอร์ออน (II) ออกไซด์ออก ดังสมการ</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #800000\">FeO(s) + SiO<sub>2</sub>(s) → FeSiO<sub>3</sub>(l)</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #800000\">ส่วนคอปเปอร์ ( II) ซัลไฟด์ เมื่ออยู่ในอุณหภูมิสูงจะสลายตัวได้เป็นคอปเปอร์ ( I) ซัลไฟด์ ในสถานะของเหลวซึ่งสามารถแยกออกได้ และในขั้นสุดท้ายเมื่อแยกคอปเปอร์ (I) ซัลไฟด์ในอากาศ บางส่วนจะเปลี่ยนเป็นคอปเปอร์ (I) ออกไซด์ ดังสมการ</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #800000\">2Cu<sub>2</sub>S (s ) + 3O<sub>2</sub>(g) → 2Cu<sub>2</sub>O(s) + SO<sub>2</sub>(g)</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #800000\">และคอปเปอร์ (I) ออกไซด์กับคอปเปอร์ ( I) ซัลไฟด์ จะทำปฏิกิริยากันโดยมีซัลไฟด์ไออนเป็นตัวรีดิวซ์ ดังสมการ</span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #800000\"></span><span style=\"color: #800000\"></span><span style=\"color: #800000\"></span></p>\n<p align=\"center\">\n<br />\n2Cu<sub>2</sub>O(s) + Cu<sub>2</sub>S (s ) → 6Cu(l) + SO<sub>2</sub>(g)\n</p>\n<p>\nแต่ยังมีสิ่งเจือปนจึงต้องนำไปทำให้บริสุทธิ์ก่อน โดยทั่วไปจะใช้วิธี <em>แยกสารละลายด้วยกระแสไฟฟ้า</em>\n</p>\n<p>\n<em></em>\n</p>\n<p>\n<em></em></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"422\" src=\"/files/u7179/lesson2_2_clip_image002.jpg\" alt=\"การแยกสารละลายด้วยกระแสไฟฟ้า\" height=\"243\" style=\"width: 340px; height: 164px\" />\n</div>\n<p>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ffcc00\">ที่มา : </span><a href=\"http://www.it.nrru.ac.th/~cs4940207219/lesson2_2_clip_image002.jpg\"><span style=\"color: #ffcc00\"><u>http://www.it.nrru.ac.th/~cs4940207219/lesson2_2_clip_image002.jpg</u></span></a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<em></em>\n</p>\n<p>\n     ทองแดงเป็นโลหะที่มีความสำคัญและใช้มากในอุตสาหกรรมการผลิตอุปกรณ์ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ อุปกรณ์ตู้เย็นและเครื่องปรับอากาศ อุปกรณ์เกี่ยวกับรถยนต์ อาวุธ เหรียญกษาปณ์ ฯลฯ และยังเป็นส่วนประกอบสำคัญในโลหะผสมหลายชนิด เช่น ทองเหลือง บรอนซ์ โลหะผสมทองแดงนิกเกิลใช้ทำท่อในระบบกลั่น อุปกรณ์ภายในเรือเดินทะเล โลหะผสมทองแดง นิกเกิล และสังกะสี ( เรียกว่าเงินนิกเกิลหรือเงินเยอรมัน ) ใช้ทำเครื่องใช้ เช่น ส้อม มีด เครื่องมือแพทย์ นอกจากนี้ แร่ทองแดงที่มีลวดลายสวยงาม เช่น มาลาไคต์ อะซูไรต์ และคริโซคอลลา สามารถนำมาทำเครื่องประดับได้อีกด้วย\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"200\" src=\"/files/u7179/coin.jpg\" alt=\"เหรียญกษาปณ์\" height=\"216\" />\n</div>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ffcc00\">ที่มา : </span><a href=\"http://www.goosiam.com/news/news1/admin/my_documents/my_pictures/ข่าว_เนื้อหาข่าว_ใช้เหรียญ25-50สตางค์สีทองแดง1.jpg\"><span style=\"color: #ffcc00\"><u>http://www.goosiam.com/news/news1/admin/my_documents/my_pictures/%E0%B8%82%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%A7_%E0%B9%80%E0%B8%99%E0%B8%B7%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B8%82%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%A7_%E0%B9%83%E0%B8%8A%E0%B9%89%E0%B9%80%E0%B8%AB%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%8D25-50%E0%B8%AA%E0%B8%95%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B9%8C%E0%B8%AA%E0%B8%B5%E0%B8%97%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B9%81%E0%B8%94%E0%B8%871.jpg</u></span></a>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"300\" src=\"/files/u7179/malachite_1.jpg\" alt=\"แร่มาลาไคต์\" height=\"339\" style=\"width: 184px; height: 216px\" />\n</div>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ffcc00\">ที่มา : </span><a href=\"http://www.lks.ac.th/student/kroo_su/chem1/images/malacide.jpg\"><span style=\"color: #ffcc00\"><u>http://www.lks.ac.th/student/kroo_su/chem1/images/malacide.jpg</u></span></a>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"300\" src=\"/files/u7179/azurite-lg.jpg\" alt=\"แร่อะซูไรต์\" height=\"156\" />\n</div>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ffcc00\">ที่มา : </span><a href=\"http://www.geoclassics.com/azurite-lg.jpg\"><span style=\"color: #ffcc00\"><u>http://www.geoclassics.com/azurite-lg.jpg</u></span></a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n <img border=\"0\" width=\"119\" src=\"/files/u18295/52655.gif\" height=\"11\" />  <img border=\"0\" width=\"119\" src=\"/files/u18295/52655.gif\" height=\"11\" />  <img border=\"0\" width=\"119\" src=\"/files/u18295/52655.gif\" height=\"11\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ffffff\"><a href=\"/node/40509\" title=\"Back\"><img border=\"0\" width=\"36\" src=\"/files/u18295/555-crop2.jpg\" height=\"40\" /></a>1234</span> <a href=\"/node/40508\" title=\"Home\"><img border=\"0\" width=\"48\" src=\"/files/u18295/bg.jpg\" height=\"45\" /></a><span style=\"color: #ffffff\">1234<a href=\"/node/40511\" title=\"Next\"><img border=\"0\" width=\"37\" src=\"/files/u18295/555-crop.jpg\" height=\"38\" /></a></span>\n</p>\n<p></p>\n', created = 1715519470, expire = 1715605870, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:41c0bfeca3d0e5742c359895ef7cffa1' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม

