• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:730cce0cc8e52da55d815b6bc367ff8e' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<span style=\"font-size: x-large; color: #cc0000; font-family: MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif\"><strong>ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ</strong></span>\n</p>\n<blockquote><p>\n <span style=\"font-size: small; color: #660099; font-family: MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif\"><b><span style=\"color: #006600\">โปรตุเกส</span></b> เป็นชาว ตะวันตก ชาติแรก ที่เข้ามา มีความ สัมพันธ์ กับเมือง ปัตตานี หลังจากที่ โปรตุเกส เข้ายึดครอง เมืองมะละกา จาก สุลต่าน โมฮัมหมัด ขณะที่ เมืองมะละกา กำลัง เป็นศูนย์ การค้า ระหว่าง ซีกโลก ตะวันตก กับ ตะวันออก ในปี พ.ศ.๒๐๕๔ บรรดา พ่อค้า ชาวอาหรับ เปอร์เซีย และอินเดีย ที่ ไม่พอใจ พวก โปรตุเกส ที่เข้ามา แย่งชิง กิจการค้า ของตน ซึ่งกำลัง เฟื่องฟู อยู่ ต่างก็ หันเห มาใช้ เมืองปัตตานี ขณะนั้น มีพ่อค้า ชาวจีน และ ญี่ปุ่น เข้ามา ค้าขาย อยู่ก่อน แล้ว ทั้งสินค้า ของชาวจีน และ ญี่ปุ่น เข้ามา ค้าขาย อยู่ก่อนแล้ว ทั้ง สินค้า ของ ชาวจีน และ ญี่ปุ่น ก็เป็นที่ ต้องการ ของชาว ตะวันตก อีกด้วย เช่น เครื่องถ้วยชาม แพร ไหม และ ทองแดง โปรตุเกส เอง ก็ต้องการ ได้สินค้า จากประเทศ จีน และ ญี่ปุ่น เพื่อส่งไป จำหน่าย ในตลาด ประเทศ ตะวันตก อัลบูเกิกร์ ผู้สำเร็จ ราชการ เมืองมะละกา จึงส่ง ดวตเต ฟอร์นันเด มาเฝ้า สมเด็จ พระรามา ธิบดีที่ ๒ เพื่อ ขออนุญาต เข้ามา ทำการ ค้าขาย กับเมืองท่าต่างๆ ในแหลมมลายู ซึ่งเป็น ประเทศราช ของไทย ดังนั้น ในปี พ.ศ.๒๐๕๙ โปรตุเกส จึงส่ง นาย มานูเอล ฟัลเซา เข้ามา ตั้งห้างร้าน ค้าขาย ขึ้นใน เมืองปัตตานี เป็นครั้งแรก </span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"font-size: small; color: #660099; font-family: MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif\">ต่อมา โปรตุเกส เกิดกรณี พิพาท กับชนชาติ ฮอลันดา จนกระทั่ง ต้องเสียเมือง มะละกา ให้แก่ ชาวฮอลันดา ในปี พ.ศ.๒๑๘๔ ชาวโปรตุเกส จึงต้อง เลิกกิจการค้า ของตน ในแหลม มลายู รวมทั้ง สถานี การค้า ที่เมือง ปัตตานีอีกด้วย รวม ระยะเวลา ที่โปรตุเกส เข้ามา ตั้งสถานี การค้า อยู่ใน ปัตตานี ถึง ๑๒๕ ปี </span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"font-size: small; color: #660099; font-family: MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif\"><b><span style=\"color: #006600\">ฮอลันดา</span></b> ชาวฮอลันดา เป็นชาติ ที่สอง รองจาก ชาติโปรตุเกส ที่เข้ามา ค้าขาย ในเมือง ปัตตานี ในปลาย รัชสมัย สมเด็จ พระนเรศวร มหาราช เมื่อปี พ.ศ.๒๑๔๔ - ๒๑๔๕ โดย กัปตัน วันเน็ค ได้นำเรือ แอมสเตอร์ดัม (Amsterdam) และ เรือกูดา (Gouda) เข้ามา เจรจา กับ เจ้าหญิง ฮียา เมื่อวันที่ ๗ พฤศจิกายน ๒๑๔๔ เพื่อขอ อนุญาต จัดตั้ง สถานี การค้า ขึ้น มีนายดาเนียล วันเดอร์เล็ค (Daniel Vanderlek) รับหน้าที่ เป็นหัวหน้า สถานี การค้า และ นายปีเตอร์ วอลิคส์ (Pieter Walieksx) เป็นผู้ช่วย ทำการ ค้าขาย ติดต่อ ระหว่าง อยุธยา - ปัตตานี - ไทรบุรี - นครศรีธรรมราช - สงขลา - ภูเก็ต และ เมืองบันตัม ในเกาะชวา </span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"font-size: small; color: #660099; font-family: MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif\">สินค้า ที่ฮอลันดา ต้องการ ได้แก่ ดีบุก หนังกวาง ไม้ฝาง ข้าวสาร ข้าวเปลือก หนังปลากระเบน เพื่อนำไป จำหน่าย แก่ประเทศ ญี่ปุ่น </span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"font-size: small; color: #660099; font-family: MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif\">ในสมัย พญาบีรู ปกครอง เมือง ปัตตานี นางพญา มีความขัดแย้ง กับ กษัตริย์ อยุธยา คือ พระเจ้า ปราสาททอง เนื่องจาก นางพญาบีรู รังเกียจ พระเจ้า ปราสาททอง ว่า ได้ราชสมบัติ มาโดย มิชอบ &quot;เป็นคนชิง ราชสมบัติ (จากพระอาทิตยวงศ์)&quot; พระนาง จึงไม่ยอม ส่ง เครื่องราช บรรณาการ ไปถวาย ตามราชประเพณี ของเมือง ประเทศราช นายแอนโทน์ เคน ได้ชี้แจง ให้เหตุผล ต่อพระนาง ว่า &quot;การค้าขาย ไม่อาจ ดำเนิน ไปได้ เนื่องมาจาก การเกลียดชัง ต่อประเทศ สยาม&quot; แต่นางพญาบีรู ก็หา ได้เชื่อฟังไม่ พระเจ้า ปราสาททอง จึงส่ง กองทัพ มาตี เมือง ปัตตานี ล้อมเมืองไว้ ๑ เดือน จนกระทั่ง หมด เสบียง อาหาร จึงถอย กองทัพ กลับไป </span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"font-size: small; color: #660099; font-family: MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif\">หลังจาก เจ้าหญิงบีรู สิ้นพระชนม์ แล้ว เจ้าหญิงอูงู ซึ่งได้รับ การสถาปนา ขึ้นเป็น เจ้าเมือง ปัตตานี ก็ได้รับ การไกล่เกลี่ย จากเจ้าเมือง นครศรี ธรรมราช และ เจ้าเมือง ไทรบุรี พระนาง จึงยินยอม ส่งทูต ไปขอขมาโทษ ต่อพระเจ้า ปราสาททอง สงคราม จึงได้ ยุติลง</span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"font-size: small; color: #660099; font-family: MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif\">นายฟอนฟลีต (วันวลิต) ได้บันทึก เรื่องราว เกี่ยวกับ พระราชอำนาจ การตัดสิน พระทัย ของพระนาง ในนโยบาย การเมือง ซึ่งแตกต่าง ไปจาก ข้อเขียน ของ นายนิโกลาส์ แชร์แวส ชาวฝรั่งเศส ที่เขียนไว้ ในหนังสือ ประวัติศาสตร์ ธรรมชาติ และ การเมือง แห่ง ราชอาณาจักร สยาม นิโกลาส์ กล่าวว่า &quot;ประชาชน ปัตตานี นั้น ครั้นเบื่อหน่าย ต่อการ ที่ถูก เจ้าประเทศ บีบคั้น เอาแล้ว จึงได้ ดำเนินการ สลัดแอก และ โค่นกษัตริย์ องค์ปัจจุบัน ลงจาก ราชบัลลังก์ แล้วสถาปนา เจ้าหญิง องค์หนึ่ง แทนที่ ตั้งให้ เป็นนางพระยา แต่ก็ มิได้ ถวาย พระราชอำนาจ ให้เลย พวกเขา เลือก ผู้ทรง คุณวุฒิ ขึ้นบริหาร ราชการ แผ่นดิน ในพระนามาภิไธย ที่พระนาง ไม่ต้อง เข้าไป เกี่ยวข้อง กับ ราชการ งานเมือง เลย เพียงแต่ ได้รับ การยกย่อง นับถือ ให้เป็น เจ้านาย เท่านั้น&quot; </span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"font-size: small; color: #660099; font-family: MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif\">ข้อเขียน ของ นายฟอนฟลีต (วันวลิต) ซึ่งได้ มีโอกาส เข้าเฝ้า นางพญาอูงู เมื่อวันที่ ๑๕ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๑๘๕ และ ได้บันทึก ถ้อยคำ ที่นางพญา ตรัส โต้ตอบ กับ นายฟอนฟลีตไว้ แสดงถึง ความมี พระราชอำนาจ ทางด้าน การเมือง อันเต็มเปี่ยม ความว่า &quot;การกระทำ ของบรรดา เจ้าเมือง ปัตตานี คนก่อนๆ พระนางนั้น ได้ถูก ลืมเลือน ไปแล้ว และหลังจาก ที่พระนาง ทรงสืบ ราชสมบัติ แล้ว ไม่นานนัก ก็ทรงทำ สันติ ไมตรี กับพระเจ้า แผ่นดิน สยาม โดยมิได้ ใช้ค่า เสียหาย แต่อย่างใด และว่า พระนาง ก็ทรง ต้องการ ปฏิบัติ ในวิธี เดียวกัน กับท่าน ผู้สำเร็จ ราชการ (ฮอลันดา) ด้วย&quot; </span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"font-size: small; color: #660099; font-family: MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif\">การค้า ของ ฮอลันดา ในระยะแรก ต้องประสพ ปัญหา อยู่ หลายประการ ประการแรก คือ ถูกชาว โปรตุเกส ชาวจีน และ ชาวญี่ปุ่น กีดกัน ประการที่สอง เรื่องเงินทุน ซึ่งมัก ขาดแคลน บ่อยๆ นายคอร์เนลิส ฟอนนิวรุท หัวหน้า สถานี การค้า ต้องขอยืมเงิน จากเจ้าหญิง ฮียา เพื่อซื้อ เส้นไหม จากพ่อค้าจีน มาเก็บ สำรองไว้ แต่ต่อมา เมื่อฮอลันดา รวบรวม เงินทุน จัดตั้ง เป็นบริษัท ดัชอีสต์ อินเดีย ขึ้นมาแล้ว กิจการค้า ของ ฮอลันดา ก็ประสพ ความสำเร็จ เป็นอย่างดี ทั้งที่ อยุธยา และ ปัตตานี (จากการ เก็บข้อมูล จากเศษ ถ้วยชาม ตามบริเวณ ที่ตั้ง ชุมชน โบราณ และท่าเรือ บ้านตันหยง ลุโละ ในจังหวัด ปัตตานี พบเศษ ถ้วยชาม อันเป็น สินค้า ของฮอลันดา มีจำนวน ไล่เลี่ย กับของจีน)</span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"font-size: small; color: #660099; font-family: MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif\">สินค้า พื้นเมือง จำพวก สมุนไพร ของปัตตานี ที่ปรากฏชื่อ อยู่ใน เอกสาร ของฮอลันดา ได้แก่ ขิง น้ำตาล พริกไทย และ sarrassas (ซะราเซะ หรือ กะเพรา) นายสปรินซ์เคล เจ้าหน้าที่ สถานี การค้า เมืองปัตตานี รายงาน ไปถึง นายมาทีโอโคตัลส์ และ นายมาทีโอฯ ได้เขียน มาแจ้ง ให้ นายเอชแวนส์เซน ที่ปัตตานี เมื่อวันที่ ๒๐ มีนาคม ๒๑๕๖ ความว่า &quot;ตามที่ นายปรินซ์เคล ว่าปีนี้ sarrassas งดงามมาก แต่ราคา ไม่คงที่&quot; </span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"font-size: small; color: #660099; font-family: MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif\">ฮอลันดา เลิกสถานี การค้า ในปัตตานี เมื่อปี พ.ศ.๒๑๘๕ เนื่องจาก ฮอลันดา เข้ามา ตั้งสถานี การค้า ของตน อยู่ในเมือง ปัตตานี เวลา ๔๑ ปี </span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"font-size: small; color: #660099; font-family: MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif\"><b><span style=\"color: #006600\">อังกฤษ</span></b> บริษัท อิสต์อินเดีย ของอังกฤษ ได้ส่ง กองเรือ โดยการนำ ของกัปตัน จอนเดวิส มาสำรวจ เมืองปัตตานี เพื่อตั้ง สถานี การค้า ของตน ขึ้น ในเมืองนี้ เมื่อปี พุทธศักราช ๒๑๔๘ แต่กองเรือ ของอังกฤษ ถูกโจรสลัด ญี่ปุ่น โจมตี ในอ่าว หน้าเมือง ปัตตานี ทำให้ กัปตัน จอนเดวิส ได้เสีย ชีวิต ลงทันที ต่อมา กัปตัน แอนโธนี ฮิปปอน ก็ได้นำ เรือโกลป์ เข้ามาสู่ เมืองปัตตานี อีกครั้ง เมื่อวันที่ ๒๓ มิถุนายน ๒๑๕๔ แอนโธนี ฮิปปอน ได้เข้าเฝ้า นางพระยา ฮียา ขอตั้ง สถานี การค้า ขึ้นใน เมืองปัตตานี เป็นผลสำเร็จ แต่ตัวกัปตัน เกิดล้มป่วย ถึงแก่กรรม อย่างกระทันหัน หลังจาก เจรจา ทำความ ตกลง กับนาง พระยา ฮียาได้เพียง ๑๕ วัน โทมัส เอสซิงตัน จึงรับ หน้าที่ แทนกัปตัน แอนโธนี ฮิปปอน ได้เดินทาง เข้าไปเฝ้า สมเด็จ พระเอกา ทศรถ ขอพระราชทาน ที่ดิน เพื่อจัดตั้ง สถานี การค้า ขึ้น ทั้งใน กรุงศรีอยุธยา และ ที่เมือง ปัตตานี ซึ่ง สมเด็จ พระเอกา ทศรถ ก็ทรง พระกรุณา ประทานให้ </span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"font-size: small; color: #660099; font-family: MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif\">สถานี การค้า ของอังกฤษ ก็เริ่ม ดำเนิน กิจการ ในเมือง ปัตตานี เมื่อปี พ.ศ.๒๑๕๕ นายปีเตอร์ ฟอลริส ได้รับตำแหน่ง ผู้อำนวยการ ชื่อลูกัส (Lucus Antheunis) ต่อมา นายลูกัส ได้ย้าย ไปประจำ อยู่ที่ สถานี การค้า ที่กรุงศรีอยุธยา การค้า ที่กรุงศรี อยุธยา และ ปัตตานี ขณะนั้น คึกคักมาก มีเรือ สินค้า ของชาติ ต่างๆ ไปมา ค้าขาย กันขวักไขว่ เฉพาะ เรือสินค้า ของอังกฤษ ที่เข้าออก ประจำ ได้แก่ เรือ Daling, Cloue, Hector, Peppecorn, Solomon และ James รวม ๖ ลำ</span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"font-size: small; color: #660099; font-family: MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif\">หัวหน้า สถานี การค้า ที่ปัตตานี คนต่อมา ได้แก่ นายอาดัม เค็นตัน นาย Benjamin และ John Gurney </span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"font-size: small; color: #660099; font-family: MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif\">ในปี พ.ศ.๒๑๖๑ เกิดยุทธนาวี ขึ้นระหว่าง เรือรบ อังกฤษ กับ เรือรบ ฮอลันดา ครั้งแรก เรือรบ อังกฤษ ๒ ลำ คือ แซมป์ซัน และ เฮาวน์ ในการ บังคับ บัญชา ของกัปตัน จอน จูรเดน ได้ทำการ ยึดเรือ ของ ฮอลันดา ชื่อ แบล็คไลออน ไว้ </span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"font-size: small; color: #660099; font-family: MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif\">ต่อมา ฮอลันดา ได้ส่ง เรือรบ ของตน มา ๓ ลำ เข้ารุมล้อม โจมตี เรืออังกฤษ ทั้งสองลำ ในเดือน กรกฎาคม ในขณะที่ จูรเดน เจรจา ขอยอม จำนน ก็ถูกพวกเฟลมมิงยิงด้วยปืนคาบศิลาถึงแก่ความตาย ลูกเรือถูกฮอลันดาจับไปเป็นเชลย ที่เหลือรอด มาได้ ก็เนื่องจาก ไปขอ ความคุ้มครอง จากเจ้าหญิง ฮียา ตั้งแต่นั้นมา กิจการค้า ของอังกฤษ ในเมืองปัตตานี ก็ถูก พวกฮอลันดา คอยขัดขวาง ทำให้ กิจการ ซบเซา ลงเรื่อยๆ ในที่สุด บริษัท อิสต์อินเดีย จึงมีมติ ให้เลิก สถานี การค้า ใน ปัตตานี เสียในปี พ.ศ.๒๑๖๖ รวมเวลา ที่อังกฤษ เข้ามาตั้ง สถานี การค้า อยู่เพียง ๑๑ ปี </span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"font-size: small; color: #660099; font-family: MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif\"><b><span style=\"color: #006600\">ญี่ปุ่น</span></b> ชาวญี่ปุ่น เข้ามา ค้าขาย ณ เมืองปัตตานี ในเวลา ไล่เลี่ย กับชาวจีน (เซอรเออเนสต์ ซาเตา ว่า ญี่ปุ่น เข้ามา ค้าขาย ยังเมือง ปัตตานี ราว พ.