• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:f8d79d955b079f723db039c81b3e979d' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><div>\n<strong><span style=\"color: #ff0000\">ประเทศไทย หรือที่รู้จักกันในสมัยโบราณว่าสยาม และประเทศจีน เป็นประเทศเพื่อนบ้านใกล้เคียงมาช้านาน ชาวไทยและชาวจีนได้ไปมาหาสู่และติดต่อสัมพันธ์กันทั้งทางวัฒนธรรม เศรษฐกิจและการเมืองมาตั้งแต่โบราณ แม้ว่าประเทศจีนเป็นประเทศที่ใหญ่กว่าและมีพลเมืองมากกว่าประเทศไทยก็ตาม แต่ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศทั้งสองส่วนมากจะมีลักษณะที่เอื้อประโยชน์ต่อ กันฉันท์ญาติมิตร ตลอดระยะเวลาอันยาวนานของประวัติศาสตร์ ประเทศไทยกับประเทศจีนได้มีความสัมพันธ์อันใกล้ชิด บางขณะอาจไปมาหาสู่กันบ่อยครั้ง ในบางคราวอาจห่างเหินไปบ้าง อันเนื่องมาจากปัญหาภายในของแต่ละประเทศและสถานการณ์ระหว่างประเทศ\n<p>เมื่อพรรคคอมมิวนิสต์จีนภายใต้การนำของเหมาเจ๋อตุงยึด อำนาจแผ่นดินใหญ่จีน และเปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นคอมมิวนิสต์ โดยสถาปนาประเทศเป็น “สาธารณรัฐประชาชนจีน” ในวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2492 ไทยมิได้รับรองรัฐบาลสาธารณรัฐประชาชนจีน จนกระทั้งวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2518 เมื่อ ฯพณฯ ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช นายกรัฐมนตรีของไทยในขณะนั้น เดินทางไปเยือนกรุงปักกิ่ง และลงนามในแถลงการณ์ความสัมพันธ์ทางการทูตอย่างเป็นทางการกับโจรเอินไหล นายกรัฐมนตรีสาธารณรัฐประชาชนจีน นับตั้งแต่นั้นมาจนถึงปัจจุบัน ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับสาธารณรัฐประชาชนจีนได้ทวีความใกล้ชิดยิ่ง ขึ้น โดยมีการเดินทางไปมาหาสู่กันทั้งในระดับประชาชนทั่วไปและระดับผู้นำของทั้ง สองประเทศ อีกทั้งความสัมพันธ์ก็ขยายครอบคลุมไปทุก ๆ ด้าน ทั้งการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมวัฒนธรรม</p></span></strong>\n</div>\n<div>\n<strong><span style=\"color: #ff0000\">ในการศึกษาวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับสาธารณรัฐประชาชน จีน ในรอบ 30 ปีที่ผ่านมา และแนวโน้มในอนาคต จำเป็นต้องเข้าใจความเป็นมาหรือประวัติภูมิหลังของความสัมพันธ์ไทยและจีนใน อดีตด้วย</span></strong>\n</div>\n<div>\n<strong><span style=\"color: #ff0000\">ความสัมพันธ์ระหว่างไทยและจีนในอดีตก่อนการสถาปนาความสัมพันธ์ทางการ ทูตอย่างเป็นทางการใน พ.