• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:4844818ead62ff77cbe9f34b70fa25a8' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n              ในปีพุทธศักราช  2475  ในช่วงที่พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว  รัชกาลที่ 7  ขึ้นครองราชย์นั้น  สังคมไทยได้ก้าวสู่ความเป็นอารยะตามแบบตะวันตก  โดยเฉพาะอย่างยิ่งความเจริญที่ปรากฏอยู่ในรูปของวัตถุไม่ว่าจะเป็นถนนหนทาง  รถไฟ  ไฟฟ้า  ประปา  เขื่อนชลประทาน  โรงพยาบาล  ระบบการสื่อสารคมนาคม  ที่ทำการรัฐบาล  ห้างร้าน  และตึกรามบ้านช่อง  ตลอดจนเครื่องใช้อันทันสมัย  อันมีเจ้านายและชนชั้นสูงเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง ส่วนชาวบ้านสามัญชนเป็นผู้ตาม     นอกจากนั้นยังมีการเปลี่ยนแปลงในขนบธรรมเนียมบางอย่างเพื่อให้สอดคล้องกับการปกครองระบบใหม่  ทั้งนี้เพราะรัฐบาลต้องติดต่อกับชาติอื่น ๆ ทั่วโลก  จึงต้องปรับปรุงเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมไทยให้เป็นสากลและสอดคล้องกับความเป็นไปของโลก  แต่ให้คงเอกลักษณ์ของความเป็นไทยไว้ที่เด่นชัดในสมัยนั้นก็คือเรื่องการแต่งกายในสมัย <strong>จอมพล ป. พิบูลสงคราม</strong>   เป็นนายกรัฐมนตรี  ( พ.ศ. 2481-2487 )  ได้มีบัญญัติเรียกว่า  <strong>รัฐนิยม </strong> ซึ่งเป็นการปลุกระดมอย่างรุนแรง  ซึ่งแสดงนโยบายของประเทศว่าต้องการให้ประชาชนคนไทยรักหวงแหนและภูมิใจในความเป็นไทย  เช่น  ให้ข้าราชการแต่งเครื่องแบบตามที่กำหนด  ห้ามสวมกางเกงแพร ให้ทักทายกันด้วยคำว่า  สวัสดี  เป็นหลักเพราะถือว่าเป็นคำที่ดี ไพเราะ และมีความหมายอันเป็นมงคล\n</p>\n<p>\n     การปกครองระบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ของไทย ได้ดำรงอยู่จนถึง ปีพุทธศักราช 2475 จึงได้มีการเปลี่ยนแปลงมาสู่การปกครองระบอบประชาธิปไตย กล่าวคือ ในวันที่ 24 มิถุนายน  2475 มีข้าราชการทหารและพลเรือนกลุ่มหนึ่ง ได้แก่การปฏิวัติขึ้น โดยทำการเปลี่ยนแปลงการปกครองมาสู่ระบบประชาธิปไตย โดยมีพระมหากษัตริย์อยู่ภายใต้รัฐธรรมนูญ\n</p>\n<p>\n         กรมไปรษณีย์โทรเลขได้เปิดบริการโทรคมนาคมชนิดใหม่หลายบริการ เช่น บริการรับโฆษณาประกาศการค้าขายการทำมาหากินในเชิงการค้า อุตสาหกรรมและวิชาชีพโดยทางวิทยุกระจายเสียง, <strong>บริการวิทยุโทรศัพท์ประชุม (Coference Conversation) ระหว่างไทย-เยอรมัน ในปี พ.ศ. 2477</strong>, บริการวิทยุโทรศัพท์กับประเทศญี่ปุ่น, บริการรับฝากวิทยุถึงและจากสถานีวิทยุเรือ, บริการโทรเลขด่วนพิเศษของโทรเลขรัฐบาล,บริการโทรเลขข่าวน้ำฝนของกรมอุตุนิยมวิทยาและบริการโทรพิมพ์สายตรง (Leased Telegraph Circuit Service) เป็นต้น\n</p>\n<p>\n                  นอกจากนี้ยังได้มีการปรับปรุงระบบและมาตรฐานในการให้บริการ โดยมีการนำเอาเครื่องมืออุปกรณ์และเทคโนโลยีการสื่อสาร สมัยใหม่มาใช้อย่างกว้างขวาง เช่น จัดตั้งสถานีวิทยุการบินขึ้นที่จังหวัดนครราชสีมา อุดรธานีและ สุราษฎร์ธานี และจัดตั้งสถานีวิทยุการบินที่เกาะสมุย เป็นแห่งสุดท้าย ในปี พ.