ศ.๒๑๓๕ ในเวลา เดียวกัน เรือสำเภา ของปัตตานี ก็เข้าไป ค้าขาย ถึงประเทศ ญี่ปุ่น) นอกจาก จะเป็น พ่อค้า แล้ว นายสำเภา ชาวญี่ปุ่น ยังทำตัว เป็นโจรสลัด คอยตี ชิงปล้น เรือสินค้า อีกด้วย สลัด ญี่ปุ่น ใช้อ่าว เมืองปัตตานี เป็นแหล่ง แอบซุ่ม โจมตี เรือสินค้า ชาวต่างประเทศ นักเดินเรือ ผู้มี ชื่อเสียง ของอังกฤษ คือ กัปตันจอน เดวิส ก็ถูก โจรสลัด ญี่ปุ่น ทำการ ปล้นเรือ ของเขา เมื่อปี พ.ศ.๒๑๔๘ ในขณะ เข้ามา สำรวจ เมืองปัตตานี เพื่อจัดตั้ง คลังสินค้า ของบริษัท อีสต์อินเดีย ขึ้นใน เมืองนี้ </span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"font-size: small; color: #660099; font-family: MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif\">สินค้า ญี่ปุ่น ที่เป็นที่ ต้องการ ของตลาด เมืองปัตตานี ขณะนั้น ได้แก่ ทองแดง เครื่องถ้วย ฉากญี่ปุ่น ส่วนสินค้า ที่ชาว ญี่ปุ่น ต้องการซื้อ ได้แก่ ดินปืน ปืนใหญ่ หนังกวาง หนังปลา กระเบน และ ไม้หอม จำพวก ไม้กฤษณา และ ไม้จันทน์ แต่ละปี จะมี เรือสำเภา ญี่ปุ่น เข้ามา แวะที่ เมือง ปัตตานี ปีละ หลายลำ โดยเฉพาะ สำเภา ของพ่อค้า ที่มาจาก หมู่เกาะ ริวกิว จนกระทั่ง เมืองปัตตานี สมัยนั้น ได้ สมญานาม ว่า &quot;เป็นเมืองท่า สองพี่น้อง ระหว่าง เมืองฮิราโดะ ของญี่ปุ่น&quot; ดังนั้น พ่อค้า ชาวญี่ปุ่น จึงเป็น คู่แข่งขัน แย่งชิง ซื้อขาย สินค้า กับพ่อค้า ชาวฮอลันดา และ อังกฤษ อยู่เสมอ จนกระทั่ง คราวหนึ่ง ชาวญี่ปุ่น ได้ลอบ เข้าไป วางเพลิง เผาโกดัง สินค้า ของชาว ฮอลันดา เสียหาย ยับเยิน ชาวญี่ปุ่น อยู่ใน เมือง ปัตตานี นานเท่าไร ไม่ปรากฏ หลักฐาน เมื่อเกิด สงครามโลก ครั้งที่ ๒ (สงคราม มหาเอเซีย บูรพา) ข้าพเจ้า ได้รู้จัก กับพ่อค้า ชาวญี่ปุ่น ซึ่งเป็น ทันตแพทย์ ตั้งคลีนิค อยู่ที่ร้าน เฉาะเฉิน ในตลาด เขตเทศบาล เมืองปัตตานี และ เจ้าของร้าน นานเชนโชไก จำหน่าย ถ้วยชาม ชั้นดี ของญี่ปุ่น อยู่ที่ ถนนปรีดา ซึ่งทราบ ภายหลัง ว่า พ่อค้า เหล่านี้ ล้วนเป็น จารชน เข้ามา ทำการ วางแผน ยึดเมือง ปัตตานี เพื่อใช้ เป็นหัวหาด ยกพล ขึ้นบก ผ่านไป ตีประเทศ สิงคโปร์ หลังจาก สงคราม มหาเอเซีย บูรพาแล้ว ไม่ปรากฏว่า ชาวญี่ปุ่น เข้ามา ค้าขาย ในเมือง ปัตตานี อีกเลย</span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"font-size: small; color: #660099; font-family: MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif\">ในรัชสมัย สมเด็จ พระเจ้า ปราสาททอง เมืองนครศรี ธรรมราช ปัตตานี สงขลา เป็นกบฏ ไม่ยอม ส่งเครื่องราช บรรณาการ ตามราชประเพณี สมเด็จ พระเจ้า ปราสาททอง แต่งตั้ง ให้ออกญา เสนาภิมุข (ยามาดา นางามาสา) ออกไปเป็น เจ้าเมือง นครศรี ธรรมราช ออกญา เสนาภิมุข ได้นำ กองทัพ จากเมือง นครศรี ธรรมราช มาร่วมกับ กองทัพกรุงฯ มาปราบ เมืองปัตตานี ออกญา เสนาภิมุข (ยามาดา นางามาสา) ถูกอาวุธ ที่ขา เมื่อกลับ ไปถึง เมืองนครฯ แผลเกิดพิษ กำเริบ จนถึงแก่ อสัญกรรม (บ้างก็ว่า ออกญา เสนาภิมุข ถึงแก่กรรม เพราะถูก ยาพิษ ของออก พระมริต) </span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"font-size: small; color: #660099; font-family: MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif\"><b><span style=\"color: #006600\">จีน</span></b> ชาวจีน เข้ามา ค้าขาย ในเมือง ปัตตานี เมื่อไร ยังไม่ปรากฏ หลักฐาน แน่นอน แต่ในด้าน ปริมาณ พ่อค้า ชาวจีน มีจำนวน สูงกว่า ชาติอื่นๆ นอกจากนั้น ชาวจีน ยังสมัครใจ สมรส กับชาว พื้นเมือง และ นิยม ตั้งรกราก อยู่ในเมือง ปัตตานี อย่างถาวร จนกลาย เป็นส่วนหนึ่ง ของพลเมือง ปัตตานี ไปใน ที่สุด ผู้เขียน รู้จัก กับครอบครัว ชาวเมือง ปัตตานี หลายครอบครัว อ้างว่าตน มีบรรพบุรุษ เป็นชาวจีน หนังสือ Purchase his Pilgrimage เขียนโดย ชาวอังกฤษ ที่เข้ามา เมืองปัตตานี ในปี พ.ศ.๒๑๖๐ ได้บรรยาย ถึงสภาพ บ้านเมือง ปัตตานี และ ผู้คน ไว้ตอนหนึ่ง ว่า &quot;ปัตตานี เป็นนครหนึ่ง อยู่ทาง ตอนใต้ ของสยาม อาคาร บ้านเรือน เป็นไม้ และแฝก แต่เป็นงาน ที่สร้างขึ้น ด้วยฝีมือ อย่างมีศิลปะ มีสุเหร่า หลายแห่ง มีชาวจีน มากกว่า ชาวพื้นเมือง (คงหมายถึง บริเวณ ท่าเรือ หรือตัวเมือง ปัตตานี) พลเมือง ภาษาใช้กัน ๓ ภาษา คือ ภาษา มาลายัน ภาษาไทย และ ภาษาจีน ชาวจีน สร้างศาลเจ้า ชาวไทย สร้างพระพุทธรูป พระสงฆ์ นุ่งเหลือง ห่มเหลือง&quot;</span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"font-size: small; color: #660099; font-family: MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif\">ที่ฮวงซุ้ย โบราณ ของชาวจีน ในท้องที่ ตำบล ตันหยงลุโละ อำเภอเมือง ปัตตานี ปัจจุบัน ถูกน้ำทะเล กัดเซาะ ดินพังทะลาย ลงไป ในทะเล หมดแล้ว คงเหลือ แต่แผ่นป้าย ศิลา จารึก ชื่อผู้ตาย ที่ชาวบ้าน เก็บมาวางไว้ สำหรับ เป็นที่ ชำระเท้า หน้าบันได บ้าน ข้อความ ในแผ่น ศิลา เป็นอักษรจีน จารึกนาม ผู้ตาย &quot;ชื่อชูฉิน นามสกุล เฉิน ถึงแก่กรรม ในปี เหยินเฉิน ศักราช ว่านลี ราชวงศ์ เหม็ง ตรงกับปี พุทธศักราช ๒๑๓๕&quot; และ หิน เหนือหลุมศพ (แนแซ) ของพญา อินทิรา ผู้สร้างเมือง ปัตตานี ระหว่างปี พ.ศ.๒๐๑๒-๒๐๕๗ ก็เป็น ลวดลายเมฆ ซึ่งเป็น ศิลปกรรม ของช่าง ศิลปะจีน ที่หมายถึง บุคคล ผู้สูงศักดิ์, ความมีเกียรติ, อำนาจ, วาสนา แสดง ให้เห็นว่า เป็นฝีมือ ของช่าง ชาวจีน แกะสลัก ขึ้น และ บริเวณ ฮวงซุ้ย แห่งนี้ ก็คง เป็นที่ตั้ง ชุมนุม ชาวจีน มาตั้งแต่ สมัย เริ่มสร้าง เมืองปัตตานี ทีเดียว ภายใน ศาลเจ้า ซูก๋ง (หรือเล่งจูเกียง) ก็พบ จารึก ภาษาจีน บอกปี ที่สร้าง ศาลเจ้า หลังนี้ ว่า สร้างขึ้นเมื่อ &quot;วันชัย มงคล ปีปวน และ ที่ ๒ ศักราช ราชวงศ์เหม็ง&quot; ตรงกับปี พุทธศักราช ๒๑๑๗ ซึ่งเป็น หลักฐาน การเข้ามา วางรกราก ของชาวจีน ในเมือง ปัตตานี เป็นอย่างดี </span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"font-size: small; color: #660099; font-family: MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif\">สินค้า ชาวจีน ที่นำ เข้ามา จำหน่าย ในตลาด เมืองปัตตานี ได้แก่ เครื่องถ้วยชาม ลายคราม ทั้งชนิดดี และ เลว ซึ่งข้าพเจ้า เก็บรวบรวม ได้จาก บริเวณ บ้านบานา บ้านกรือเซะ เป็นจำนวน มากมาย นอกจากนี้ ยังมี ผ้าแพร และ เส้นไหม ซึ่ง ชาวเมือง ปัตตานี นิยม ซื้อ มาทอ เป็นผ้า ชั้นดี ขึ้นจำหน่าย เรียกว่า &quot;ผ้าจวนตานี&quot; &quot;ผ้ายกตานี&quot; ดังปรากฏชื่อ อยู่ใน วรรณคดีไทย ได้แก่ หนังสือ เสภา เรื่อง ขุนช้าง ขุนแผน และ เรื่องอิเหนา (ดาหลัง) จนกระทั่ง เมืองปัตตานี ในสมัยนั้น ได้สมญานาม ว่าเป็น &quot;แหล่งรวม สินค้า ผ้าไหม ชั้นนำ นอกเหนือ จากกวางตุ้ง&quot; ปัตตานี สมัย อยุธยา เป็นศูนย์รวม สินค้า ที่ผลิต จากประเทศจีน สำหรับ จำหน่าย แก่พ่อค้า นานาชาติ ที่ต้องการ นำไปขาย ในต่างประเทศ อีกต่อหนึ่ง</span>\n </p>\n</blockquote>\n<p>\n<span style=\"font-size: small; color: #660099; font-family: MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif\"><b><span style=\"color: #0000cc\">ความขัดแย้งระหว่างรัฐบาลกับเจ้าเมืองปัตตานี </span></b></span>\n</p>\n<blockquote><p>\n <span style=\"font-size: small; color: #660099; font-family: MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif\"><b><span style=\"color: #006600\">ครั้งที่ ๑</span></b> เกิดขึ้น ในแผ่นดิน สมเด็จ พระมหา จักรพรรดิ์ สาเหตุ ของการ ขัดแย้ง ที่เกิดขึ้น ในครั้งนั้น พงศาวดาร เมืองปัตตานี และ พงศาวดาร กรุงศรี อยุธยา ฉบับ พระราชหัตถเลขา ได้บันทึกไว้ แตกต่างกัน ดังนี้ </span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"font-size: small; color: #660099; font-family: MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif\">สยาเราะห์ ปัตตานี ฉบับ ของนาย หวันอาซัน ว่า สุลต่าน มาดฟาร์ชาฮ์ เสด็จไป อยุธยา ๒ คราว อ้างว่า เพื่อเยี่ยมเยียน พระเจ้า กรุงสยาม ในฐานะ ที่เป็น พระญาติ กับพระองค์ คราวแรก ประทับอยู่ ๒ เดือน ระหว่าง ที่พำนักอยู่ พระเจ้า กรุงสยาม ให้ออกญา กลาโหม มาทูล มาดฟาร์ชาฮ์ ว่า หากสุลต่าน มาดฟาร์ชาฮ์ ต้องการ ได้หญิงงาม ไว้เป็น ภรรยา ก็จะจัด มามอบให้ สุลต่าน ตอบไปว่า &quot;พระองค์ เป็นเพียง เจ้าผู้ครอง ที่ต่ำต้อย หาควร ที่จะ ใฝ่สูง ให้เกินศักดิ์ มิอาจเอื้อม รับหญิงงาม ไว้เป็นศรี ภรรยา ได้ตาม ที่ทรง พระกรุณา โปรดเกล้าฯ&quot; </span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"font-size: small; color: #660099; font-family: MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif\">ส่วนการ เสด็จ ครั้งที่ ๒ &quot;มีไพร่พล ที่ชำนาญ เพลงกริช ตามเสด็จ ไป ๑,๐๐๐ คน ผู้หญิง ๑๐๐ คน และ ได้เกิด การรบพุ่ง กัน ไพร่พล ที่ตาม เสด็จ หาได้ กลับเมือง ปัตตานี แม้แต่ คนเดียว&quot; </span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"font-size: small; color: #660099; font-family: MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif\">สยาเราะห์ กรียาอัน มลายู ปัตตานี ซึ่งอิบรอฮิม ชุกรี ชาวกลันตัน เป็นผู้เขียน ความว่า &quot;สุลต่าน มัดฟาร์ชาร์ ได้เสด็จ ไปเยือน สยาม เพื่อเชื่อม สัมพันธ ไมตรี กันและกัน ในการ เสด็จ ครั้งนั้น กษัตริย์ สยาม ได้ให้การ ต้อนรับ ไม่สมพระเกียรติ จึงเสด็จ กลับมา เมืองปัตตานี ด้วยความ รู้สึก น้อยพระทัย และ อีกตอนหนึ่ง ว่า กษัตริย์ สยาม ได้มอบ ข้าทาส ซึ่งเป็น ชาวพม่า และเขมร ที่นับถือ พุทธศาสนา มาให้ เป็นกำลังเมือง&quot; </span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"font-size: small; color: #660099; font-family: MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif\">เชลยทาส เหล่านั้น ได้ไปตั้ง หลักแหล่ง อยู่ใน ท้องที่ บ้านกะดี ตำบลจะรัง อำเภอยะหริ่ง ต่อเขต อำเภอ ปานาเระ แห่งหนึ่ง และ ที่บ้านกดี ระหว่างเขต อำเภอเมือง กับอำเภอยะหริ่ง (คือวัดบ้านกะดี) อีกแห่งหนึ่ง ต่อมา เมื่อสุลต่าน มาดฟาร์ชาฮ์ ทราบว่า พม่า ยกกองทัพ มาตีเมือง ศรีอยุธยา &quot;จึงได้ ตกลงใจ นำกองทัพ เมืองปัตตานี เข้าไปตี กรุงศรีอยุธยา เพื่อลบรอยแค้น ที่ตราตรึง อยู่ใน พระทัย ของพระองค์ มีกองเรือรบ จำนวน ๒๐๐ ลำ ทหาร ๑,๐๐๐ คน และ ผู้หญิง ๑๐๐ คน เมื่อกองทัพ ไปถึง กรุงศรีอยุธยา สุลต่าน เห็นว่า ทัพพม่า กำลัง ล้อมเมือง สยาม อยู่อย่างหนาแน่น พระองค์ จึงฉวย โอกาส นำกำลัง ทหาร บุกเข้าสู่ ราชสำนัก เจ้ากรุงสยาม ทันที กษัตริย์ ซึ่งประทับ อยู่ใน พระบรม ราชวัง ทรงได้ยิน เสียงโห่ร้อง ของทหาร เมืองปัตตานี จึงเสด็จ หนีออกจาก ประตูเมือง ด้านหลัง หนีไปหลบซ่อน พระองค์ อยู่ที่ เกาะมหาพราหมณ์ ต่อมา ทหาร เมืองสยาม ก็ได้ รวบรวม กำลัง โต้ตอบ กองทหาร เมืองปัตตานี จนถอยร่น ออกจากเขต พระบรม มหาราชวัง หนีไป ลงเรือ เมื่อ ขบวนเรือ ไปถึง ปากอ่าว แม่น้ำ เจ้าพระยา สุลต่าน มาดฟาร์ชาฮ์ ก็ได้สิ้นพระชนม์ชีพ พระศพ ถูกนำ ไปฝังไว้ บนหาดทราย ปากอ่าว เมือง สยาม&quot; </span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"font-size: small; color: #660099; font-family: MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif\">ส่วน พระราช พงศาวดาร ฉบับ พระราชหัตถเลขา ได้บันทึก เรื่องราว เกี่ยวกับเมือง ปัตตานี ในตอนนี้ ว่า &quot;ขณะนั้น พระยา ตานี ศรีสุลต่าน ยกเรือรบ หยาหยับ สองร้อยลำ เข้ามา ช่วย ราชการ สงคราม ถึงทอดสมออ ยู่หน้าวัด กุฎี บางกะจะ รุ่งขึ้น ยกเข้ามา ทอดอยู่ ประตูไชย พระยา ตานี ศรีสุลต่าน ได้ที กลับเป็น กบฏ ก็ยก เข้าไป ในพระราชวัง สมเด็จ พระมหา จักรพรรดิ ราชาธิราชเจ้า ไม่ทันรู้ตัว เสด็จ ลงเรือ พระที่นั่ง ศรีสักหลาด หนีไป เกาะมหาพราหมณ์ และ เสนาบดี มนตรีมุข พร้อมกัน เข้าใน พระราชวัง สะพัดไล่ ชาวตานี แตกฉาน ลงเรือ รุดหนีไป&quot; </span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"font-size: small; color: #660099; font-family: MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif\">ต่อมา เมื่อสุลต่าน มันดูชาฮ์ ผู้เป็น พระราช อนุชา ของสุลต่าน มาดฟาร์ชาฮ์ ขึ้นครอง ราชสมบัติ เมืองปัตตานี ก็ได้ส่งทูต ชื่อ โอรัง กายา สรีอากาคชา มาเฝ้า พระเจ้า กรุงสยาม เหตุการณ์ต่างๆ ก็ยุติลง</span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"font-size: small; color: #660099; font-family: MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif\"><span style=\"color: #006600\"><b>ครั้งที่ ๒ </b></span>เกิดขึ้น ในสมัย นางพญาบีรู หนังสือ ชื่อ เอกสาร ฮอลันดา กล่าวถึง สาเหตุ แห่งการ ขัดแย้ง ในคราวนี้ ว่า เนื่องมาจาก นางพญาบีรู ไม่พอพระทัย พระเจ้า ปราสาททอง โดยกล่าวว่า พระเจ้า ปราสาททอง &quot;เป็นคนชิง ราชสมบัติ (จากพระเจ้า อาทิตยวงศ์) คนโกง