ศ. 2518 นั้น ได้พัฒนาเป็น 3 ระยะดังนี้ คือ</span></strong>\n</div>\n<div>\n<strong><span style=\"color: #ff0000\">1.  ความสัมพันธ์ในสมัยโบราณ เป็นความสัมพันธ์ระหว่างจีนราชวงศ์ต่างๆ กับไทย ตั้งแต่สมัยที่อาณาจักรโบราณตั้งเมืองหลวงอยู่ที่สุโขทัยใน พ.ศ. 1825 ต่อมาย้ายเมืองหลวงมาที่อยุธยา ธนบุรี และกรุงเทพฯ จนถึง พ.ศ. 2396 ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวแห่งราชวงศ์จักรีที่กรุงเทพฯ</span></strong>\n</div>\n<div>\n<span><strong><span style=\"color: #ff0000\">2.  ความสัมพันธ์สมัยใหม่ ก่อนสงครามโลกครั้งที่ 2 เป็นความสัมพันธ์ระหว่างจีนกับไทยที่เผชิญกับจักรวรรดินิยมตะวันตกระหว่าง พ.ศ. 2400 – 2488 ซึ่งเป็นปีสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 2</span></strong></span>\n</div>\n<div>\n<span><br />\n<strong><span style=\"color: #ff0000\">3. ความสัมพันธ์หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เป็นความสัมพันธ์ระหว่างจีนกับไทยตั้งแต่ พ.ศ. 2489 จนถึง พ.ศ. 2517 ก่อนการสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตอย่างเป็นทางการใน พ.ศ. 2518</span></strong></span>\n</div>\n<div>\n<span><br />\n<strong><span style=\"color: #ff0000\"></span></strong></span>\n</div>\n<div>\n<strong><span style=\"color: #ff0000\">1.ความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับจีนสมัยโบราณ : การทูตบรรณาการ</span></strong>\n</div>\n<div>\n<span><br />\n<strong><span style=\"color: #ff0000\">ประเทศไทยและจีน แม้ว่าจะอยู่ไม่ไกลกัน แต่การติดต่อถึงการทางบกในสมัยโบราณค่อนข้างลำบาก เนื่องจากเส้นทางและภูมิประเทศค่อนข้างทุรกันดาร ดังนั้น การติดต่อระหว่างประเทศทั้งสองจึงมักใช้ทางทะเล ซึ่งนำไปสู่ “การค้าสำเภา” </span></strong></span><strong><span style=\"color: #ff0000\">(Junk Trade) ระหว่างกัน เดิมจีนมีศูนย์กลางอำนาจที่ลุ่มแม่น้ำฮวงโฮ จีนสมัยราชวงศ์ฮั่นตะวันตก (พ.ศ. 337 – 568) ได้ส่งทูตมาติดต่อกับชุมชนโบราณหลายชุมชนในเอเชียอาคเนย์ รวมทั้งบริเวณลุ่มแม่น้ำท่าจีน แม่กลอง และเจ้าพระยา เช่น ตว้อหลอพอตี้ (ทวาราวดี) หลอหู (อาจหมายถึงละโว้หรืออู่ทอง) เสียน (อาจหมายถึงสุพรรณภูมิหรือสุโขทัย) การติดต่อระหว่างไทยกับจีนในสมัยโบราณนั้นมีมานานแล้ว แต่เท่าที่มีหลักฐานทางประวัติศาสตร์ ความสัมพันธ์สมัยโบราณอย่างเป็นทางการได้เริ่มขึ้นในสมัยสุโขทัยของไทย ซึ่งเป็นสมัยเดียวกันกับที่ราชวงศ์หยวนของเผ่ามองโกลในจีน การติดต่อระหว่างจีนกับไทยได้มีขึ้นโดยทางฝ่ายจีนเป็นผู้ริเริ่มก่อน พงศาวดารจีนราชวงศ์หยวนได้บันทึกไว้ว่า ประมาณปี พ.