ศ. 2481 สั่งซื้อเครื่องชุมสายโทรศัพท์ต่อเอง (ระบบ Step by Step) จากประเทศอังกฤษ, เปลี่ยนแปลงวิธีการของวิทยุโทรศัพท์จากระบบสี่เส้น (Four-Wire System) มาเป็นระบบสองเส้น ( Two - Wire System )และในปี พ.ศ. 2478 ได้มีการนำเครื่องพรางเสียง(Secrecy Device) มาใช้รักษาความลับในการพูดโทรศัพท์\n</p>\n<p>\n                  ในปีพ.ศ.2488รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคมได้มีคำสั่งให้กรมไปรษณีย์โทรเลขเตรียมเครื่องส่งวิทยุกระจายเสียงไว้สำรองยามสงครามในกรณีที่เครื่องส่งวิทยุกระจายเสียง ของกรมโฆษณาการขัดข้องหรือถูกทำลายที่ตึกกรมไปรษณีย์โทรเลขเก่าหน้าวัดเลียบโดยทดลองส่งกระจายเสียง เป็นครั้งคราว ซึ่งเรียกชื่อสถานีว่า 1 ปณ.\n</p>\n<p>\n                   ในปี พ.ศ. 2496มีเหตุการณ์ที่สำคัญยิ่งในวงการโทรคมนาคม ที่ควรจารึกไว้ในประวัติศาสตร์ คือ นายสมาน บุญยรัตพันธ์ นายช่างกรม ไปรษณีย์โทรเลขคิดค้นเครื่องโทรพิมพ์ภาษาไทยสำเร็จ โดยติดตั้งกลไกระบบ Spacing Control Machanism โดยได้ดัดแปลงมาจากเครื่องโทรพิมพ์ อักษรโรมันและอักษรญี่ปุ่นโดยใช้ระบบ 6 ยูนิตและต่อมาในปีพ.ศ. 2497 ยังได้ประดิษฐ์เครื่องโทรพิมพ์แบบเดิมให้ทำงานได้ทั้งสองภาษา คือ อักษร ไทยและอักษรโรมันในเครื่องเดียวกัน ซึ่งเรียกว่า&quot;เครื่องโทรพิมพ์ไทยแบบ S.P.&quot; ซึ่งในปีถัดมากรมไปรษณีย์โทรเลขได้รับรองเครื่องโทรพิมพ์ไทยแบบ S.P.นี้ แต่เป็นที่น่าเสียดายว่าลิขสิทธิ์ได้ตกไปเป็นของญี่ปุ่นดังนั้นต่อมากรมไปรษณีย์-โทรเลขจึงต้องสั่งสร้างเครื่องโทรพิมพ์ไทยแบบ S.P. จากประเทศญี่ปุ่นเข้ามาใช้งานส่งโทรเลขโดยใช้สายโทรเลขแบบสายโถง (Open Wire Line) และทำงานผ่านสถานีทวนสัญญาณ(Repeater)ในระยะ 200-300 กม. ซึ่งต่อมาได้ขยายการรับ-ส่งโทรเลข โดยใช้เครื่องโทรพิมพ์ออกไปทั่วประเทศ\n</p>\n<p>\n                    ในด้านการปรับปรุงส่วนราชการ และการตรากฎหมายใหม่ด้านการไปรษณีย์และโทรคมนาคมออกมาใช้บังคับแล้ว ช่วงระยะเวลาตั้งแต่หลังการเปลี่ยนแปลงการปกครองมาจนกระทั่งก่อนเริ่มดำเนินการตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติเป็นช่วงที่กรมไปรษณีย์โทรเลขมีการเปลี่ยนแปลงมากที่สุดระยะหนึ่ง กล่าวคือในด้าน กฎหมาย เช่น ได้มีการแก้ไขปรับปรุงกฎหมายตลอดจนตรากฎหมายด้านการสื่อสารขึ้นมาใช้หลายฉบับ เช่น ตราพระราชบัญญัติไปรษณีย์ พ.ศ. 2477 ขึ้นใช้แทนพระราชกำหนดไปรษณีย์ร.ศ.116 ตราพระราชบัญญัติโทรเลขและโทรศัพท์ พ.ศ. 2477 ขึ้นใช้แทนกฎหมายโทรเลข จ.