แร่ทองแดง

แร่ทองแดง

ที่มา : http://www.industrial.cmru.ac.th/Civil/wechsawan/materials/ch02/ch02-3.files/image002.jpg

 

     แร่ทองแดงพบที่ จ.เลย หนองคาย ขอนแก่น นครราชสีมา ตาก อุตรดิตถ์ แพร่ น่าน ลำปาง ลำพูน เพชรบูรณ์ ลพบุรี ฉะเชิงเทรา และกาญจนบุรี แต่ยังไม่มีการผลิตแร่ทองแดงส่วนใหญ่มีทองแดงเป็นส่วนประกอบปริมาณไม่มาก แร่ทองแดงที่สำคัญคือ แร่คาลโคโพไรต์ (CuFeS2)

แร่คาลโคโพไรต์

ที่มา : http://www.lks.ac.th/student/kroo_su/chem1/images/chachoporite.jpg

 

     การถลุงทองแดงจากแร่

          ขั้นแรกคือ แยกแร่ที่ต้องการออกจากสิ่งเจือปน อาจใช้วิธีการลอยตัว เป็นต้น จากนั้นนำแร่มาเผาในอากาศ หรือที่เรียกว่าการ ย่างแร่ ไอร์ออน (II) ซัลไฟต์บางส่วนจะถูกออกซิไดส์ เป็นไอร์ออน (II) ออกไซด์ ดังสมการ