ฆาตกร และ คนทรยศ ไม่มีทาง ที่พระนาง จะทรง ตั้งพระทัย แสดงความ เคารพ ยำเกรง เหมือนอย่างที่ พระเจ้าแผ่นดิน ของปัตตานี ในสมัยโบราณ ทรงแสดง ต่อพระเจ้า แผ่นดิน สยาม องค์ก่อนๆ&quot; </span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"font-size: small; color: #660099; font-family: MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif\">ประจวบกับ หัวเมือง ปักษ์ใต้ ได้แก่ เมืองนครศรี ธรรมราช และ สงขลา ต่างก็ พากัน กระด้าง กระเดื่อง ไม่ยอม อ่อนน้อม ต่อพระเจ้า ปราสาททอง อีกด้วย พระเจ้า ปราสาททอง จึงส่ง กองทัพ มาปราบ เมืองนครศรี ธรรมราช และ สงขลาได้ส่ง กองทัพ มาตี เมืองปัตตานี โดย ฮอลันดา สัญญาว่า จะส่ง กองทัพเรือ มาช่วย อีกกองหนึ่ง กองทัพ กรุงศรี อยุธยา และ นครศรี ธรรมราช ล้อมเมือง ปัตตานี อยู่เป็น เวลา ๑ เดือน กองทัพเรือ ฮอลันดา ก็ยังมาไม่ถึง จนเสบียง อาหาร ที่จะ เลี้ยงดู ทหาร หมดลง จึงได้ ถอยทัพ กลับไป </span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"font-size: small; color: #660099; font-family: MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif\">หลังจาก นางพญาบีรู สิ้นพระชนม์ แล้ว เจ้าหญิง อูงู ก็ขึ้น ครองราช สมบัติ เมืองปัตตานี ผู้แทน บริษัท อิสต์อินเดีย ของฮอลันดา และ เจ้าเมือง ไทรบุรี ได้ทำการ เกลี้ยกล่อม นางพญา อูงู โดยให้ เหตุผล ว่า &quot;การค้าขาย ไม่อาจ ดำเนิน ไปได้ เนื่องจาก การเกลียดชัง ต่อประเทศ สยาม&quot; เพราะ เรือสำเภา สยาม ไม่สามารถ นำสินค้า จากสยาม เข้ามา จำหน่าย และ แลกเปลี่ยน กับ สินค้า พ่อค้า ต่างประเทศ ได้ ทำให้ พ่อค้า ที่ต้องการ สินค้า ของสยาม ไม่แวะเมือง ปัตตานี เหมือนอย่าง แต่ก่อน นางพญาอูงู จึงเปลี่ยน นโยบาย ซึ่งเคยใช้ ความแข็งกร้าว กลับมาใช้ การทูต แทน โดยส่งเรือ ๔ ลำ พร้อมด้วย ราชทูต ๒ นายคือ Siratwarra Radja (สรีรัตวรราชา) และ Soyradja Natsawari (โสรัจนาถวารี) นำดอกไม้ ทองเงิน และ เครื่องราช บรรณาการ เข้าไป ถวาย สมเด็จ พระเจ้า ปราสาททอง เมื่อวันที่ ๑๘ สิงหาคม ๒๑๘๔ ทำให้ สภาวะ สงคราม ระหว่าง อยุธยา และ ปัตตานี ยุติลง ด้วยดี มีการ ติดต่อ สัมพันธ์กัน ทั้งทาง การค้า และ การเมือง ตามปกติ จนกระทั่ง กรุงศรี อยุธยา เสียแก่ พม่า ในปี พ.ศ.๒๓๑๐ </span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"font-size: small; color: #660099; font-family: MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif\"><b><span style=\"color: #006600\">ครั้งที่ ๓</span></b> สมัย สมเด็จ พระเจ้า ตากสิน มหาราช การเสีย กรุงศรี อยุธยา ในครั้งที่ ๒ นอกจาก พม่า ปล้นสดมภ์ เอาทรัพย์สิน และ จับผู้คน ไปเป็น เชลย เป็นจำนวนมากแล้ว ยังสูญสิ้น เชื้อพระราชวงศ์ ที่จะสืบ พระราชสมบัติ ไปอีกด้วย บรรดา เจ้าพระยา มหานคร น้อยใหญ่ ต่างก็ พากัน ตั้งตน ขึ้นเป็น อิสระ แยกเป็นก๊ก สำคัญ ได้ ๔ ก๊ก ภาคใต้ ได้แก่ ก๊กของ เจ้าพระยา นครศรี ธรรมราช ซึ่งเป็น เมืองใหญ่ มีผู้คน และ เสบียง อาหาร บริบูรณ์ สมเด็จ พระเจ้า ตากสิน จึงทรง นำทัพ มาปราบ ก๊ก เจ้าพระยา นครศรี ธรรมราช เจ้าพระยานครฯ หนีมา อาศัย อยู่ใน เมืองปัตตานี กับสุลต่าน โมหะหมัด สมเด็จ พระเจ้า ตากสิน ให้พระยา จักรี ติดตาม มาเจรจา กับสุลต่าน โมหะหมัด ขอตัว เจ้าพระยานครฯ พระยาสงขลา พร้อมกับ ขอยืมเงิน ๒๐,๐๐๐ เหรียญ เพื่อทดลอง น้ำใจ เจ้าเมือง ปัตตานี ว่า ยังมี ความยำเกรง ในพระองค์ เพียงใด สุลต่าน โมหะหมัด จึงยอม ส่งตัว เจ้าพระยานครฯ และ เจ้าเมือง สงขลา ให้แก่ สมเด็จ พระเจ้า ตากสิน แต่โดยดี แต่เงินยืมนั้น สุลต่าน โมหะหมัด ขอผัดผ่อน เนื่องจาก สุลต่านเอง ก็ขัดสน ไม่สามารถ จะจัดหา ให้ได้ แต่ด้วยเหตุ ที่สมเด็จ พระเจ้า ตากสิน มีพระราช ภารกิจ ที่จะต้อง ปราบก๊ก ของพระฝาง ซึ่งเป็น ก๊กสำคัญ ให้เสร็จ ไปเสียก่อน จึงยับยั้ง การปราบปราม เมืองปัตตานีไว้</span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"font-size: small; color: #660099; font-family: MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif\"><span style=\"color: #006600\"><b>ครั้งที่ ๔</b></span> สมัย กรุงรัตน โกสินทร์ เมื่อ พระบาท สมเด็จ พระพุทธ ยอดฟ้า จุฬาโลกฯ ได้เสด็จขึ้น เถลิงวัลย์ ราชสมบัติ แล้ว จึง โปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จ กรมพระราชวัง บวร มหา สุรสิงหนาท เสด็จ ออกไป ช่วยเหลือ หัวเมือง ปักษ์ใต้ ที่กองทัพ พม่า เข้ามา โจมตี เมืองภูเก็ต นครศรี ธรรมราช พัทลุง หลังจาก กองทัพ พม่า แตกหนี ไปแล้ว ก็ทรงมี พระราชสาสน์ มาแจ้งแก่ สุลต่าน โมหะหมัด ให้ยินยอม ส่ง เครื่องราช บรรณาการ และ ต้นไม้ ทองเงิน ตามพระราช ประเพณี ของประเทศราช ที่เคย ปฏิบัติ มาแต่ครั้ง กรุงศรี อยุธยา แต่สุลต่านฯ ปฏิเสธ สมเด็จ กรมพระราชวัง บวรฯ จึงระดมทัพ เมืองสงขลา พัทลุง ยกมา ตีเมือง ปัตตานี ได้ในปี พ.ศ.๒๓๒๙ </span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"font-size: small; color: #660099; font-family: MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif\"><b><span style=\"color: #006600\">ครั้งที่ ๕</span></b> เหตุขัดแย้ง เกิดขึ้น จากการ ที่ต่วนกู ลัมมิเด็น ซึ่งทรง พระกรุณา โปรดให้ ดำรงตำแหน่ง ผู้ว่า ราชการ เมืองปัตตานี มีเจตนา ที่จะ ปกครอง เมืองปัตตานี โดยอิสระ ไม่ต้องการ เป็นประเทศราช ส่งดอกไม้ ทองเงิน แก่ กษัตริย์ แห่งกรุงสยาม ภายใต้ การควบคุม ของเจ้าพระยา นครศรี ธรรมราช จึงส่งทูต นำสาสน์ พร้อมเครื่องราชบรรณาการ ไปกับ นายสำเภา ชื่อ &quot;นะคุดาซุง&quot; เพื่อถวาย องค์เชียงสือ กษัตริย์ญวน เกลี้ยกล่อม องค์เชียงสือ ให้ร่วมมือ นำกองทัพญวน และ ปัตตานี มาตี กรุงเทพฯ แต่องค์เชียงสือ หาได้ ปฏิบัติ ตามคำ ชักชวน ของตนกู ลัมมิเด็น เพราะยังคง สำนึก ในพระมหา กรุณาธิคุณ ของพระบาทสมเด็จ พระพุทธยอดฟ้า จุฬาโลกฯ ที่เคยให้ ความอุปถัมภ์ แก่องค์เชียงสือ และ สมเด็จ พระราช มารดา คราวที่ หลบหนีภัย กบฏ ไตเซิน เข้ามา พึ่งพา พระบรม โพธิสมภาร อยู่ใน กรุงเทพฯ ทั้งยัง ช่วยเหลือ เกื้อหนุน ให้อาวุธ ยุทโธปกรณ์ ในการ กอบกู้ พระราชบัลลังก์ กลับคืน จากพวก กบฏ สำเร็จ จึงนำสาสน์ ของตนกู ลัมมิเด็น ให้ขุนนางไทย ชื่อ พระพิมล วารี และ พระราชมนตรี มาทูลเกล้าฯ ถวาย แก่ สมเด็จ พระพุทธ ยอดฟ้าฯ ทรงทราบ ข้อความ ในสาร ฉบับนั้น มีความว่า &quot;เดือน ๑๑ ปีระกา เอกศกจุล ศักราช ๑๑๕๑ รายา ตานี จะยกทัพ มาตีกรุง ให้องค์เชียงสือ มาร่วมกับ รายาตานี&quot; ดังนั้น ในปี พ.ศ.๒๓๓๔ สมเด็จ พระพุทธยอดฟ้า จุฬาโลกฯ จึงทรง โปรดเกล้า ให้ &quot;พระยา กลาโหม ราชเสนา เป็นแม่ทัพเรือ ยกไปตี เมืองตานี จับรายาตานี ได้ใน กุฎี พระสงฆ์ ที่วัด แห่งหนึ่ง&quot; แต่ก่อนที่กองทัพกรุงจะยกลงไปตีเมืองตานีนั้น ตวนกูลัมมิเด็นได้อาศัยกำลังจาก &quot;แขกเซียะ&quot; บนฝั่งเกาะสุมาตรามาสมทบ ยกไป ตีเมือง สงขลา ดังข้อความ ในพงศาวดาร เมืองสงขลา ที่บันทึก ไว้ว่า &quot;ปีกุนตรีศก ศักราช ๑๑๕๓ (พ.ศ.๒๓๓๔) โต๊ะสาเหย็ด (สาเหย็ด (ไซยิด) หมายถึง ผู้มีสาย สืบเนื่อง มาจาก พระนาบี โมหะหมัด ในที่นี้ คงจะ หมายถึง ผู้นำ ศาสนา ที่มีคน เคารพ นับถือ เท่านั้น) คบคิด กับพระยา ตานี ยกกองทัพ ไปตีเมือง สงขลา พระยา สงขลา ขอกำลัง กองทัพหลวง จากกรุงเทพฯ และนำ กองทัพ เมือง นครศรี ธรรมราช มาช่วยเหลือ แต่ก่อน ที่กองทัพหลวง จากพระนครฯ ยกไป ถึงเมือง สงขลา เพียง ๔ วัน กองทัพ เมืองสงขลา เมืองนครศรี ธรรมราช ก็สามารถ ตีกองทัพ พระยา ตานี ที่มา ตั้งค่าย ล้อมเมือง สงขลา แตกถอย กลับไป โต๊ะสาเหย็ด (ไซยิด) ถูกปืนตาย ขณะ เสกน้ำมนต์ ประพรม ประตูค่าย&quot; </span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"font-size: small; color: #660099; font-family: MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif\">หลังจากการ ปราบปราม กบฏ เมืองปัตตานี ในครั้งนี้ พระยาสงขลา (บุญฮุย) มีความชอบ ที่สามารถ ป้องกันเมือง สงขลา ไว้ได้ และ ช่วยกองทัพหลวง ตีเอาเมือง ปัตตานี กลับคืน สมเด็จ พระพุทธยอดฟ้าฯ จึงโปรด พระราชทาน ให้เลื่อน บรรดาศักดิ์ พระยา สงขลา (บุญฮุย) ขึ้นเป็น เจ้าพระยา อินทคีรี ศรีสมุทร สงคราม รามภักดี อภัย พิริยะ ปรากรม พาหุ และให้ ยกเมือง สงขลา ขึ้นเป็น เมืองชั้นเอก ขึ้นตรง ต่อกรุงเทพ มหานครฯ และมอบ อำนาจ ให้เจ้าเมือง สงขลา เป็นผู้ ควบคุม ดูแล เมืองปัตตานี กลันตัน ตรังกานู ซึ่งเมือง เหล่านี้ เดิมขึ้น อยู่กับ เมือง นครศรีธรรมราช </span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"font-size: small; color: #660099; font-family: MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif\"><b><span style=\"color: #006600\">ครั้งที่ ๖</span></b> กบฏ ระตู ปะกาลัน &quot;ระตูปะกาลัน&quot; เป็นสมมตินาม ไม่ใช่ ชื่อบุคคล ที่แท้จริง เทียบได้กับ ตำแหน่ง ขุนนางไทย สมัยโบราณ ได้แก่ เจ้ากรมท่า (ซ้าย - ขวา) ในความหมาย ของคำ &quot;ระตู&quot; แปลว่า &quot;เจ้าเมือง&quot; ปะกาลัน แปลว่า &quot;ท่าเรือ&quot; รวมความ ก็คือ เจ้าท่า เจ้ากรมท่า นั่นเอง มลายู เรียก ตำแหน่งนี้ว่า ชาฮ์บันดาร์ (Shah bandar)</span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"font-size: small; color: #660099; font-family: MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif\">หลังจาก ต่วนกู ลัมมิเด็น ถูกจับตัว นำไป กักกัน ไว้ที่ กรุงเทพฯ แล้ว พระยา กลาโหม ราชเสนา เสนอให้ ระตูปะกาลัน เข้าดำรง ตำแหน่ง เจ้าเมือง ปัตตานี ในปี พ.ศ.๒๓๓๔ ต่อมา ในปี พ.ศ.๒๓๕๑ ระตูปะกาลัน มีความ คิดเห็น ขัดแย้ง กับขุนนางไทย หรือที่ มลายู เรียกว่า &quot;ลักษมณา ดายัน&quot; ซึ่งมีหน้าที่ ให้ความคิดเห็น ในการ บริหาร กิจการ เมืองปัตตานี แทน ผู้สำเร็จ ราชการ เมืองสงขลา ระตูปะกาลัน ใช้ทหาร เข้าทำการ ขับไล่ ขุนนางไทย ออกไป จากเมือง ปัตตานี เจ้าพระยา อินทคีรีฯ ผู้สำเร็จ ราชการ เมืองสงขลา มีใบบอก เข้าไป กรุงเทพฯ สมเด็จ พระพุทธ ยอดฟ้าฯ จึงทรง โปรดเกล้าฯ ให้เจ้าพระยา พลเทพ (บุนนาค) นำกองทัพกรุง ออกไปสมทบ กับกองทัพ เมืองสงขลา เมืองพัทลุง ยกไปตี เมืองปัตตานี ระตู ปะกาลัน เห็นกองทัพกรุง ลงมา ช่วยเหลือ เมืองสงขลา เกิดความกลัว จึงหลบหนี ไปทางเมือง เประ ปลัดจะนะ (ขวัญซ้าย) ได้นำ กองทหาร ติดตาม ไปทันกัน ที่ชายแดน ระหว่างเมือง รามันห์ กับเมือง เประ ได้สู้รบกัน ระตูปะกาลัน ถูกปืน ถึงแก่กรรม </span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"font-size: small; color: #660099; font-family: MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif\">ผู้สำเร็จ ราชการ เมืองสงขลา จึงเสนอ นายขวัญซ้าย มหาดเล็ก ดำรงตำแหน่ง ผู้ว่า ราชการ เมืองปัตตานี และในปีนี้ ก็มี พระบรม ราโชบาย ให้แยกเมือง ปัตตานี ออกเป็น ๗ หัวเมือง คือ เมืองหนองจิก ส่วนชื่อ ผู้ว่า ราชการ เมืองอื่นๆ ไม่ปรากฏ หลักฐานว่า ได้แต่งตั้งผู้ใด สันนิษฐานว่า คงจะอยู่ ในระยะ การคัดเลือก สรรหา บุคคล ที่มี ความเหมาะสม เพื่อนำขึ้น ทูลเกล้าฯ ถวาย ให้ทรง พระกรุณา โปรดเกล้า แต่งตั้ง แต่ สมเด็จ พระพุทธยอดฟ้า จุฬาโลก ได้สวรรคต เสียก่อน </span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"font-size: small; color: #660099; font-family: MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif\"><b><span style=\"color: #006600\">ครั้งที่ ๗</span></b> ต่วนกูสุหลง ผู้ว่า ราชการ เมืองปัตตานี เป็นผู้นำ ในการ กบฏ สาเหตุ ที่ทำ ให้เกิด การกบฏ ในครั้งนี้ สืบเนื่อง มาจาก เหตุการณ์ ที่เกิดขึ้น ในเมือง ไทรบุรี เมื่อปี พ.ศ.๒๓๖๓ โดยตนกูหม่อม ทำเรื่อง กล่าวโทษ เจ้าพระยา สงคราม รามภักดี ศรีสุลต่าน มหะหมัด รัตราช วังสา (ปะแงรัน) เจ้าเมือง ไทรบุรี ผู้เป็น พี่ชาย ว่าเอาใจ ออกห่าง ไปสามิภักดิ์ ต่อพระเจ้า กรุงอังวะ กษัตริย์ พม่า เจ้าพระยา นครฯ (น้อย) ผู้ควบคุม หัวเมือง ประเทศราช ในภาคใต้ จึงนำ กองทัพ ไปตีเมือง ไทรบุรี เจ้าพระยา ไทรบุรี นำครอบครัว หลบหนี ไปอาศัย อยู่ ณ เกาะปีนัง </span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"font-size: small; color: #660099; font-family: MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif\">เจ้าพระยานครฯ จึงขอ พระราชทาน แต่งตั้ง บุตรชาย ซึ่งต่อมา ได้รับ สัญญาบัตร เป็นพระยา อภัยธิเบศร มหา ประเทศ ราชา ธิบดินทร์ อินทร ไอสวรรย์ ขัณฑ เสมา มาตยา นุชิต สิทธิ สงคราม รามภักดี พิริยพาหุ (แสง) เป็นเจ้าเมือง ไทรบุรี </span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"font-size: small; color: #660099; font-family: MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif\">ต่อมาในปี พ.ศ.