ศ.1246 ตราพระราชบัญญัติวิทยุคมนาคม พ.ศ. 2498 ขึ้นใช้แทนพระราชบัญญัติวิทยุสื่อสาร พ.ศ. 2478 และมีการตราพระราชบัญญัติวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ พ.ศ. 2498 ออกมาใช้บังคับด้วย เป็นต้น\n</p>\n<p>\n                   นอกจากนี้กรมไปรษณีย์โทรเลขยังได้ดำเนินการปรับปรุงส่วนราชการเพื่อให้เหมาะสมกับสภาพการอีกหลายครั้ง เช่น ยกฐานะแผนกคลังออมสิน กองบัญชีขึ้นเป็นกองคลังออมสินและธนาณัติ ต่อมาได้แยกงานธนาณัติออกจากกองคลังออมสินไปสังกัดกองบัญชีตามเดิมและยุบเลิกกองไปรษณีย์โทรเลขภาค 1-5 มาขึ้นอยู่กับกองสื่อสาร ยกฐานะแผนกทะเบียนวิทยุและกระจายเสียงในกองช่างวิทยุขึ้นเป็นกองทะเบียนวิทยุ และกระจายเสียง ต่อมาในปี พ.ศ. 2488 กรมไปรษณีย์โทรเลข ได้ถูกโอนจากกระทรวงเศรษฐการไปสังกัดกระทรวงคมนาคมและได้รวมงานกองช่างโทรเลข และกองช่างโทรศัพท์เข้าเป็นกองเดียวกันเรียกว่า กองช่างโทรเลขและโทรศัพท์ เมื่อ พ.ศ. 2485\n</p>\n<p>\n                  ในช่วงระยะเวลานี้ได้มีการแยกงานที่สำคัญๆ ออกไปจัดตั้งเป็นหน่วยอิสระหลายหน่วย และหลายครั้งด้วยกัน  คือ\n</p>\n<p>\n                  ได้มีการโอนงานวิทยุกระจายเสียงในประเทศ ของกองทะเบียน วิทยุและกระจายเสียงกรมไปรษณีย์โทรเลขไปขึ้นอยู่กับสำนักงานโฆษณาการ(ต่อมาคือกรมโฆษณาการ, หรือกรมประชาสัมพันธ์ในปัจจุบัน) เมื่อ วันที่ 1 เมษายน 2482\n</p>\n<p>\n                  ได้มีการตราพระราชบัญญัติธนาคารออมสิน พ.ศ. 2489 ขึ้นใช้บังคับทำให้มีการโอนกิจการของกองคลังออมสินไปจัดตั้งเป็นธนาคาร ออมสินและเริ่มดำเนินการในเดือนมกราคม 2490\n</p>\n<p>\n                  ได้โอนกิจการวิทยุการบินพลเรือน ซึ่งกรมไปรษณีย์โทรเลขได้ตั้งขึ้น และดำเนินการมาตลอดไป ให้กรมการขนส่งดำเนินการในปี พ.ศ. 2489 และต่อมากิจการวิทยุการบินพลเรือนได้แยกออกไปจัดตั้งเป็นบริษัทวิทยุการบินแห่งประเทศไทย จำกัด (2491)\n</p>\n<p>\n                  ได้มีการตราพระราชบัญญัติองค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย พ.ศ. 2497 ขึ้นมีผลให้มีการโอนกิจการโทรศัพท์ในประเทศไปให้องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย โดยได้โอนงานโทรศัพท์ในเขตจังหวัดพระนครและธนบุรีไปก่อน สำหรับงานโทรศัพท์ส่วนภูมิภาค ยังคงอยู่ในความรับผิดชอบของกองช่างโทรเลขอยู่ ต่อมาในปีพ.ศ. 2504ได้โอนไปอยู่ในความรับผิดชอบขององค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทยทั้งหมด\n</p>\n<p>\n<br />\n<strong><br />\n </strong>\n</p>\n', created = 1729464490, expire = 1729550890, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:4844818ead62ff77cbe9f34b70fa25a8' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

สังคมไทยหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475

              ในปีพุทธศักราช  2475  ในช่วงที่พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว  รัชกาลที่ 7  ขึ้นครองราชย์นั้น  สังคมไทยได้ก้าวสู่ความเป็นอารยะตามแบบตะวันตก  โดยเฉพาะอย่างยิ่งความเจริญที่ปรากฏอยู่ในรูปของวัตถุไม่ว่าจะเป็นถนนหนทาง  รถไฟ  ไฟฟ้า  ประปา  เขื่อนชลประทาน  โรงพยาบาล  ระบบการสื่อสารคมนาคม  ที่ทำการรัฐบาล  ห้างร้าน  และตึกรามบ้านช่อง  ตลอดจนเครื่องใช้อันทันสมัย  อันมีเจ้านายและชนชั้นสูงเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง ส่วนชาวบ้านสามัญชนเป็นผู้ตาม     นอกจากนั้นยังมีการเปลี่ยนแปลงในขนบธรรมเนียมบางอย่างเพื่อให้สอดคล้องกับการปกครองระบบใหม่  ทั้งนี้เพราะรัฐบาลต้องติดต่อกับชาติอื่น ๆ ทั่วโลก  จึงต้องปรับปรุงเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมไทยให้เป็นสากลและสอดคล้องกับความเป็นไปของโลก  แต่ให้คงเอกลักษณ์ของความเป็นไทยไว้ที่เด่นชัดในสมัยนั้นก็คือเรื่องการแต่งกายในสมัย จอมพล ป. พิบูลสงคราม   เป็นนายกรัฐมนตรี  ( พ.ศ. 2481-2487 )  ได้มีบัญญัติเรียกว่า  รัฐนิยม  ซึ่งเป็นการปลุกระดมอย่างรุนแรง  ซึ่งแสดงนโยบายของประเทศว่าต้องการให้ประชาชนคนไทยรักหวงแหนและภูมิใจในความเป็นไทย  เช่น  ให้ข้าราชการแต่งเครื่องแบบตามที่กำหนด  ห้ามสวมกางเกงแพร ให้ทักทายกันด้วยคำว่า  สวัสดี  เป็นหลักเพราะถือว่าเป็นคำที่ดี ไพเราะ และมีความหมายอันเป็นมงคล

     การปกครองระบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ของไทย ได้ดำรงอยู่จนถึง ปีพุทธศักราช 2475 จึงได้มีการเปลี่ยนแปลงมาสู่การปกครองระบอบประชาธิปไตย กล่าวคือ ในวันที่ 24 มิถุนายน  2475 มีข้าราชการทหารและพลเรือนกลุ่มหนึ่ง ได้แก่การปฏิวัติขึ้น โดยทำการเปลี่ยนแปลงการปกครองมาสู่ระบบประชาธิปไตย โดยมีพระมหากษัตริย์อยู่ภายใต้รัฐธรรมนูญ

         กรมไปรษณีย์โทรเลขได้เปิดบริการโทรคมนาคมชนิดใหม่หลายบริการ เช่น บริการรับโฆษณาประกาศการค้าขายการทำมาหากินในเชิงการค้า อุตสาหกรรมและวิชาชีพโดยทางวิทยุกระจายเสียง, บริการวิทยุโทรศัพท์ประชุม (Coference Conversation) ระหว่างไทย-เยอรมัน ในปี พ.ศ. 2477, บริการวิทยุโทรศัพท์กับประเทศญี่ปุ่น, บริการรับฝากวิทยุถึงและจากสถานีวิทยุเรือ, บริการโทรเลขด่วนพิเศษของโทรเลขรัฐบาล,บริการโทรเลขข่าวน้ำฝนของกรมอุตุนิยมวิทยาและบริการโทรพิมพ์สายตรง (Leased Telegraph Circuit Service) เป็นต้น