2CuFeS2(s) + 3O2(g) → 2CuS(s) + 2FeO(s) + 2SO2(g)

แล้วนำผลิตภัณฑ์ที่ได้ไปเผารวมกับออกไซด์ของซิลิกอนบนเตาถลุงอุณหภูมิประมาณ 1100 oC เพื่อกำจัดไอร์ออน (II) ออกไซด์ออก ดังสมการ

FeO(s) + SiO2(s) → FeSiO3(l)

ส่วนคอปเปอร์ ( II) ซัลไฟด์ เมื่ออยู่ในอุณหภูมิสูงจะสลายตัวได้เป็นคอปเปอร์ ( I) ซัลไฟด์ ในสถานะของเหลวซึ่งสามารถแยกออกได้ และในขั้นสุดท้ายเมื่อแยกคอปเปอร์ (I) ซัลไฟด์ในอากาศ บางส่วนจะเปลี่ยนเป็นคอปเปอร์ (I) ออกไซด์ ดังสมการ

2Cu2S (s ) + 3O2(g) → 2Cu2O(s) + SO2(g)

และคอปเปอร์ (I) ออกไซด์กับคอปเปอร์ ( I) ซัลไฟด์ จะทำปฏิกิริยากันโดยมีซัลไฟด์ไออนเป็นตัวรีดิวซ์ ดังสมการ


2Cu2O(s) + Cu2S (s ) → 6Cu(l) + SO2(g)

แต่ยังมีสิ่งเจือปนจึงต้องนำไปทำให้บริสุทธิ์ก่อน โดยทั่วไปจะใช้วิธี แยกสารละลายด้วยกระแสไฟฟ้า

การแยกสารละลายด้วยกระแสไฟฟ้า

ที่มา : http://www.it.nrru.ac.th/~cs4940207219/lesson2_2_clip_image002.jpg

 

     ทองแดงเป็นโลหะที่มีความสำคัญและใช้มากในอุตสาหกรรมการผลิตอุปกรณ์ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ อุปกรณ์ตู้เย็นและเครื่องปรับอากาศ อุปกรณ์เกี่ยวกับรถยนต์ อาวุธ เหรียญกษาปณ์ ฯลฯ และยังเป็นส่วนประกอบสำคัญในโลหะผสมหลายชนิด เช่น ทองเหลือง บรอนซ์ โลหะผสมทองแดงนิกเกิลใช้ทำท่อในระบบกลั่น อุปกรณ์ภายในเรือเดินทะเล โลหะผสมทองแดง นิกเกิล และสังกะสี ( เรียกว่าเงินนิกเกิลหรือเงินเยอรมัน ) ใช้ทำเครื่องใช้ เช่น ส้อม มีด เครื่องมือแพทย์ นอกจากนี้ แร่ทองแดงที่มีลวดลายสวยงาม เช่น มาลาไคต์ อะซูไรต์ และคริโซคอลลา สามารถนำมาทำเครื่องประดับได้อีกด้วย

 

เหรียญกษาปณ์

ที่มา : http://www.goosiam.com/news/news1/admin/my_documents/my_pictures/%E0%B8%82%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%A7_%E0%B9%80%E0%B8%99%E0%B8%B7%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B8%82%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%A7_%E0%B9%83%E0%B8%8A%E0%B9%89%E0%B9%80%E0%B8%AB%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%8D25-50%E0%B8%AA%E0%B8%95%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B9%8C%E0%B8%AA%E0%B8%B5%E0%B8%97%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B9%81%E0%B8%94%E0%B8%871.jpg

 

แร่มาลาไคต์

ที่มา : http://www.lks.ac.th/student/kroo_su/chem1/images/malacide.jpg

 

แร่อะซูไรต์

ที่มา : http://www.geoclassics.com/azurite-lg.jpg

 

    

1234 1234

สร้างโดย: 
ครูสมบัติ เอกเชี่ยวชาญ และนางสาวระพีพร เรืองสุรเชษฐ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 286 คน กำลังออนไลน์