๒๓๗๓ - ๒๓๗๔ เมืองไทรบุรี ประสบ ทุพภิกขภัย ฝนแล้ง ติดต่อกัน ราษฎร ทำนา ไม่ได้ผล ชาวเมือง อดอยาก และ เกิดโจรกรรม ขึ้นชุกชุม ตนกูเดน บุตรของ ตนกูรายา พี่ชาย ของเจ้าพระยา ไทรบุรี (ปะแงรัน) ฉวยโอกาส จากการ เกิดภัย พิบัติ ขึ้นใน เมืองไทรบุรี นำสมัคร พรรคพวก เข้ามา เกลี้ยกล่อม ยุยง ราษฎร ให้ร่วมใจ กันก่อกบฏ ชิงเอาเมือง ไทรบุรี ไว้ได้ การกบฏ ในครั้งนี้ ศาสตราจารย์ ฮอลล์ กล่าวว่า &quot;ได้มีการ วางแผน กันที่ ปีนัง ต่อหน้า ต่อตา เจ้าหน้าที่ อังกฤษ ทีเดียว&quot; </span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"font-size: small; color: #660099; font-family: MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif\">พระยา อภัยธิเบศรฯ อพยพ ผู้คน ถอยไป ตั้งทัพ คอยรับ การต่อสู้ ตนกูเดน อยู่ที่ เมืองพัทลุง แล้วรายงาน การเสีย เมืองไทรบุรี ให้ เจ้าพระยา นคร (น้อย) ทราบ ขณะนั้น พระสุรินทร์ ข้าหลวง ในกรม พระราชวัง บวรฯ ออกมา ปฏิบัติ ราชการ อยู่ที่เมือง นครศรี ธรรมราช เจ้าพระยานครฯ จึงให้ พระสุรินทร์ นำคำสั่ง ออกไปเกณฑ์ กองทัพ เมืองสงขลา (เถี้ยนเส้ง) มอบหมาย ให้พระสุรินทร์ นำคำสั่ง ไปยัง หัวเมือง ทั้ง ๗ ชาวเมือง เหล่านั้น ทราบว่า ถูกเกณฑ์ ไปรบ กับเมือง ไทรบุรี ก็พากัน หลบหนี พระสุรินทร์ จึงลงโทษ กรมการเมือง </span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"font-size: small; color: #660099; font-family: MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif\">เจ้าเมือง ปัตตานี ยะลา หนองจิก สาย รามันห์ และ เมืองระแงะ ไม่พอใจ ในการ กระทำ ของพระสุรินทร์ จึงสมคบกัน ทำการ กบฏขึ้น ต่วนสุหลง เจ้าเมือง ปัตตานี ได้ขอ ความช่วยเหลือ ไปยัง สุลต่าน เมืองกลันตัน ตรังกานู ให้ส่ง กองทัพ มาช่วย</span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"font-size: small; color: #660099; font-family: MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif\">&quot;พระยา กลันตัน ให้พระยา บาโงย พระยา บ้านทะเล ผู้น้อง พระยา บาโงย เป็นแม่ทัพเรือ คุมเรือ ๕๐ ลำ พระยา บ้านทะเล เป็นแม่ทัพบก&quot; และ &quot;เมืองตรังกานู ให้ตนกู คาเร เจ๊ะกูหลง หวันกามา เจ๊ะสะมาแอ คุมเรือ ๓๐ ลำ มาช่วย เมืองตานี&quot; (พระราช พงศาวดาร รัชกาลที่ ๓ ของ เจ้าพระยา ทิพากรวงศ์ หน้า ๑๒๔ พิมพ์โดย สำนักพิมพ์ องค์การค้า ของคุรุสภา) </span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"font-size: small; color: #660099; font-family: MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif\">เจ้าพระยา พระคลัง (ดิศ บุนนาค) นำกองทัพ เดินทาง ไปถึง เมืองสงขลา เมื่อวันที่ ๒๒ เมษายน ๒๓๗๕ หลังจาก กองทัพ ของเจ้าพระยา นครฯ (น้อย) ตีเมือง ไทรบุรี กลับคืน มาได้แล้ว พระยา พระคลัง (ดิศ) จึงแต่งตั้ง ให้พระยา เพชรบุรี พระยา สงขลา (เถี้ยนเส้ง) นำทัพบก และ ทัพเรือ ไปถึงเมือง ปัตตานี เมื่อวันที่ ๒๐ มิถุนายน ๒๓๗๕ ตีเมือง ปัตตานีแตก ต่วนสุหลง อพยพ ครอบครัว หนีไปเมือง กลันตัน พร้อมกับ ต่วนกูยาโล เจ้าเมืองสาย รามันห์ และ เมืองระแงะ ยอมเข้ามา มอบตัว เจ้าพระยา พระคลัง (ดิศ) จึงขอ พระราชทาน อภัยโทษ ให้ (พระราช พงศาวดาร รัชกาลที่ ๓ ของเจ้าพระยา ทิพากรวงศ์ หน้า ๑๒๔ พิมพ์โดย สำนักพิมพ์ องค์การค้า ของคุรุสภา) </span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"font-size: small; color: #660099; font-family: MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif\">สุลต่าน หลงมูฮัมหมัด เจ้าเมือง กลันตัน เกรงกลัวว่า กองทัพไทย จะติดตาม ไปตีเมือง จึงส่งตัว ต่วนสุหลง เจ้าเมือง ปัตตานี ต่วนยาโล เจ้าเมือง ยะลา และ แม่ทัพ นายกอง เมืองปัตตานี คือ ดามิด มะหะหมุด และ อาหะหมัด มามอบให้ เจ้าพระยา พระคลัง (ดิศ) และ ยินยอม ชดใช้ ค่าเสียหาย ให้แก่ กองทัพไทย เป็นเงิน ๕๐,๐๐๐ เหรียญ ส่วนเจ้าเมือง ตรังกานู (มะหะหมัด) สมเด็จ พระนั่งเกล้าฯ โปรดให้ ปลดออก จากตำแหน่ง และทรง แต่งตั้ง ตนกูอุมา ซึ่งเป็นญาติ กับพระยา ตรังกานู (มะหะหมัด) ซึ่งดำรงตำแหน่ง ผู้ว่า ราชการ เมืองตรังกานู แทน </span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"font-size: small; color: #660099; font-family: MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif\"><b><span style=\"color: #006600\">ครั้งที่ ๘</span></b> ความขัดแย้ง เกิดขึ้น เนื่องจาก การปฏิรูป ระบบ การปกครอง ประเทศ ของสมเด็จ พระจุลจอมเกล้า เจ้าอยู่หัว ทำให้ พระยา วิชิต ภักดี (ตนกู อับดุล กาเดร์) ไม่พอใจ ที่รัฐบาล ได้ออก กฎข้อบังคับ สำหรับ ปกครอง บริเวณ เจ็ดหัวเมือง ขึ้นมา บังคับใช้ ตั้งแต่ วันที่ ๒๒ ธันวาคม พ.ศ.๒๔๔๔ ซึ่ง ผู้ว่า ราชการ เมือง ถือว่า กฎข้อบังคับ ดังกล่าว เป็นการ ลิดรอน อำนาจ ทางด้าน การเมือง เศรษฐกิจ การคลัง และ อำนาจ อาญาสิทธิ์ ที่เคยมี ต่อราษฎร คือสามารถ ทำการ ประหารชีวิต บุคคล ได้โดย รัฐบาลกลาง แต่งตั้ง ปลัดเมือง ยกกระบัตรเมือง และ ผู้ช่วย ราชการ เมือง เข้ามา ปฏิบัติ ราชการ ช่วยเหลือ ผู้ว่า ราชการเมือง ด้านการคลัง รัฐ ก็ส่ง เจ้าพนักงาน สรรพกร ออกทำการ เก็บภาษี อากร ตาม พิกัด อัตรา ซึ่งกำหนด ขึ้นตาม ระเบียบ ของ กระทรวง การคลัง แทนการ ให้ผู้ว่า ราชการเมือง ดำเนินการเก็บ และ ใช้สอยเอง โดยพละการ ส่วนตัว พระยาเมือง รัฐบาล จะจ่ายเงิน ค่ายังชีพ ให้อย่าง เพียงพอ แก่การ ดำรงชีพ เพื่อมิให้ เสื่อมเสียเกียรติ ของผู้ว่า ราชการเมือง ทันที ที่พระยา ตานี ได้รับทราบ สารตรา แจ้งเรื่อง กฎข้อบังคับ ที่เจ้าพนักงาน เชิญไปแจ้ง ให้ทราบ ก็แสดง ปฏิกิริยา ไม่เห็นชอบด้วย กับ กฎ ข้อบังคับ นั้น ครั้นเจ้าพนักงาน สรรพากร เข้าไป ปฏิบัติงาน ตามหน้าที่ พระยาตานี ก็ทำการ ขัดขวาง เจ้าพนักงาน มิให้ ปฏิบัติการ ใดๆ ทั้งสิ้น นอกจากนั้น พระยาตานี ยังเดินทาง ไปขอร้อง ข้าหลวงใหญ่ อังกฤษ ที่ประจำ อยู่ที่เมือง สิงคโปร์คือ เซอร์แฟร็งค์ สเวทเทนนั่ม ให้ช่วยเหลือ เจรจา กับ รัฐบาล ไทย พร้อมทั้ง เสนอให้ อังกฤษ ยึดเมือง ปัตตานี เป็นเมืองขึ้น </span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"font-size: small; color: #660099; font-family: MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif\">ทางรัฐบาล ถือว่า พระยา วิชิต ภักดี จงใจ ขัดขืน พระบรม ราชโองการ ไม่ให้ ความร่วมมือ ในการ ปฏิรูป การปกครอง ประเทศ ให้เหมาะสม กับกาลสมัย กระทรวง มหาดไทย จึงส่ง พระยา สิงหเทพ กับ กำลัง ตำรวจ ภูธร เดินทาง มาโดย เรือรบหลวง ทำการ จับกุมตัว พระยาตานี ในวันที่ ๒๐ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๔๔๕ และ ส่งตัว ไปกักกัน บริเวณ ไว้ที่ เมืองพิษณุโลก แล้วแต่งตั้ง ให้พระยา พิทักษ์ ธรรมสุนทร (ต่วนกูเดร์) ขึ้นเป็น ผู้รั้ง เมืองปัตตานี </span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"font-size: small; color: #660099; font-family: MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif\">ปี ร.ศ.๑๒๓ (พ.ศ.๒๔๔๗) ตนกู อับดุล กาเดร์ ได้รับ พระกรุณา โปรดเกล้าฯ อนุญาต ให้กลับมา อยู่ที่เมือง ปัตตานี ได้ด้วย คำมั่น สัญญาว่า &quot;จะไม่ เกี่ยวข้อง การบ้านเมือง อย่างหนึ่ง อย่างใด เป็นอันขาด&quot; </span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"font-size: small; color: #660099; font-family: MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif\">ครั้นเมื่อ สมเด็จ พระมงกุฎเกล้า เจ้าอยู่หัว เสด็จขึ้น เถลิงถวัลย์ ราชสมบัติ แล้ว ตนกู อับดุล กาเดร์ ก็ได้ทำ หนังสือขึ้น กราบบังคมทูล ขอพระราชทาน เงินค่ายังชีพ พระบาท สมเด็จ พระมงกุฎเกล้าฯ ก็ทรง พระกรุณา พระราชทาน เงินค่ายังชีพ ให้แก่ ตนกู อับดุล กาเดร์ เป็นเงิน เดือนๆ ละ ๓๐๐ บาท (จาก จดหมาย ของ พระยา พิบูลย์ พิทยาพรรค ธรรมการ มณฑล ปัตตานี มีไปถึง ขุนศิลปกรรม พิเศษ อดีต ศึกษาธิการ เขตการศึกษา ๒ จังหวัดยะลา) หลังจากนั้น ไม่นาน ตนกู อับดุล กาเดร์ ก็ได้ อพยพ ครอบครัว ไปพำนัก อยู่ที่รัฐ กลันตัน จนกระทั่ง ถึงแก่กรรม ในปี พ.ศ.๒๔๗๖ </span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"font-size: small; color: #660099; font-family: MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif\">สาเหตุ ที่ตนกู อับดุล กาเดร์ ขัดขืน พระบรมราช โองการ ไม่ยอม ปฏิบัติ ตามกฎ ข้อบังคับ สำหรับ ปกครอง บริเวณ เจ็ดหัวเมือง ที่รัฐบาล ตราขึ้น ในปี พ.ศ.๒๔๔๔ สมเด็จ กรมพระยาดำรงฯ ได้กล่าวสรุป ไว้ใน หนังสือ สาสน์สมเด็จ ตอนที่ ๖ ว่าด้วย การบำรุง หัวเมือง ฝ่ายตะวันตก ชั้นหลังว่า</span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"font-size: small; color: #660099; font-family: MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif\">&quot;ใน พ.ศ.๒๔๔๔ นั้น ประจวบ เวลา พวกอังกฤษ ที่เมือง สิงคโปร์ คิดอยาก จะรุก แดนไทย ทางแหลม มลายู แต่ รัฐบาล อังกฤษ ที่เมือง ลอนดอน ไม่ให้ อนุมัติ พวกเมือง สิงคโปร์ จึงคิด อุบาย หาเหตุ เพื่อที่ จะให้ รัฐบาล ที่ลอนดอน ต้องยอมตาม ในอุบาย ของพวก สิงคโปร์ ในครั้งนั้น อย่างหนึ่ง แต่สาย ไปยุยง พวกมลายู เจ้าเมือง ในมณฑล ปัตตานี ให้เอาใจ ออกห่าง จากไทย พระยาตานี (อับดุลกาเดร์) หลงเชื่อ จึงทำการ ขัดแข็ง ขึ้น สมเด็จ พระพุทธเจ้าหลวง ดำรัสสั่ง ให้จับ และ ถอด พระยา ตานี แล้วเอาตัว ขึ้นไปคุม ไว้ที่เมือง พิษณุโลก การหยุกหยิก ในมณฑล ปัตตานี จึงสงบ ลงไป&quot; </span>\n </p>\n</blockquote>\n<blockquote><div align=\"center\">\n <span style=\"font-size: small; color: #660099; font-family: MS Sans Serif, Tahoma, sans-serif\"></span>\n </div>\n</blockquote>\n<!-- text below generated by server. PLEASE REMOVE --><!-- text below generated by server. PLEASE REMOVE --><div>\n</div>\n<script language=\"JavaScript\">\nvar PUpage=\"76001083\"; var PUprop=\"geocities\"; </script><script src=\"http://www.geocities.com/js_source/pu5geo.js\" language=\"JavaScript\">\n</script><script src=\"http://www.geocities.com/js_source/ygIELib9.js?v3\" language=\"JavaScript\">\n</script><script language=\"JavaScript\">\nvar yviContents=\'http://us.toto.geo.yahoo.com/toto?s=76001083&l=NE&b=1&t=1073746373\';yviR=\'us\';yfiEA(0);</script><script src=\"http://us.i1.yimg.com/us.yimg.com/i/mc/mc.js\" language=\"JavaScript\">\n</script><script src=\"http://us.i1.yimg.com/us.yimg.com/i/mc/mc1.js\">\n</script><script src=\"http://us.i1.yimg.com/us.yimg.com/i/mc/mc2.js\">\n</script><p><span style=\"behavior: url(\'#default#clientCaps\')\" id=\"cc\"></span></p>\n<script src=\"http://geocities.com/js_source/geov2.js\" language=\"JavaScript\">\n</script><script language=\"javascript\">\ngeovisit();</script><p><img border=\"0\" src=\"http://visit.geocities.com/visit.gif?&amp;r=http%3A//www.geocities.com/bluesing2001/media/langkasuka/t10.htm&amp;b=Microsoft%20Internet%20Explorer%204.0%20%28compatible%3B%20MSIE%206.0%3B%20Windows%20NT%205.1%3B%20SV1%29&amp;s=1024x768&amp;o=Win32&amp;c=32&amp;j=true&amp;v=1.2\" /> <noscript></noscript><img width=\"1\" src=\"http://geo.yahoo.com/serv?s=76001083&amp;t=1073746373\" alt=\"1\" height=\"1\" /> </p>\n<!-- text below generated by server. PLEASE REMOVE --><!-- text below generated by server. PLEASE REMOVE --><div>\n</div>\n<script src=\"http://us.i1.yimg.com/us.yimg.com/i/mc/mc.js\" language=\"JavaScript\">\n</script><script src=\"http://us.i1.yimg.com/us.yimg.com/i/mc/mc1.js\">\n</script><script src=\"http://us.i1.yimg.com/us.yimg.com/i/mc/mc2.js\">\n</script><p><span style=\"behavior: url(\'#default#clientCaps\')\" id=\"cc\"></span></p>\n<script src=\"http://us.js2.yimg.com/us.js.yimg.com/lib/smb/js/hosting/cp/js_source/geov2_001.js\" language=\"JavaScript\">\n</script><script language=\"javascript\">\ngeovisit();</script><p><noscript></noscript><img width=\"1\" src=\"http://geo.yahoo.com/serv?s=76001083&amp;t=1253774210&amp;f=us-w7\" alt=\"1\" height=\"1\" /> </p>\n', created = 1715908767, expire = 1715995167, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:730cce0cc8e52da55d815b6bc367ff8e' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:37b3d182a83b55f7339e0780f697192e' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><img border=\"0\" src=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-frown.gif\" alt=\"Frown\" title=\"Frown\" /> ขาดแหล่งอ้างอิง และชื่อผู้สร้าง แก้ไขด้วย</p>\n', created = 1715908767, expire = 1715995167, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:37b3d182a83b55f7339e0780f697192e' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ

ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ

โปรตุเกส เป็นชาว ตะวันตก ชาติแรก ที่เข้ามา มีความ สัมพันธ์ กับเมือง ปัตตานี หลังจากที่ โปรตุเกส เข้ายึดครอง เมืองมะละกา จาก สุลต่าน โมฮัมหมัด ขณะที่ เมืองมะละกา กำลัง เป็นศูนย์ การค้า ระหว่าง ซีกโลก ตะวันตก กับ ตะวันออก ในปี พ.ศ.๒๐๕๔ บรรดา พ่อค้า ชาวอาหรับ เปอร์เซีย และอินเดีย ที่ ไม่พอใจ พวก โปรตุเกส ที่เข้ามา แย่งชิง กิจการค้า ของตน ซึ่งกำลัง เฟื่องฟู อยู่ ต่างก็ หันเห มาใช้ เมืองปัตตานี ขณะนั้น มีพ่อค้า ชาวจีน และ ญี่ปุ่น เข้ามา ค้าขาย อยู่ก่อน แล้ว ทั้งสินค้า ของชาวจีน และ ญี่ปุ่น เข้ามา ค้าขาย อยู่ก่อนแล้ว ทั้ง สินค้า ของ ชาวจีน และ ญี่ปุ่น ก็เป็นที่ ต้องการ ของชาว ตะวันตก อีกด้วย เช่น เครื่องถ้วยชาม แพร ไหม และ ทองแดง โปรตุเกส เอง ก็ต้องการ ได้สินค้า จากประเทศ จีน และ ญี่ปุ่น เพื่อส่งไป จำหน่าย ในตลาด ประเทศ ตะวันตก อัลบูเกิกร์ ผู้สำเร็จ ราชการ เมืองมะละกา จึงส่ง ดวตเต ฟอร์นันเด มาเฝ้า สมเด็จ พระรามา ธิบดีที่ ๒ เพื่อ ขออนุญาต เข้ามา ทำการ ค้าขาย กับเมืองท่าต่างๆ ในแหลมมลายู ซึ่งเป็น ประเทศราช ของไทย ดังนั้น ในปี พ.ศ.๒๐๕๙ โปรตุเกส จึงส่ง นาย มานูเอล ฟัลเซา เข้ามา ตั้งห้างร้าน ค้าขาย ขึ้นใน เมืองปัตตานี เป็นครั้งแรก

ต่อมา โปรตุเกส เกิดกรณี พิพาท กับชนชาติ ฮอลันดา จนกระทั่ง ต้องเสียเมือง มะละกา ให้แก่ ชาวฮอลันดา ในปี พ.ศ.๒๑๘๔ ชาวโปรตุเกส จึงต้อง เลิกกิจการค้า ของตน ในแหลม มลายู รวมทั้ง สถานี การค้า ที่เมือง ปัตตานีอีกด้วย รวม ระยะเวลา ที่โปรตุเกส เข้ามา ตั้งสถานี การค้า อยู่ใน ปัตตานี ถึง ๑๒๕ ปี

ฮอลันดา ชาวฮอลันดา เป็นชาติ ที่สอง รองจาก ชาติโปรตุเกส ที่เข้ามา ค้าขาย ในเมือง ปัตตานี ในปลาย รัชสมัย สมเด็จ พระนเรศวร มหาราช เมื่อปี พ.ศ.๒๑๔๔ - ๒๑๔๕ โดย กัปตัน วันเน็ค ได้นำเรือ แอมสเตอร์ดัม (Amsterdam) และ เรือกูดา (Gouda) เข้ามา เจรจา กับ เจ้าหญิง ฮียา เมื่อวันที่ ๗ พฤศจิกายน ๒๑๔๔ เพื่อขอ อนุญาต จัดตั้ง สถานี การค้า ขึ้น มีนายดาเนียล วันเดอร์เล็ค (Daniel Vanderlek) รับหน้าที่ เป็นหัวหน้า สถานี การค้า และ นายปีเตอร์ วอลิคส์ (Pieter Walieksx) เป็นผู้ช่วย ทำการ ค้าขาย ติดต่อ ระหว่าง อยุธยา - ปัตตานี - ไทรบุรี - นครศรีธรรมราช - สงขลา - ภูเก็ต และ เมืองบันตัม ในเกาะชวา

สินค้า ที่ฮอลันดา ต้องการ ได้แก่ ดีบุก หนังกวาง ไม้ฝาง ข้าวสาร ข้าวเปลือก หนังปลากระเบน เพื่อนำไป จำหน่าย แก่ประเทศ ญี่ปุ่น

ในสมัย พญาบีรู ปกครอง เมือง ปัตตานี นางพญา มีความขัดแย้ง กับ กษัตริย์ อยุธยา คือ พระเจ้า ปราสาททอง เนื่องจาก นางพญาบีรู รังเกียจ พระเจ้า ปราสาททอง ว่า ได้ราชสมบัติ มาโดย มิชอบ "เป็นคนชิง ราชสมบัติ (จากพระอาทิตยวงศ์)" พระนาง จึงไม่ยอม ส่ง เครื่องราช บรรณาการ ไปถวาย ตามราชประเพณี ของเมือง ประเทศราช นายแอนโทน์ เคน ได้ชี้แจง ให้เหตุผล ต่อพระนาง ว่า "การค้าขาย ไม่อาจ ดำเนิน ไปได้ เนื่องมาจาก การเกลียดชัง ต่อประเทศ สยาม" แต่นางพญาบีรู ก็หา ได้เชื่อฟังไม่ พระเจ้า ปราสาททอง จึงส่ง กองทัพ มาตี เมือง ปัตตานี ล้อมเมืองไว้ ๑ เดือน จนกระทั่ง หมด เสบียง อาหาร จึงถอย กองทัพ กลับไป

หลังจาก เจ้าหญิงบีรู สิ้นพระชนม์ แล้ว เจ้าหญิงอูงู ซึ่งได้รับ การสถาปนา ขึ้นเป็น เจ้าเมือง ปัตตานี ก็ได้รับ การไกล่เกลี่ย จากเจ้าเมือง นครศรี ธรรมราช และ เจ้าเมือง ไทรบุรี พระนาง จึงยินยอม ส่งทูต ไปขอขมาโทษ ต่อพระเจ้า ปราสาททอง สงคราม จึงได้ ยุติลง

นายฟอนฟลีต (วันวลิต) ได้บันทึก เรื่องราว เกี่ยวกับ พระราชอำนาจ การตัดสิน พระทัย ของพระนาง ในนโยบาย การเมือง ซึ่งแตกต่าง ไปจาก ข้อเขียน ของ นายนิโกลาส์ แชร์แวส ชาวฝรั่งเศส ที่เขียนไว้ ในหนังสือ ประวัติศาสตร์ ธรรมชาติ และ การเมือง แห่ง ราชอาณาจักร สยาม นิโกลาส์ กล่าวว่า "ประชาชน ปัตตานี นั้น ครั้นเบื่อหน่าย ต่อการ ที่ถูก เจ้าประเทศ บีบคั้น เอาแล้ว จึงได้ ดำเนินการ สลัดแอก และ โค่นกษัตริย์ องค์ปัจจุบัน ลงจาก ราชบัลลังก์ แล้วสถาปนา เจ้าหญิง องค์หนึ่ง แทนที่ ตั้งให้ เป็นนางพระยา แต่ก็ มิได้ ถวาย พระราชอำนาจ ให้เลย พวกเขา เลือก ผู้ทรง คุณวุฒิ ขึ้นบริหาร ราชการ แผ่นดิน ในพระนามาภิไธย ที่พระนาง ไม่ต้อง เข้าไป เกี่ยวข้อง กับ ราชการ งานเมือง เลย เพียงแต่ ได้รับ การยกย่อง นับถือ ให้เป็น เจ้านาย เท่านั้น"

ข้อเขียน ของ นายฟอนฟลีต (วันวลิต) ซึ่งได้ มีโอกาส เข้าเฝ้า นางพญาอูงู เมื่อวันที่ ๑๕ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๑๘๕ และ ได้บันทึก ถ้อยคำ ที่นางพญา ตรัส โต้ตอบ กับ นายฟอนฟลีตไว้ แสดงถึง ความมี พระราชอำนาจ ทางด้าน การเมือง อันเต็มเปี่ยม ความว่า "การกระทำ ของบรรดา เจ้าเมือง ปัตตานี คนก่อนๆ พระนางนั้น ได้ถูก ลืมเลือน ไปแล้ว และหลังจาก ที่พระนาง ทรงสืบ ราชสมบัติ แล้ว ไม่นานนัก ก็ทรงทำ สันติ ไมตรี กับพระเจ้า แผ่นดิน สยาม โดยมิได้ ใช้ค่า เสียหาย แต่อย่างใด และว่า พระนาง ก็ทรง ต้องการ ปฏิบัติ ในวิธี เดียวกัน กับท่าน ผู้สำเร็จ ราชการ (ฮอลันดา) ด้วย"

การค้า ของ ฮอลันดา ในระยะแรก ต้องประสพ ปัญหา อยู่ หลายประการ ประการแรก คือ ถูกชาว โปรตุเกส ชาวจีน และ ชาวญี่ปุ่น กีดกัน ประการที่สอง เรื่องเงินทุน ซึ่งมัก ขาดแคลน บ่อยๆ นายคอร์เนลิส ฟอนนิวรุท หัวหน้า สถานี การค้า ต้องขอยืมเงิน จากเจ้าหญิง ฮียา เพื่อซื้อ เส้นไหม จากพ่อค้าจีน มาเก็บ สำรองไว้ แต่ต่อมา เมื่อฮอลันดา รวบรวม เงินทุน จัดตั้ง เป็นบริษัท ดัชอีสต์ อินเดีย ขึ้นมาแล้ว กิจการค้า ของ ฮอลันดา ก็ประสพ ความสำเร็จ เป็นอย่างดี ทั้งที่ อยุธยา และ ปัตตานี (จากการ เก็บข้อมูล จากเศษ ถ้วยชาม ตามบริเวณ ที่ตั้ง ชุมชน โบราณ และท่าเรือ บ้านตันหยง ลุโละ ในจังหวัด ปัตตานี พบเศษ ถ้วยชาม อันเป็น สินค้า ของฮอลันดา มีจำนวน ไล่เลี่ย กับของจีน)

สินค้า พื้นเมือง จำพวก สมุนไพร ของปัตตานี ที่ปรากฏชื่อ อยู่ใน เอกสาร ของฮอลันดา ได้แก่ ขิง น้ำตาล พริกไทย และ sarrassas (ซะราเซะ หรือ กะเพรา) นายสปรินซ์เคล เจ้าหน้าที่ สถานี การค้า เมืองปัตตานี รายงาน ไปถึง นายมาทีโอโคตัลส์ และ นายมาทีโอฯ ได้เขียน มาแจ้ง ให้ นายเอชแวนส์เซน ที่ปัตตานี เมื่อวันที่ ๒๐ มีนาคม ๒๑๕๖ ความว่า "ตามที่ นายปรินซ์เคล ว่าปีนี้ sarrassas งดงามมาก แต่ราคา ไม่คงที่"

ฮอลันดา เลิกสถานี การค้า ในปัตตานี เมื่อปี พ.ศ.๒๑๘๕ เนื่องจาก ฮอลันดา เข้ามา ตั้งสถานี การค้า ของตน อยู่ในเมือง ปัตตานี เวลา ๔๑ ปี

อังกฤษ บริษัท อิสต์อินเดีย ของอังกฤษ ได้ส่ง กองเรือ โดยการนำ ของกัปตัน จอนเดวิส มาสำรวจ เมืองปัตตานี เพื่อตั้ง สถานี การค้า ของตน ขึ้น ในเมืองนี้ เมื่อปี พุทธศักราช ๒๑๔๘ แต่กองเรือ ของอังกฤษ ถูกโจรสลัด ญี่ปุ่น โจมตี ในอ่าว หน้าเมือง ปัตตานี ทำให้ กัปตัน จอนเดวิส ได้เสีย ชีวิต ลงทันที ต่อมา กัปตัน แอนโธนี ฮิปปอน ก็ได้นำ เรือโกลป์ เข้ามาสู่ เมืองปัตตานี อีกครั้ง เมื่อวันที่ ๒๓ มิถุนายน ๒๑๕๔ แอนโธนี ฮิปปอน ได้เข้าเฝ้า นางพระยา ฮียา ขอตั้ง สถานี การค้า ขึ้นใน เมืองปัตตานี เป็นผลสำเร็จ แต่ตัวกัปตัน เกิดล้มป่วย ถึงแก่กรรม อย่างกระทันหัน หลังจาก เจรจา ทำความ ตกลง กับนาง พระยา ฮียาได้เพียง ๑๕ วัน โทมัส เอสซิงตัน จึงรับ หน้าที่ แทนกัปตัน แอนโธนี ฮิปปอน ได้เดินทาง เข้าไปเฝ้า สมเด็จ พระเอกา ทศรถ ขอพระราชทาน ที่ดิน เพื่อจัดตั้ง สถานี การค้า ขึ้น ทั้งใน กรุงศรีอยุธยา และ ที่เมือง ปัตตานี ซึ่ง สมเด็จ พระเอกา ทศรถ ก็ทรง พระกรุณา ประทานให้