                  นอกจากนี้ยังได้มีการปรับปรุงระบบและมาตรฐานในการให้บริการ โดยมีการนำเอาเครื่องมืออุปกรณ์และเทคโนโลยีการสื่อสาร สมัยใหม่มาใช้อย่างกว้างขวาง เช่น จัดตั้งสถานีวิทยุการบินขึ้นที่จังหวัดนครราชสีมา อุดรธานีและ สุราษฎร์ธานี และจัดตั้งสถานีวิทยุการบินที่เกาะสมุย เป็นแห่งสุดท้าย ในปี พ.ศ. 2481 สั่งซื้อเครื่องชุมสายโทรศัพท์ต่อเอง (ระบบ Step by Step) จากประเทศอังกฤษ, เปลี่ยนแปลงวิธีการของวิทยุโทรศัพท์จากระบบสี่เส้น (Four-Wire System) มาเป็นระบบสองเส้น ( Two - Wire System )และในปี พ.ศ. 2478 ได้มีการนำเครื่องพรางเสียง(Secrecy Device) มาใช้รักษาความลับในการพูดโทรศัพท์

                  ในปีพ.ศ.2488รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคมได้มีคำสั่งให้กรมไปรษณีย์โทรเลขเตรียมเครื่องส่งวิทยุกระจายเสียงไว้สำรองยามสงครามในกรณีที่เครื่องส่งวิทยุกระจายเสียง ของกรมโฆษณาการขัดข้องหรือถูกทำลายที่ตึกกรมไปรษณีย์โทรเลขเก่าหน้าวัดเลียบโดยทดลองส่งกระจายเสียง เป็นครั้งคราว ซึ่งเรียกชื่อสถานีว่า 1 ปณ.

                   ในปี พ.ศ. 2496มีเหตุการณ์ที่สำคัญยิ่งในวงการโทรคมนาคม ที่ควรจารึกไว้ในประวัติศาสตร์ คือ นายสมาน บุญยรัตพันธ์ นายช่างกรม ไปรษณีย์โทรเลขคิดค้นเครื่องโทรพิมพ์ภาษาไทยสำเร็จ โดยติดตั้งกลไกระบบ Spacing Control Machanism โดยได้ดัดแปลงมาจากเครื่องโทรพิมพ์ อักษรโรมันและอักษรญี่ปุ่นโดยใช้ระบบ 6 ยูนิตและต่อมาในปีพ.ศ. 2497 ยังได้ประดิษฐ์เครื่องโทรพิมพ์แบบเดิมให้ทำงานได้ทั้งสองภาษา คือ อักษร ไทยและอักษรโรมันในเครื่องเดียวกัน ซึ่งเรียกว่า"เครื่องโทรพิมพ์ไทยแบบ S.P." ซึ่งในปีถัดมากรมไปรษณีย์โทรเลขได้รับรองเครื่องโทรพิมพ์ไทยแบบ S.P.นี้ แต่เป็นที่น่าเสียดายว่าลิขสิทธิ์ได้ตกไปเป็นของญี่ปุ่นดังนั้นต่อมากรมไปรษณีย์-โทรเลขจึงต้องสั่งสร้างเครื่องโทรพิมพ์ไทยแบบ S.P. จากประเทศญี่ปุ่นเข้ามาใช้งานส่งโทรเลขโดยใช้สายโทรเลขแบบสายโถง (Open Wire Line) และทำงานผ่านสถานีทวนสัญญาณ(Repeater)ในระยะ 200-300 กม. ซึ่งต่อมาได้ขยายการรับ-ส่งโทรเลข โดยใช้เครื่องโทรพิมพ์ออกไปทั่วประเทศ