ศ. 1825 จักรพรรดิกุบไลข่านแห่งราชวงศ์หยวนได้ส่งทูตเข้ามาติดต่อกับอาณาจักร “เสียน” ในลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา</span></strong>\n</div>\n<div>\n<span><br />\n<strong><span style=\"color: #ff0000\">“ปีที่ 19 ในรัชกาลจื้อหยวน เดือนหก วันจีไฮ่ มีรับสั่งให้เหอจื่อจื้อซึ่งเป็นนายพล เป็นทูตไปยังประเทศสยาม (เสียน)” แต่ปรากฏว่าคณะทูตของจีนชุดนี้มาไม่ถึงสุโขทัย เพราะถูกพวกจามแห่งอาณาจักรจามปาจับตัวในระหว่างเดินทางและประหารชีวิตหมด”</span></strong></span>\n</div>\n<div>\n<span><br />\n<strong><span style=\"color: #ff0000\">ต่อมา พ่อขุนรามคำแหงแห่งอาณาจักรสุโขทัยได้ส่งคณะทูตไปยังจีนครั้งแรก ใน พ.ศ. 1835 ดร. สืบแสง พรหมบุญ นักประวัติศาสตร์ ได้สันนิษฐานว่า การส่งทูตไปยังจีนครั้งนั้นมีเป้าหมายทางการเมือง เป็นการดำเนินวิเทโศบายทางการทูตของอาณาจักรสุโขทัยเพื่อป้องกันมิให้ จักรพรรดิกุบไลข่านสนับสนุนอาณาจักรสุพรรณภูมิ ทั้งนี้เพราะอาณาจักรสุพรรณภูมิได้เคยส่งเครื่องบรรณการไปยังจีน ใน พ.ศ. 1834 เพื่อขอความสนับสนุนทางการเมือง</span></strong></span>\n</div>\n<div>\n<span><br />\n<strong><span style=\"color: #ff0000\">เอกสารทางฝ่ายจีนได้ระบุว่า อาณาจักรสุโขทัยได้ส่งคณะทูตพร้อมด้วยของพื้นเมืองถวายเป็นกำนัลแก่ จักรพรรดิราชวงศ์หยวนในจีน รวม 14 ครั้ง ระหว่าง พ.ศ. 1835 จนถึง พ.ศ. 1865 ส่วนจีนสมัยราชวงศ์หยวนได้ส่งทูตมายังสุโขทัย 4 ครั้ง แต่มาถึงสุโขทัยเพียง 3 ครั้ง โดยมีเป้าหมายที่จะแผ่อำนาจของจักรพรรดิกุบไลข่านและให้สุโขทัยอ่อนน้อม การส่งทูตติดต่อระหว่างจีนกับไทยในสมัยสุโขทัยนี้ได้ส่งผลให้การค้าระหว่าง อาณาจักรทั้งสองขยายตัว อีกทั้งยังมีการถ่ายทอดความรู้ของจีนมายังไทย โดยช่างจีนได้เข้ามาทำเครื่องปั้นดินเผาจนเป็นที่รู้จักกันในนาม “เครื่องสังคโลก” ต่อมาเครื่องสังคโลกได้กลายเป็นสินค้าส่งออกที่สำคัญของอาณาจักรสุโขทัย</span></strong></span>\n</div>\n<div>\n<span><br />\n<strong><span style=\"color: #ff0000\">ต่อมาสุโขทัยเสื่อมอำนาจลง อยุธยาซึ่งอยู่ทางตอนใต้ภายใต้การนำของราชวงศ์อู่ทองของสุพรรณภูมิเข้มแข็ง ขึ้น และขึ้นมาเป็นใหญ่ในลุ่มน้ำเจ้าพระยา ส่วนในแผ่นดินจีน ชาวจีนได้โค่นล้มราชวงศ์หยวนของเผ่ามองโกลและสถาปนาราชวงศ์หมิงขึ้น พงศาวดารของจีนเรียกไทยว่า “เสียนหลอหู” และต่อมาย่อเป็น “เสียนโล้” ชื่อนี้ปรากฏในพงศาวดารราชวงศ์หมิงเป็นครั้งแรกใน พ.