สถานี การค้า ของอังกฤษ ก็เริ่ม ดำเนิน กิจการ ในเมือง ปัตตานี เมื่อปี พ.ศ.๒๑๕๕ นายปีเตอร์ ฟอลริส ได้รับตำแหน่ง ผู้อำนวยการ ชื่อลูกัส (Lucus Antheunis) ต่อมา นายลูกัส ได้ย้าย ไปประจำ อยู่ที่ สถานี การค้า ที่กรุงศรีอยุธยา การค้า ที่กรุงศรี อยุธยา และ ปัตตานี ขณะนั้น คึกคักมาก มีเรือ สินค้า ของชาติ ต่างๆ ไปมา ค้าขาย กันขวักไขว่ เฉพาะ เรือสินค้า ของอังกฤษ ที่เข้าออก ประจำ ได้แก่ เรือ Daling, Cloue, Hector, Peppecorn, Solomon และ James รวม ๖ ลำ

หัวหน้า สถานี การค้า ที่ปัตตานี คนต่อมา ได้แก่ นายอาดัม เค็นตัน นาย Benjamin และ John Gurney

ในปี พ.ศ.๒๑๖๑ เกิดยุทธนาวี ขึ้นระหว่าง เรือรบ อังกฤษ กับ เรือรบ ฮอลันดา ครั้งแรก เรือรบ อังกฤษ ๒ ลำ คือ แซมป์ซัน และ เฮาวน์ ในการ บังคับ บัญชา ของกัปตัน จอน จูรเดน ได้ทำการ ยึดเรือ ของ ฮอลันดา ชื่อ แบล็คไลออน ไว้

ต่อมา ฮอลันดา ได้ส่ง เรือรบ ของตน มา ๓ ลำ เข้ารุมล้อม โจมตี เรืออังกฤษ ทั้งสองลำ ในเดือน กรกฎาคม ในขณะที่ จูรเดน เจรจา ขอยอม จำนน ก็ถูกพวกเฟลมมิงยิงด้วยปืนคาบศิลาถึงแก่ความตาย ลูกเรือถูกฮอลันดาจับไปเป็นเชลย ที่เหลือรอด มาได้ ก็เนื่องจาก ไปขอ ความคุ้มครอง จากเจ้าหญิง ฮียา ตั้งแต่นั้นมา กิจการค้า ของอังกฤษ ในเมืองปัตตานี ก็ถูก พวกฮอลันดา คอยขัดขวาง ทำให้ กิจการ ซบเซา ลงเรื่อยๆ ในที่สุด บริษัท อิสต์อินเดีย จึงมีมติ ให้เลิก สถานี การค้า ใน ปัตตานี เสียในปี พ.ศ.๒๑๖๖ รวมเวลา ที่อังกฤษ เข้ามาตั้ง สถานี การค้า อยู่เพียง ๑๑ ปี

ญี่ปุ่น ชาวญี่ปุ่น เข้ามา ค้าขาย ณ เมืองปัตตานี ในเวลา ไล่เลี่ย กับชาวจีน (เซอรเออเนสต์ ซาเตา ว่า ญี่ปุ่น เข้ามา ค้าขาย ยังเมือง ปัตตานี ราว พ.ศ.๒๑๓๕ ในเวลา เดียวกัน เรือสำเภา ของปัตตานี ก็เข้าไป ค้าขาย ถึงประเทศ ญี่ปุ่น) นอกจาก จะเป็น พ่อค้า แล้ว นายสำเภา ชาวญี่ปุ่น ยังทำตัว เป็นโจรสลัด คอยตี ชิงปล้น เรือสินค้า อีกด้วย สลัด ญี่ปุ่น ใช้อ่าว เมืองปัตตานี เป็นแหล่ง แอบซุ่ม โจมตี เรือสินค้า ชาวต่างประเทศ นักเดินเรือ ผู้มี ชื่อเสียง ของอังกฤษ คือ กัปตันจอน เดวิส ก็ถูก โจรสลัด ญี่ปุ่น ทำการ ปล้นเรือ ของเขา เมื่อปี พ.ศ.๒๑๔๘ ในขณะ เข้ามา สำรวจ เมืองปัตตานี เพื่อจัดตั้ง คลังสินค้า ของบริษัท อีสต์อินเดีย ขึ้นใน เมืองนี้

สินค้า ญี่ปุ่น ที่เป็นที่ ต้องการ ของตลาด เมืองปัตตานี ขณะนั้น ได้แก่ ทองแดง เครื่องถ้วย ฉากญี่ปุ่น ส่วนสินค้า ที่ชาว ญี่ปุ่น ต้องการซื้อ ได้แก่ ดินปืน ปืนใหญ่ หนังกวาง หนังปลา กระเบน และ ไม้หอม จำพวก ไม้กฤษณา และ ไม้จันทน์ แต่ละปี จะมี เรือสำเภา ญี่ปุ่น เข้ามา แวะที่ เมือง ปัตตานี ปีละ หลายลำ โดยเฉพาะ สำเภา ของพ่อค้า ที่มาจาก หมู่เกาะ ริวกิว จนกระทั่ง เมืองปัตตานี สมัยนั้น ได้ สมญานาม ว่า "เป็นเมืองท่า สองพี่น้อง ระหว่าง เมืองฮิราโดะ ของญี่ปุ่น" ดังนั้น พ่อค้า ชาวญี่ปุ่น จึงเป็น คู่แข่งขัน แย่งชิง ซื้อขาย สินค้า กับพ่อค้า ชาวฮอลันดา และ อังกฤษ อยู่เสมอ จนกระทั่ง คราวหนึ่ง ชาวญี่ปุ่น ได้ลอบ เข้าไป วางเพลิง เผาโกดัง สินค้า ของชาว ฮอลันดา เสียหาย ยับเยิน ชาวญี่ปุ่น อยู่ใน เมือง ปัตตานี นานเท่าไร ไม่ปรากฏ หลักฐาน เมื่อเกิด สงครามโลก ครั้งที่ ๒ (สงคราม มหาเอเซีย บูรพา) ข้าพเจ้า ได้รู้จัก กับพ่อค้า ชาวญี่ปุ่น ซึ่งเป็น ทันตแพทย์ ตั้งคลีนิค อยู่ที่ร้าน เฉาะเฉิน ในตลาด เขตเทศบาล เมืองปัตตานี และ เจ้าของร้าน นานเชนโชไก จำหน่าย ถ้วยชาม ชั้นดี ของญี่ปุ่น อยู่ที่ ถนนปรีดา ซึ่งทราบ ภายหลัง ว่า พ่อค้า เหล่านี้ ล้วนเป็น จารชน เข้ามา ทำการ วางแผน ยึดเมือง ปัตตานี เพื่อใช้ เป็นหัวหาด ยกพล ขึ้นบก ผ่านไป ตีประเทศ สิงคโปร์ หลังจาก สงคราม มหาเอเซีย บูรพาแล้ว ไม่ปรากฏว่า ชาวญี่ปุ่น เข้ามา ค้าขาย ในเมือง ปัตตานี อีกเลย

ในรัชสมัย สมเด็จ พระเจ้า ปราสาททอง เมืองนครศรี ธรรมราช ปัตตานี สงขลา เป็นกบฏ ไม่ยอม ส่งเครื่องราช บรรณาการ ตามราชประเพณี สมเด็จ พระเจ้า ปราสาททอง แต่งตั้ง ให้ออกญา เสนาภิมุข (ยามาดา นางามาสา) ออกไปเป็น เจ้าเมือง นครศรี ธรรมราช ออกญา เสนาภิมุข ได้นำ กองทัพ จากเมือง นครศรี ธรรมราช มาร่วมกับ กองทัพกรุงฯ มาปราบ เมืองปัตตานี ออกญา เสนาภิมุข (ยามาดา นางามาสา) ถูกอาวุธ ที่ขา เมื่อกลับ ไปถึง เมืองนครฯ แผลเกิดพิษ กำเริบ จนถึงแก่ อสัญกรรม (บ้างก็ว่า ออกญา เสนาภิมุข ถึงแก่กรรม เพราะถูก ยาพิษ ของออก พระมริต)

จีน ชาวจีน เข้ามา ค้าขาย ในเมือง ปัตตานี เมื่อไร ยังไม่ปรากฏ หลักฐาน แน่นอน แต่ในด้าน ปริมาณ พ่อค้า ชาวจีน มีจำนวน สูงกว่า ชาติอื่นๆ นอกจากนั้น ชาวจีน ยังสมัครใจ สมรส กับชาว พื้นเมือง และ นิยม ตั้งรกราก อยู่ในเมือง ปัตตานี อย่างถาวร จนกลาย เป็นส่วนหนึ่ง ของพลเมือง ปัตตานี ไปใน ที่สุด ผู้เขียน รู้จัก กับครอบครัว ชาวเมือง ปัตตานี หลายครอบครัว อ้างว่าตน มีบรรพบุรุษ เป็นชาวจีน หนังสือ Purchase his Pilgrimage เขียนโดย ชาวอังกฤษ ที่เข้ามา เมืองปัตตานี ในปี พ.ศ.๒๑๖๐ ได้บรรยาย ถึงสภาพ บ้านเมือง ปัตตานี และ ผู้คน ไว้ตอนหนึ่ง ว่า "ปัตตานี เป็นนครหนึ่ง อยู่ทาง ตอนใต้ ของสยาม อาคาร บ้านเรือน เป็นไม้ และแฝก แต่เป็นงาน ที่สร้างขึ้น ด้วยฝีมือ อย่างมีศิลปะ มีสุเหร่า หลายแห่ง มีชาวจีน มากกว่า ชาวพื้นเมือง (คงหมายถึง บริเวณ ท่าเรือ หรือตัวเมือง ปัตตานี) พลเมือง ภาษาใช้กัน ๓ ภาษา คือ ภาษา มาลายัน ภาษาไทย และ ภาษาจีน ชาวจีน สร้างศาลเจ้า ชาวไทย สร้างพระพุทธรูป พระสงฆ์ นุ่งเหลือง ห่มเหลือง"

ที่ฮวงซุ้ย โบราณ ของชาวจีน ในท้องที่ ตำบล ตันหยงลุโละ อำเภอเมือง ปัตตานี ปัจจุบัน ถูกน้ำทะเล กัดเซาะ ดินพังทะลาย ลงไป ในทะเล หมดแล้ว คงเหลือ แต่แผ่นป้าย ศิลา จารึก ชื่อผู้ตาย ที่ชาวบ้าน เก็บมาวางไว้ สำหรับ เป็นที่ ชำระเท้า หน้าบันได บ้าน ข้อความ ในแผ่น ศิลา เป็นอักษรจีน จารึกนาม ผู้ตาย "ชื่อชูฉิน นามสกุล เฉิน ถึงแก่กรรม ในปี เหยินเฉิน ศักราช ว่านลี ราชวงศ์ เหม็ง ตรงกับปี พุทธศักราช ๒๑๓๕" และ หิน เหนือหลุมศพ (แนแซ) ของพญา อินทิรา ผู้สร้างเมือง ปัตตานี ระหว่างปี พ.ศ.๒๐๑๒-๒๐๕๗ ก็เป็น ลวดลายเมฆ ซึ่งเป็น ศิลปกรรม ของช่าง ศิลปะจีน ที่หมายถึง บุคคล ผู้สูงศักดิ์, ความมีเกียรติ, อำนาจ, วาสนา แสดง ให้เห็นว่า เป็นฝีมือ ของช่าง ชาวจีน แกะสลัก ขึ้น และ บริเวณ ฮวงซุ้ย แห่งนี้ ก็คง เป็นที่ตั้ง ชุมนุม ชาวจีน มาตั้งแต่ สมัย เริ่มสร้าง เมืองปัตตานี ทีเดียว ภายใน ศาลเจ้า ซูก๋ง (หรือเล่งจูเกียง) ก็พบ จารึก ภาษาจีน บอกปี ที่สร้าง ศาลเจ้า หลังนี้ ว่า สร้างขึ้นเมื่อ "วันชัย มงคล ปีปวน และ ที่ ๒ ศักราช ราชวงศ์เหม็ง" ตรงกับปี พุทธศักราช ๒๑๑๗ ซึ่งเป็น หลักฐาน การเข้ามา วางรกราก ของชาวจีน ในเมือง ปัตตานี เป็นอย่างดี

สินค้า ชาวจีน ที่นำ เข้ามา จำหน่าย ในตลาด เมืองปัตตานี ได้แก่ เครื่องถ้วยชาม ลายคราม ทั้งชนิดดี และ เลว ซึ่งข้าพเจ้า เก็บรวบรวม ได้จาก บริเวณ บ้านบานา บ้านกรือเซะ เป็นจำนวน มากมาย นอกจากนี้ ยังมี ผ้าแพร และ เส้นไหม ซึ่ง ชาวเมือง ปัตตานี นิยม ซื้อ มาทอ เป็นผ้า ชั้นดี ขึ้นจำหน่าย เรียกว่า "ผ้าจวนตานี" "ผ้ายกตานี" ดังปรากฏชื่อ อยู่ใน วรรณคดีไทย ได้แก่ หนังสือ เสภา เรื่อง ขุนช้าง ขุนแผน และ เรื่องอิเหนา (ดาหลัง) จนกระทั่ง เมืองปัตตานี ในสมัยนั้น ได้สมญานาม ว่าเป็น "แหล่งรวม สินค้า ผ้าไหม ชั้นนำ นอกเหนือ จากกวางตุ้ง" ปัตตานี สมัย อยุธยา เป็นศูนย์รวม สินค้า ที่ผลิต จากประเทศจีน สำหรับ จำหน่าย แก่พ่อค้า นานาชาติ ที่ต้องการ นำไปขาย ในต่างประเทศ อีกต่อหนึ่ง

ความขัดแย้งระหว่างรัฐบาลกับเจ้าเมืองปัตตานี

ครั้งที่ ๑ เกิดขึ้น ในแผ่นดิน สมเด็จ พระมหา จักรพรรดิ์ สาเหตุ ของการ ขัดแย้ง ที่เกิดขึ้น ในครั้งนั้น พงศาวดาร เมืองปัตตานี และ พงศาวดาร กรุงศรี อยุธยา ฉบับ พระราชหัตถเลขา ได้บันทึกไว้ แตกต่างกัน ดังนี้

สยาเราะห์ ปัตตานี ฉบับ ของนาย หวันอาซัน ว่า สุลต่าน มาดฟาร์ชาฮ์ เสด็จไป อยุธยา ๒ คราว อ้างว่า เพื่อเยี่ยมเยียน พระเจ้า กรุงสยาม ในฐานะ ที่เป็น พระญาติ กับพระองค์ คราวแรก ประทับอยู่ ๒ เดือน ระหว่าง ที่พำนักอยู่ พระเจ้า กรุงสยาม ให้ออกญา กลาโหม มาทูล มาดฟาร์ชาฮ์ ว่า หากสุลต่าน มาดฟาร์ชาฮ์ ต้องการ ได้หญิงงาม ไว้เป็น ภรรยา ก็จะจัด มามอบให้ สุลต่าน ตอบไปว่า "พระองค์ เป็นเพียง เจ้าผู้ครอง ที่ต่ำต้อย หาควร ที่จะ ใฝ่สูง ให้เกินศักดิ์ มิอาจเอื้อม รับหญิงงาม ไว้เป็นศรี ภรรยา ได้ตาม ที่ทรง พระกรุณา โปรดเกล้าฯ"

ส่วนการ เสด็จ ครั้งที่ ๒ "มีไพร่พล ที่ชำนาญ เพลงกริช ตามเสด็จ ไป ๑,๐๐๐ คน ผู้หญิง ๑๐๐ คน และ ได้เกิด การรบพุ่ง กัน ไพร่พล ที่ตาม เสด็จ หาได้ กลับเมือง ปัตตานี แม้แต่ คนเดียว"

สยาเราะห์ กรียาอัน มลายู ปัตตานี ซึ่งอิบรอฮิม ชุกรี ชาวกลันตัน เป็นผู้เขียน ความว่า "สุลต่าน มัดฟาร์ชาร์ ได้เสด็จ ไปเยือน สยาม เพื่อเชื่อม สัมพันธ ไมตรี กันและกัน ในการ เสด็จ ครั้งนั้น กษัตริย์ สยาม ได้ให้การ ต้อนรับ ไม่สมพระเกียรติ จึงเสด็จ กลับมา เมืองปัตตานี ด้วยความ รู้สึก น้อยพระทัย และ อีกตอนหนึ่ง ว่า กษัตริย์ สยาม ได้มอบ ข้าทาส ซึ่งเป็น ชาวพม่า และเขมร ที่นับถือ พุทธศาสนา มาให้ เป็นกำลังเมือง"