                    ในด้านการปรับปรุงส่วนราชการ และการตรากฎหมายใหม่ด้านการไปรษณีย์และโทรคมนาคมออกมาใช้บังคับแล้ว ช่วงระยะเวลาตั้งแต่หลังการเปลี่ยนแปลงการปกครองมาจนกระทั่งก่อนเริ่มดำเนินการตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติเป็นช่วงที่กรมไปรษณีย์โทรเลขมีการเปลี่ยนแปลงมากที่สุดระยะหนึ่ง กล่าวคือในด้าน กฎหมาย เช่น ได้มีการแก้ไขปรับปรุงกฎหมายตลอดจนตรากฎหมายด้านการสื่อสารขึ้นมาใช้หลายฉบับ เช่น ตราพระราชบัญญัติไปรษณีย์ พ.ศ. 2477 ขึ้นใช้แทนพระราชกำหนดไปรษณีย์ร.ศ.116 ตราพระราชบัญญัติโทรเลขและโทรศัพท์ พ.ศ. 2477 ขึ้นใช้แทนกฎหมายโทรเลข จ.ศ.1246 ตราพระราชบัญญัติวิทยุคมนาคม พ.ศ. 2498 ขึ้นใช้แทนพระราชบัญญัติวิทยุสื่อสาร พ.ศ. 2478 และมีการตราพระราชบัญญัติวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ พ.ศ. 2498 ออกมาใช้บังคับด้วย เป็นต้น

                   นอกจากนี้กรมไปรษณีย์โทรเลขยังได้ดำเนินการปรับปรุงส่วนราชการเพื่อให้เหมาะสมกับสภาพการอีกหลายครั้ง เช่น ยกฐานะแผนกคลังออมสิน กองบัญชีขึ้นเป็นกองคลังออมสินและธนาณัติ ต่อมาได้แยกงานธนาณัติออกจากกองคลังออมสินไปสังกัดกองบัญชีตามเดิมและยุบเลิกกองไปรษณีย์โทรเลขภาค 1-5 มาขึ้นอยู่กับกองสื่อสาร ยกฐานะแผนกทะเบียนวิทยุและกระจายเสียงในกองช่างวิทยุขึ้นเป็นกองทะเบียนวิทยุ และกระจายเสียง ต่อมาในปี พ.ศ. 2488 กรมไปรษณีย์โทรเลข ได้ถูกโอนจากกระทรวงเศรษฐการไปสังกัดกระทรวงคมนาคมและได้รวมงานกองช่างโทรเลข และกองช่างโทรศัพท์เข้าเป็นกองเดียวกันเรียกว่า กองช่างโทรเลขและโทรศัพท์ เมื่อ พ.ศ. 2485

                  ในช่วงระยะเวลานี้ได้มีการแยกงานที่สำคัญๆ ออกไปจัดตั้งเป็นหน่วยอิสระหลายหน่วย และหลายครั้งด้วยกัน  คือ

                  ได้มีการโอนงานวิทยุกระจายเสียงในประเทศ ของกองทะเบียน วิทยุและกระจายเสียงกรมไปรษณีย์โทรเลขไปขึ้นอยู่กับสำนักงานโฆษณาการ(ต่อมาคือกรมโฆษณาการ, หรือกรมประชาสัมพันธ์ในปัจจุบัน) เมื่อ วันที่ 1 เมษายน 2482

                  ได้มีการตราพระราชบัญญัติธนาคารออมสิน พ.ศ. 2489 ขึ้นใช้บังคับทำให้มีการโอนกิจการของกองคลังออมสินไปจัดตั้งเป็นธนาคาร ออมสินและเริ่มดำเนินการในเดือนมกราคม 2490

                  ได้โอนกิจการวิทยุการบินพลเรือน ซึ่งกรมไปรษณีย์โทรเลขได้ตั้งขึ้น และดำเนินการมาตลอดไป ให้กรมการขนส่งดำเนินการในปี พ.ศ. 2489 และต่อมากิจการวิทยุการบินพลเรือนได้แยกออกไปจัดตั้งเป็นบริษัทวิทยุการบินแห่งประเทศไทย จำกัด (2491)

                  ได้มีการตราพระราชบัญญัติองค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย พ.ศ. 2497 ขึ้นมีผลให้มีการโอนกิจการโทรศัพท์ในประเทศไปให้องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย โดยได้โอนงานโทรศัพท์ในเขตจังหวัดพระนครและธนบุรีไปก่อน สำหรับงานโทรศัพท์ส่วนภูมิภาค ยังคงอยู่ในความรับผิดชอบของกองช่างโทรเลขอยู่ ต่อมาในปีพ.ศ. 2504ได้โอนไปอยู่ในความรับผิดชอบขององค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทยทั้งหมด



 

รูปภาพของ silavacharee

Kiss

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 377 คน กำลังออนไลน์