เชลยทาส เหล่านั้น ได้ไปตั้ง หลักแหล่ง อยู่ใน ท้องที่ บ้านกะดี ตำบลจะรัง อำเภอยะหริ่ง ต่อเขต อำเภอ ปานาเระ แห่งหนึ่ง และ ที่บ้านกดี ระหว่างเขต อำเภอเมือง กับอำเภอยะหริ่ง (คือวัดบ้านกะดี) อีกแห่งหนึ่ง ต่อมา เมื่อสุลต่าน มาดฟาร์ชาฮ์ ทราบว่า พม่า ยกกองทัพ มาตีเมือง ศรีอยุธยา "จึงได้ ตกลงใจ นำกองทัพ เมืองปัตตานี เข้าไปตี กรุงศรีอยุธยา เพื่อลบรอยแค้น ที่ตราตรึง อยู่ใน พระทัย ของพระองค์ มีกองเรือรบ จำนวน ๒๐๐ ลำ ทหาร ๑,๐๐๐ คน และ ผู้หญิง ๑๐๐ คน เมื่อกองทัพ ไปถึง กรุงศรีอยุธยา สุลต่าน เห็นว่า ทัพพม่า กำลัง ล้อมเมือง สยาม อยู่อย่างหนาแน่น พระองค์ จึงฉวย โอกาส นำกำลัง ทหาร บุกเข้าสู่ ราชสำนัก เจ้ากรุงสยาม ทันที กษัตริย์ ซึ่งประทับ อยู่ใน พระบรม ราชวัง ทรงได้ยิน เสียงโห่ร้อง ของทหาร เมืองปัตตานี จึงเสด็จ หนีออกจาก ประตูเมือง ด้านหลัง หนีไปหลบซ่อน พระองค์ อยู่ที่ เกาะมหาพราหมณ์ ต่อมา ทหาร เมืองสยาม ก็ได้ รวบรวม กำลัง โต้ตอบ กองทหาร เมืองปัตตานี จนถอยร่น ออกจากเขต พระบรม มหาราชวัง หนีไป ลงเรือ เมื่อ ขบวนเรือ ไปถึง ปากอ่าว แม่น้ำ เจ้าพระยา สุลต่าน มาดฟาร์ชาฮ์ ก็ได้สิ้นพระชนม์ชีพ พระศพ ถูกนำ ไปฝังไว้ บนหาดทราย ปากอ่าว เมือง สยาม"

ส่วน พระราช พงศาวดาร ฉบับ พระราชหัตถเลขา ได้บันทึก เรื่องราว เกี่ยวกับเมือง ปัตตานี ในตอนนี้ ว่า "ขณะนั้น พระยา ตานี ศรีสุลต่าน ยกเรือรบ หยาหยับ สองร้อยลำ เข้ามา ช่วย ราชการ สงคราม ถึงทอดสมออ ยู่หน้าวัด กุฎี บางกะจะ รุ่งขึ้น ยกเข้ามา ทอดอยู่ ประตูไชย พระยา ตานี ศรีสุลต่าน ได้ที กลับเป็น กบฏ ก็ยก เข้าไป ในพระราชวัง สมเด็จ พระมหา จักรพรรดิ ราชาธิราชเจ้า ไม่ทันรู้ตัว เสด็จ ลงเรือ พระที่นั่ง ศรีสักหลาด หนีไป เกาะมหาพราหมณ์ และ เสนาบดี มนตรีมุข พร้อมกัน เข้าใน พระราชวัง สะพัดไล่ ชาวตานี แตกฉาน ลงเรือ รุดหนีไป"

ต่อมา เมื่อสุลต่าน มันดูชาฮ์ ผู้เป็น พระราช อนุชา ของสุลต่าน มาดฟาร์ชาฮ์ ขึ้นครอง ราชสมบัติ เมืองปัตตานี ก็ได้ส่งทูต ชื่อ โอรัง กายา สรีอากาคชา มาเฝ้า พระเจ้า กรุงสยาม เหตุการณ์ต่างๆ ก็ยุติลง

ครั้งที่ ๒ เกิดขึ้น ในสมัย นางพญาบีรู หนังสือ ชื่อ เอกสาร ฮอลันดา กล่าวถึง สาเหตุ แห่งการ ขัดแย้ง ในคราวนี้ ว่า เนื่องมาจาก นางพญาบีรู ไม่พอพระทัย พระเจ้า ปราสาททอง โดยกล่าวว่า พระเจ้า ปราสาททอง "เป็นคนชิง ราชสมบัติ (จากพระเจ้า อาทิตยวงศ์) คนโกง ฆาตกร และ คนทรยศ ไม่มีทาง ที่พระนาง จะทรง ตั้งพระทัย แสดงความ เคารพ ยำเกรง เหมือนอย่างที่ พระเจ้าแผ่นดิน ของปัตตานี ในสมัยโบราณ ทรงแสดง ต่อพระเจ้า แผ่นดิน สยาม องค์ก่อนๆ"

ประจวบกับ หัวเมือง ปักษ์ใต้ ได้แก่ เมืองนครศรี ธรรมราช และ สงขลา ต่างก็ พากัน กระด้าง กระเดื่อง ไม่ยอม อ่อนน้อม ต่อพระเจ้า ปราสาททอง อีกด้วย พระเจ้า ปราสาททอง จึงส่ง กองทัพ มาปราบ เมืองนครศรี ธรรมราช และ สงขลาได้ส่ง กองทัพ มาตี เมืองปัตตานี โดย ฮอลันดา สัญญาว่า จะส่ง กองทัพเรือ มาช่วย อีกกองหนึ่ง กองทัพ กรุงศรี อยุธยา และ นครศรี ธรรมราช ล้อมเมือง ปัตตานี อยู่เป็น เวลา ๑ เดือน กองทัพเรือ ฮอลันดา ก็ยังมาไม่ถึง จนเสบียง อาหาร ที่จะ เลี้ยงดู ทหาร หมดลง จึงได้ ถอยทัพ กลับไป

หลังจาก นางพญาบีรู สิ้นพระชนม์ แล้ว เจ้าหญิง อูงู ก็ขึ้น ครองราช สมบัติ เมืองปัตตานี ผู้แทน บริษัท อิสต์อินเดีย ของฮอลันดา และ เจ้าเมือง ไทรบุรี ได้ทำการ เกลี้ยกล่อม นางพญา อูงู โดยให้ เหตุผล ว่า "การค้าขาย ไม่อาจ ดำเนิน ไปได้ เนื่องจาก การเกลียดชัง ต่อประเทศ สยาม" เพราะ เรือสำเภา สยาม ไม่สามารถ นำสินค้า จากสยาม เข้ามา จำหน่าย และ แลกเปลี่ยน กับ สินค้า พ่อค้า ต่างประเทศ ได้ ทำให้ พ่อค้า ที่ต้องการ สินค้า ของสยาม ไม่แวะเมือง ปัตตานี เหมือนอย่าง แต่ก่อน นางพญาอูงู จึงเปลี่ยน นโยบาย ซึ่งเคยใช้ ความแข็งกร้าว กลับมาใช้ การทูต แทน โดยส่งเรือ ๔ ลำ พร้อมด้วย ราชทูต ๒ นายคือ Siratwarra Radja (สรีรัตวรราชา) และ Soyradja Natsawari (โสรัจนาถวารี) นำดอกไม้ ทองเงิน และ เครื่องราช บรรณาการ เข้าไป ถวาย สมเด็จ พระเจ้า ปราสาททอง เมื่อวันที่ ๑๘ สิงหาคม ๒๑๘๔ ทำให้ สภาวะ สงคราม ระหว่าง อยุธยา และ ปัตตานี ยุติลง ด้วยดี มีการ ติดต่อ สัมพันธ์กัน ทั้งทาง การค้า และ การเมือง ตามปกติ จนกระทั่ง กรุงศรี อยุธยา เสียแก่ พม่า ในปี พ.ศ.๒๓๑๐

ครั้งที่ ๓ สมัย สมเด็จ พระเจ้า ตากสิน มหาราช การเสีย กรุงศรี อยุธยา ในครั้งที่ ๒ นอกจาก พม่า ปล้นสดมภ์ เอาทรัพย์สิน และ จับผู้คน ไปเป็น เชลย เป็นจำนวนมากแล้ว ยังสูญสิ้น เชื้อพระราชวงศ์ ที่จะสืบ พระราชสมบัติ ไปอีกด้วย บรรดา เจ้าพระยา มหานคร น้อยใหญ่ ต่างก็ พากัน ตั้งตน ขึ้นเป็น อิสระ แยกเป็นก๊ก สำคัญ ได้ ๔ ก๊ก ภาคใต้ ได้แก่ ก๊กของ เจ้าพระยา นครศรี ธรรมราช ซึ่งเป็น เมืองใหญ่ มีผู้คน และ เสบียง อาหาร บริบูรณ์ สมเด็จ พระเจ้า ตากสิน จึงทรง นำทัพ มาปราบ ก๊ก เจ้าพระยา นครศรี ธรรมราช เจ้าพระยานครฯ หนีมา อาศัย อยู่ใน เมืองปัตตานี กับสุลต่าน โมหะหมัด สมเด็จ พระเจ้า ตากสิน ให้พระยา จักรี ติดตาม มาเจรจา กับสุลต่าน โมหะหมัด ขอตัว เจ้าพระยานครฯ พระยาสงขลา พร้อมกับ ขอยืมเงิน ๒๐,๐๐๐ เหรียญ เพื่อทดลอง น้ำใจ เจ้าเมือง ปัตตานี ว่า ยังมี ความยำเกรง ในพระองค์ เพียงใด สุลต่าน โมหะหมัด จึงยอม ส่งตัว เจ้าพระยานครฯ และ เจ้าเมือง สงขลา ให้แก่ สมเด็จ พระเจ้า ตากสิน แต่โดยดี แต่เงินยืมนั้น สุลต่าน โมหะหมัด ขอผัดผ่อน เนื่องจาก สุลต่านเอง ก็ขัดสน ไม่สามารถ จะจัดหา ให้ได้ แต่ด้วยเหตุ ที่สมเด็จ พระเจ้า ตากสิน มีพระราช ภารกิจ ที่จะต้อง ปราบก๊ก ของพระฝาง ซึ่งเป็น ก๊กสำคัญ ให้เสร็จ ไปเสียก่อน จึงยับยั้ง การปราบปราม เมืองปัตตานีไว้

ครั้งที่ ๔ สมัย กรุงรัตน โกสินทร์ เมื่อ พระบาท สมเด็จ พระพุทธ ยอดฟ้า จุฬาโลกฯ ได้เสด็จขึ้น เถลิงวัลย์ ราชสมบัติ แล้ว จึง โปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จ กรมพระราชวัง บวร มหา สุรสิงหนาท เสด็จ ออกไป ช่วยเหลือ หัวเมือง ปักษ์ใต้ ที่กองทัพ พม่า เข้ามา โจมตี เมืองภูเก็ต นครศรี ธรรมราช พัทลุง หลังจาก กองทัพ พม่า แตกหนี ไปแล้ว ก็ทรงมี พระราชสาสน์ มาแจ้งแก่ สุลต่าน โมหะหมัด ให้ยินยอม ส่ง เครื่องราช บรรณาการ และ ต้นไม้ ทองเงิน ตามพระราช ประเพณี ของประเทศราช ที่เคย ปฏิบัติ มาแต่ครั้ง กรุงศรี อยุธยา แต่สุลต่านฯ ปฏิเสธ สมเด็จ กรมพระราชวัง บวรฯ จึงระดมทัพ เมืองสงขลา พัทลุง ยกมา ตีเมือง ปัตตานี ได้ในปี พ.ศ.๒๓๒๙

ครั้งที่ ๕ เหตุขัดแย้ง เกิดขึ้น จากการ ที่ต่วนกู ลัมมิเด็น ซึ่งทรง พระกรุณา โปรดให้ ดำรงตำแหน่ง ผู้ว่า ราชการ เมืองปัตตานี มีเจตนา ที่จะ ปกครอง เมืองปัตตานี โดยอิสระ ไม่ต้องการ เป็นประเทศราช ส่งดอกไม้ ทองเงิน แก่ กษัตริย์ แห่งกรุงสยาม ภายใต้ การควบคุม ของเจ้าพระยา นครศรี ธรรมราช จึงส่งทูต นำสาสน์ พร้อมเครื่องราชบรรณาการ ไปกับ นายสำเภา ชื่อ "นะคุดาซุง" เพื่อถวาย องค์เชียงสือ กษัตริย์ญวน เกลี้ยกล่อม องค์เชียงสือ ให้ร่วมมือ นำกองทัพญวน และ ปัตตานี มาตี กรุงเทพฯ แต่องค์เชียงสือ หาได้ ปฏิบัติ ตามคำ ชักชวน ของตนกู ลัมมิเด็น เพราะยังคง สำนึก ในพระมหา กรุณาธิคุณ ของพระบาทสมเด็จ พระพุทธยอดฟ้า จุฬาโลกฯ ที่เคยให้ ความอุปถัมภ์ แก่องค์เชียงสือ และ สมเด็จ พระราช มารดา คราวที่ หลบหนีภัย กบฏ ไตเซิน เข้ามา พึ่งพา พระบรม โพธิสมภาร อยู่ใน กรุงเทพฯ ทั้งยัง ช่วยเหลือ เกื้อหนุน ให้อาวุธ ยุทโธปกรณ์ ในการ กอบกู้ พระราชบัลลังก์ กลับคืน จากพวก กบฏ สำเร็จ จึงนำสาสน์ ของตนกู ลัมมิเด็น ให้ขุนนางไทย ชื่อ พระพิมล วารี และ พระราชมนตรี มาทูลเกล้าฯ ถวาย แก่ สมเด็จ พระพุทธ ยอดฟ้าฯ ทรงทราบ ข้อความ ในสาร ฉบับนั้น มีความว่า "เดือน ๑๑ ปีระกา เอกศกจุล ศักราช ๑๑๕๑ รายา ตานี จะยกทัพ มาตีกรุง ให้องค์เชียงสือ มาร่วมกับ รายาตานี" ดังนั้น ในปี พ.ศ.๒๓๓๔ สมเด็จ พระพุทธยอดฟ้า จุฬาโลกฯ จึงทรง โปรดเกล้า ให้ "พระยา กลาโหม ราชเสนา เป็นแม่ทัพเรือ ยกไปตี เมืองตานี จับรายาตานี ได้ใน กุฎี พระสงฆ์ ที่วัด แห่งหนึ่ง" แต่ก่อนที่กองทัพกรุงจะยกลงไปตีเมืองตานีนั้น ตวนกูลัมมิเด็นได้อาศัยกำลังจาก "แขกเซียะ" บนฝั่งเกาะสุมาตรามาสมทบ ยกไป ตีเมือง สงขลา ดังข้อความ ในพงศาวดาร เมืองสงขลา ที่บันทึก ไว้ว่า "ปีกุนตรีศก ศักราช ๑๑๕๓ (พ.ศ.๒๓๓๔) โต๊ะสาเหย็ด (สาเหย็ด (ไซยิด) หมายถึง ผู้มีสาย สืบเนื่อง มาจาก พระนาบี โมหะหมัด ในที่นี้ คงจะ หมายถึง ผู้นำ ศาสนา ที่มีคน เคารพ นับถือ เท่านั้น) คบคิด กับพระยา ตานี ยกกองทัพ ไปตีเมือง สงขลา พระยา สงขลา ขอกำลัง กองทัพหลวง จากกรุงเทพฯ และนำ กองทัพ เมือง นครศรี ธรรมราช มาช่วยเหลือ แต่ก่อน ที่กองทัพหลวง จากพระนครฯ ยกไป ถึงเมือง สงขลา เพียง ๔ วัน กองทัพ เมืองสงขลา เมืองนครศรี ธรรมราช ก็สามารถ ตีกองทัพ พระยา ตานี ที่มา ตั้งค่าย ล้อมเมือง สงขลา แตกถอย กลับไป โต๊ะสาเหย็ด (ไซยิด) ถูกปืนตาย ขณะ เสกน้ำมนต์ ประพรม ประตูค่าย"

หลังจากการ ปราบปราม กบฏ เมืองปัตตานี ในครั้งนี้ พระยาสงขลา (บุญฮุย) มีความชอบ ที่สามารถ ป้องกันเมือง สงขลา ไว้ได้ และ ช่วยกองทัพหลวง ตีเอาเมือง ปัตตานี กลับคืน สมเด็จ พระพุทธยอดฟ้าฯ จึงโปรด พระราชทาน ให้เลื่อน บรรดาศักดิ์ พระยา สงขลา (บุญฮุย) ขึ้นเป็น เจ้าพระยา อินทคีรี ศรีสมุทร สงคราม รามภักดี อภัย พิริยะ ปรากรม พาหุ และให้ ยกเมือง สงขลา ขึ้นเป็น เมืองชั้นเอก ขึ้นตรง ต่อกรุงเทพ มหานครฯ และมอบ อำนาจ ให้เจ้าเมือง สงขลา เป็นผู้ ควบคุม ดูแล เมืองปัตตานี กลันตัน ตรังกานู ซึ่งเมือง เหล่านี้ เดิมขึ้น อยู่กับ เมือง นครศรีธรรมราช

ครั้งที่ ๖ กบฏ ระตู ปะกาลัน "ระตูปะกาลัน" เป็นสมมตินาม ไม่ใช่ ชื่อบุคคล ที่แท้จริง เทียบได้กับ ตำแหน่ง ขุนนางไทย สมัยโบราณ ได้แก่ เจ้ากรมท่า (ซ้าย - ขวา) ในความหมาย ของคำ "ระตู" แปลว่า "เจ้าเมือง" ปะกาลัน แปลว่า "ท่าเรือ" รวมความ ก็คือ เจ้าท่า เจ้ากรมท่า นั่นเอง มลายู เรียก ตำแหน่งนี้ว่า ชาฮ์บันดาร์ (Shah bandar)

หลังจาก ต่วนกู ลัมมิเด็น ถูกจับตัว นำไป กักกัน ไว้ที่ กรุงเทพฯ แล้ว พระยา กลาโหม ราชเสนา เสนอให้ ระตูปะกาลัน เข้าดำรง ตำแหน่ง เจ้าเมือง ปัตตานี ในปี พ.ศ.๒๓๓๔ ต่อมา ในปี พ.ศ.๒๓๕๑ ระตูปะกาลัน มีความ คิดเห็น ขัดแย้ง กับขุนนางไทย หรือที่ มลายู เรียกว่า "ลักษมณา ดายัน" ซึ่งมีหน้าที่ ให้ความคิดเห็น ในการ บริหาร กิจการ เมืองปัตตานี แทน ผู้สำเร็จ ราชการ เมืองสงขลา ระตูปะกาลัน ใช้ทหาร เข้าทำการ ขับไล่ ขุนนางไทย ออกไป จากเมือง ปัตตานี เจ้าพระยา อินทคีรีฯ ผู้สำเร็จ ราชการ เมืองสงขลา มีใบบอก เข้าไป กรุงเทพฯ สมเด็จ พระพุทธ ยอดฟ้าฯ จึงทรง โปรดเกล้าฯ ให้เจ้าพระยา พลเทพ (บุนนาค) นำกองทัพกรุง ออกไปสมทบ กับกองทัพ เมืองสงขลา เมืองพัทลุง ยกไปตี เมืองปัตตานี ระตู ปะกาลัน เห็นกองทัพกรุง ลงมา ช่วยเหลือ เมืองสงขลา เกิดความกลัว จึงหลบหนี ไปทางเมือง เประ ปลัดจะนะ (ขวัญซ้าย) ได้นำ กองทหาร ติดตาม ไปทันกัน ที่ชายแดน ระหว่างเมือง รามันห์ กับเมือง เประ ได้สู้รบกัน ระตูปะกาลัน ถูกปืน ถึงแก่กรรม

ผู้สำเร็จ ราชการ เมืองสงขลา จึงเสนอ นายขวัญซ้าย มหาดเล็ก ดำรงตำแหน่ง ผู้ว่า ราชการ เมืองปัตตานี และในปีนี้ ก็มี พระบรม ราโชบาย ให้แยกเมือง ปัตตานี ออกเป็น ๗ หัวเมือง คือ เมืองหนองจิก ส่วนชื่อ ผู้ว่า ราชการ เมืองอื่นๆ ไม่ปรากฏ หลักฐานว่า ได้แต่งตั้งผู้ใด สันนิษฐานว่า คงจะอยู่ ในระยะ การคัดเลือก สรรหา บุคคล ที่มี ความเหมาะสม เพื่อนำขึ้น ทูลเกล้าฯ ถวาย ให้ทรง พระกรุณา โปรดเกล้า แต่งตั้ง แต่ สมเด็จ พระพุทธยอดฟ้า จุฬาโลก ได้สวรรคต เสียก่อน

ครั้งที่ ๗ ต่วนกูสุหลง ผู้ว่า ราชการ เมืองปัตตานี เป็นผู้นำ ในการ กบฏ สาเหตุ ที่ทำ ให้เกิด การกบฏ ในครั้งนี้ สืบเนื่อง มาจาก เหตุการณ์ ที่เกิดขึ้น ในเมือง ไทรบุรี เมื่อปี พ.ศ.๒๓๖๓ โดยตนกูหม่อม ทำเรื่อง กล่าวโทษ เจ้าพระยา สงคราม รามภักดี ศรีสุลต่าน มหะหมัด รัตราช วังสา (ปะแงรัน) เจ้าเมือง ไทรบุรี ผู้เป็น พี่ชาย ว่าเอาใจ ออกห่าง ไปสามิภักดิ์ ต่อพระเจ้า กรุงอังวะ กษัตริย์ พม่า เจ้าพระยา นครฯ (น้อย) ผู้ควบคุม หัวเมือง ประเทศราช ในภาคใต้ จึงนำ กองทัพ ไปตีเมือง ไทรบุรี เจ้าพระยา ไทรบุรี นำครอบครัว หลบหนี ไปอาศัย อยู่ ณ เกาะปีนัง

เจ้าพระยานครฯ จึงขอ พระราชทาน แต่งตั้ง บุตรชาย ซึ่งต่อมา ได้รับ สัญญาบัตร เป็นพระยา อภัยธิเบศร มหา ประเทศ ราชา ธิบดินทร์ อินทร ไอสวรรย์ ขัณฑ เสมา มาตยา นุชิต สิทธิ สงคราม รามภักดี พิริยพาหุ (แสง) เป็นเจ้าเมือง ไทรบุรี

ต่อมาในปี พ.ศ.๒๓๗๓ - ๒๓๗๔ เมืองไทรบุรี ประสบ ทุพภิกขภัย ฝนแล้ง ติดต่อกัน ราษฎร ทำนา ไม่ได้ผล ชาวเมือง อดอยาก และ เกิดโจรกรรม ขึ้นชุกชุม ตนกูเดน บุตรของ ตนกูรายา พี่ชาย ของเจ้าพระยา ไทรบุรี (ปะแงรัน) ฉวยโอกาส จากการ เกิดภัย พิบัติ ขึ้นใน เมืองไทรบุรี นำสมัคร พรรคพวก เข้ามา เกลี้ยกล่อม ยุยง ราษฎร ให้ร่วมใจ กันก่อกบฏ ชิงเอาเมือง ไทรบุรี ไว้ได้ การกบฏ ในครั้งนี้ ศาสตราจารย์ ฮอลล์ กล่าวว่า "ได้มีการ วางแผน กันที่ ปีนัง ต่อหน้า ต่อตา เจ้าหน้าที่ อังกฤษ ทีเดียว"

พระยา อภัยธิเบศรฯ อพยพ ผู้คน ถอยไป ตั้งทัพ คอยรับ การต่อสู้ ตนกูเดน อยู่ที่ เมืองพัทลุง แล้วรายงาน การเสีย เมืองไทรบุรี ให้ เจ้าพระยา นคร (น้อย) ทราบ ขณะนั้น พระสุรินทร์ ข้าหลวง ในกรม พระราชวัง บวรฯ ออกมา ปฏิบัติ ราชการ อยู่ที่เมือง นครศรี ธรรมราช เจ้าพระยานครฯ จึงให้ พระสุรินทร์ นำคำสั่ง ออกไปเกณฑ์ กองทัพ เมืองสงขลา (เถี้ยนเส้ง) มอบหมาย ให้พระสุรินทร์ นำคำสั่ง ไปยัง หัวเมือง ทั้ง ๗ ชาวเมือง เหล่านั้น ทราบว่า ถูกเกณฑ์ ไปรบ กับเมือง ไทรบุรี ก็พากัน หลบหนี พระสุรินทร์ จึงลงโทษ กรมการเมือง

เจ้าเมือง ปัตตานี ยะลา หนองจิก สาย รามันห์ และ เมืองระแงะ ไม่พอใจ ในการ กระทำ ของพระสุรินทร์ จึงสมคบกัน ทำการ กบฏขึ้น ต่วนสุหลง เจ้าเมือง ปัตตานี ได้ขอ ความช่วยเหลือ ไปยัง สุลต่าน เมืองกลันตัน ตรังกานู ให้ส่ง กองทัพ มาช่วย

"พระยา กลันตัน ให้พระยา บาโงย พระยา บ้านทะเล ผู้น้อง พระยา บาโงย เป็นแม่ทัพเรือ คุมเรือ ๕๐ ลำ พระยา บ้านทะเล เป็นแม่ทัพบก" และ "เมืองตรังกานู ให้ตนกู คาเร เจ๊ะกูหลง หวันกามา เจ๊ะสะมาแอ คุมเรือ ๓๐ ลำ มาช่วย เมืองตานี" (พระราช พงศาวดาร รัชกาลที่ ๓ ของ เจ้าพระยา ทิพากรวงศ์ หน้า ๑๒๔ พิมพ์โดย สำนักพิมพ์ องค์การค้า ของคุรุสภา)

เจ้าพระยา พระคลัง (ดิศ บุนนาค) นำกองทัพ เดินทาง ไปถึง เมืองสงขลา เมื่อวันที่ ๒๒ เมษายน ๒๓๗๕ หลังจาก กองทัพ ของเจ้าพระยา นครฯ (น้อย) ตีเมือง ไทรบุรี กลับคืน มาได้แล้ว พระยา พระคลัง (ดิศ) จึงแต่งตั้ง ให้พระยา เพชรบุรี พระยา สงขลา (เถี้ยนเส้ง) นำทัพบก และ ทัพเรือ ไปถึงเมือง ปัตตานี เมื่อวันที่ ๒๐ มิถุนายน ๒๓๗๕ ตีเมือง ปัตตานีแตก ต่วนสุหลง อพยพ ครอบครัว หนีไปเมือง กลันตัน พร้อมกับ ต่วนกูยาโล เจ้าเมืองสาย รามันห์ และ เมืองระแงะ ยอมเข้ามา มอบตัว เจ้าพระยา พระคลัง (ดิศ) จึงขอ พระราชทาน อภัยโทษ ให้ (พระราช พงศาวดาร รัชกาลที่ ๓ ของเจ้าพระยา ทิพากรวงศ์ หน้า ๑๒๔ พิมพ์โดย สำนักพิมพ์ องค์การค้า ของคุรุสภา)

สุลต่าน หลงมูฮัมหมัด เจ้าเมือง กลันตัน เกรงกลัวว่า กองทัพไทย จะติดตาม ไปตีเมือง จึงส่งตัว ต่วนสุหลง เจ้าเมือง ปัตตานี ต่วนยาโล เจ้าเมือง ยะลา และ แม่ทัพ นายกอง เมืองปัตตานี คือ ดามิด มะหะหมุด และ อาหะหมัด มามอบให้ เจ้าพระยา พระคลัง (ดิศ) และ ยินยอม ชดใช้ ค่าเสียหาย ให้แก่ กองทัพไทย เป็นเงิน ๕๐,๐๐๐ เหรียญ ส่วนเจ้าเมือง ตรังกานู (มะหะหมัด) สมเด็จ พระนั่งเกล้าฯ โปรดให้ ปลดออก จากตำแหน่ง และทรง แต่งตั้ง ตนกูอุมา ซึ่งเป็นญาติ กับพระยา ตรังกานู (มะหะหมัด) ซึ่งดำรงตำแหน่ง ผู้ว่า ราชการ เมืองตรังกานู แทน

ครั้งที่ ๘ ความขัดแย้ง เกิดขึ้น เนื่องจาก การปฏิรูป ระบบ การปกครอง ประเทศ ของสมเด็จ พระจุลจอมเกล้า เจ้าอยู่หัว ทำให้ พระยา วิชิต ภักดี (ตนกู อับดุล กาเดร์) ไม่พอใจ ที่รัฐบาล ได้ออก กฎข้อบังคับ สำหรับ ปกครอง บริเวณ เจ็ดหัวเมือง ขึ้นมา บังคับใช้ ตั้งแต่ วันที่ ๒๒ ธันวาคม พ.ศ.๒๔๔๔ ซึ่ง ผู้ว่า ราชการ เมือง ถือว่า กฎข้อบังคับ ดังกล่าว เป็นการ ลิดรอน อำนาจ ทางด้าน การเมือง เศรษฐกิจ การคลัง และ อำนาจ อาญาสิทธิ์ ที่เคยมี ต่อราษฎร คือสามารถ ทำการ ประหารชีวิต บุคคล ได้โดย รัฐบาลกลาง แต่งตั้ง ปลัดเมือง ยกกระบัตรเมือง และ ผู้ช่วย ราชการ เมือง เข้ามา ปฏิบัติ ราชการ ช่วยเหลือ ผู้ว่า ราชการเมือง ด้านการคลัง รัฐ ก็ส่ง เจ้าพนักงาน สรรพกร ออกทำการ เก็บภาษี อากร ตาม พิกัด อัตรา ซึ่งกำหนด ขึ้นตาม ระเบียบ ของ กระทรวง การคลัง แทนการ ให้ผู้ว่า ราชการเมือง ดำเนินการเก็บ และ ใช้สอยเอง โดยพละการ ส่วนตัว พระยาเมือง รัฐบาล จะจ่ายเงิน ค่ายังชีพ ให้อย่าง เพียงพอ แก่การ ดำรงชีพ เพื่อมิให้ เสื่อมเสียเกียรติ ของผู้ว่า ราชการเมือง ทันที ที่พระยา ตานี ได้รับทราบ สารตรา แจ้งเรื่อง กฎข้อบังคับ ที่เจ้าพนักงาน เชิญไปแจ้ง ให้ทราบ ก็แสดง ปฏิกิริยา ไม่เห็นชอบด้วย กับ กฎ ข้อบังคับ นั้น ครั้นเจ้าพนักงาน สรรพากร เข้าไป ปฏิบัติงาน ตามหน้าที่ พระยาตานี ก็ทำการ ขัดขวาง เจ้าพนักงาน มิให้ ปฏิบัติการ ใดๆ ทั้งสิ้น นอกจากนั้น พระยาตานี ยังเดินทาง ไปขอร้อง ข้าหลวงใหญ่ อังกฤษ ที่ประจำ อยู่ที่เมือง สิงคโปร์คือ เซอร์แฟร็งค์ สเวทเทนนั่ม ให้ช่วยเหลือ เจรจา กับ รัฐบาล ไทย พร้อมทั้ง เสนอให้ อังกฤษ ยึดเมือง ปัตตานี เป็นเมืองขึ้น

ทางรัฐบาล ถือว่า พระยา วิชิต ภักดี จงใจ ขัดขืน พระบรม ราชโองการ ไม่ให้ ความร่วมมือ ในการ ปฏิรูป การปกครอง ประเทศ ให้เหมาะสม กับกาลสมัย กระทรวง มหาดไทย จึงส่ง พระยา สิงหเทพ กับ กำลัง ตำรวจ ภูธร เดินทาง มาโดย เรือรบหลวง ทำการ จับกุมตัว พระยาตานี ในวันที่ ๒๐ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๔๔๕ และ ส่งตัว ไปกักกัน บริเวณ ไว้ที่ เมืองพิษณุโลก แล้วแต่งตั้ง ให้พระยา พิทักษ์ ธรรมสุนทร (ต่วนกูเดร์) ขึ้นเป็น ผู้รั้ง เมืองปัตตานี

ปี ร.ศ.๑๒๓ (พ.ศ.๒๔๔๗) ตนกู อับดุล กาเดร์ ได้รับ พระกรุณา โปรดเกล้าฯ อนุญาต ให้กลับมา อยู่ที่เมือง ปัตตานี ได้ด้วย คำมั่น สัญญาว่า "จะไม่ เกี่ยวข้อง การบ้านเมือง อย่างหนึ่ง อย่างใด เป็นอันขาด"

ครั้นเมื่อ สมเด็จ พระมงกุฎเกล้า เจ้าอยู่หัว เสด็จขึ้น เถลิงถวัลย์ ราชสมบัติ แล้ว ตนกู อับดุล กาเดร์ ก็ได้ทำ หนังสือขึ้น กราบบังคมทูล ขอพระราชทาน เงินค่ายังชีพ พระบาท สมเด็จ พระมงกุฎเกล้าฯ ก็ทรง พระกรุณา พระราชทาน เงินค่ายังชีพ ให้แก่ ตนกู อับดุล กาเดร์ เป็นเงิน เดือนๆ ละ ๓๐๐ บาท (จาก จดหมาย ของ พระยา พิบูลย์ พิทยาพรรค ธรรมการ มณฑล ปัตตานี มีไปถึง ขุนศิลปกรรม พิเศษ อดีต ศึกษาธิการ เขตการศึกษา ๒ จังหวัดยะลา) หลังจากนั้น ไม่นาน ตนกู อับดุล กาเดร์ ก็ได้ อพยพ ครอบครัว ไปพำนัก อยู่ที่รัฐ กลันตัน จนกระทั่ง ถึงแก่กรรม ในปี พ.ศ.๒๔๗๖

สาเหตุ ที่ตนกู อับดุล กาเดร์ ขัดขืน พระบรมราช โองการ ไม่ยอม ปฏิบัติ ตามกฎ ข้อบังคับ สำหรับ ปกครอง บริเวณ เจ็ดหัวเมือง ที่รัฐบาล ตราขึ้น ในปี พ.ศ.๒๔๔๔ สมเด็จ กรมพระยาดำรงฯ ได้กล่าวสรุป ไว้ใน หนังสือ สาสน์สมเด็จ ตอนที่ ๖ ว่าด้วย การบำรุง หัวเมือง ฝ่ายตะวันตก ชั้นหลังว่า

"ใน พ.ศ.๒๔๔๔ นั้น ประจวบ เวลา พวกอังกฤษ ที่เมือง สิงคโปร์ คิดอยาก จะรุก แดนไทย ทางแหลม มลายู แต่ รัฐบาล อังกฤษ ที่เมือง ลอนดอน ไม่ให้ อนุมัติ พวกเมือง สิงคโปร์ จึงคิด อุบาย หาเหตุ เพื่อที่ จะให้ รัฐบาล ที่ลอนดอน ต้องยอมตาม ในอุบาย ของพวก สิงคโปร์ ในครั้งนั้น อย่างหนึ่ง แต่สาย ไปยุยง พวกมลายู เจ้าเมือง ในมณฑล ปัตตานี ให้เอาใจ ออกห่าง จากไทย พระยาตานี (อับดุลกาเดร์) หลงเชื่อ จึงทำการ ขัดแข็ง ขึ้น สมเด็จ พระพุทธเจ้าหลวง ดำรัสสั่ง ให้จับ และ ถอด พระยา ตานี แล้วเอาตัว ขึ้นไปคุม ไว้ที่เมือง พิษณุโลก การหยุกหยิก ในมณฑล ปัตตานี จึงสงบ ลงไป"

1

1

รูปภาพของ silavacharee

Frown ขาดแหล่งอ้างอิง และชื่อผู้สร้าง แก้ไขด้วย

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 182 คน กำลังออนไลน์