ศ. 1913 ว่า</span></strong></span>\n</div>\n<div>\n<span><br />\n<strong><span style=\"color: #ff0000\">“ปีที่ 3 ในรัชกาลหงหวู่ เดือนที่ 8 มีรับสั่งให้ลู่จงจุ้นกับพวกอัญเชิญพระบรมราชโองการ (ประกาศการขึ้นครองราชย์ของจักรพรรดิ) ไปยังประเทศสยาม” (เสียนโล้)</span></strong></span>\n</div>\n<div>\n<span><br />\n<strong><span style=\"color: #ff0000\">พระบรมราชาธิราชที่ 1 กษัตริย์ของกรุงศรีอยุธยา ได้โปรดให้ส่งของพื้นเมืองพร้อมทั้งเชิญพระราชสาส์นไปถวายจักรพรรดิจีน ซึ่งพงศาวดารราชวงศ์หมิง เล่มที่ 374 ได้บันทึกไว้ว่า</span></strong></span>\n</div>\n<div>\n<span><br />\n<strong><span style=\"color: #ff0000\">“ปีที่ 4 ในรัชกาลหงหวู่ เดือน 9 ซันเลียเจาพีเอี๋ย (สมเด็จเจ้าพระยา คงหมายถึงพระบรมราชาธิราชที่ 1) กษัตริย์ของประเทศสยามอัญเชิญพระราชสาส์น พร้อมด้วยลู่จงจุ้นและพวกมาถวายเครื่องราชบรรณาการ ซึ่งประกอบด้วย ช้างบ้าน 6 เชือก เต่าหกขา และของพื้นเมืองอื่นๆ (จักรพรรดิ) ทรงมีพระบรมราชโองการให้ประทานแพรกิมและแพรดอกขาวอย่างดีแก่กษัตริย์ (สยาม)”</span></strong></span>\n</div>\n<div>\n<span><br />\n<strong><span style=\"color: #ff0000\">หลังจากรัชกาลพระบรมราชธิราชที่ 1 แล้ว กรุงศรีอยุธยาได้ส่งคณะทูตไปเจริญสัมพันธไมตรีเพื่อค้าขายกับจีนประมาณ 130 ครั้ง ในระยะเวลาเกือบ 400 ปี ระหว่าง พ.ศ. 1914 ถึง พ.ศ. 2309 ส่วนจีนในสมัยราชวงศ์หมิงและราชวงศ์ชิง ได้ส่งทูตมายังกรุงศรีอยุธยาประมาณ 17 ครั้งด้วยกัน ในสมัยราชวงศ์หมิง จักรพรรดิหย่งเล่อได้ส่งกองเรือนำโดยนายพลเรือเจิ้งเหอ (นามเดิมหม่าซานเปา หรือที่คนไทยเรียก ซำเปากง) นักเดินเรือที่ยิ่งใหญ่ของจีน ให้เดินทางมายังเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และแวะที่กรุงศรีอยุธยาใน พ.ศ. 1951 สัมพันธภาพระหว่างจีนกับไทยในสมัยอยุธยานี้ได้ดำเนินไปอย่างราบรื่น มีชาวจีนอพยพมาตั้งถิ่นฐานอยู่ในกรุงศรีอยุธยามากขึ้น และรับราชการอยู่กับฝ่ายไทย ยิ่งไปกว่านั้น การค้าสำเภาระหว่างไทยกับจีนในสมัยอยุธยานี้ได้ทำให้กรุงศรีอยุธยามั่งคั่ง และกลายเป็นศูนย์กลางของการค้าระหว่างประเทศทางตะวันตกคือยุโรป กับประเทศทางตะวันออกคือจีนอีกด้วย</span></strong></span>\n</div>\n<div>\n<span><br />\n<strong><span style=\"color: #ff0000\">เมื่ออยุธยาล่มสลายด้วยกำลังทหารของพม่าใน พ.ศ. 2310 ผู้นำไทยย้ายเมืองหลวงมาอยู่ที่กรุงธนบุรี และต่อมาที่กรุงรัตนโกสินทร์หรือกรุงเทพฯ ในสมัยธนบุรีและรัตนโกสินทร์ตอนต้น ประเทศไทยและประเทศจีนก็ยังคงมีสัมพันธไมตรีอันดีต่อกัน ไทยยังคงส่งทูตเชิญพระราชสาส์นและเครื่องราชบรรณาการไปถวายแก่จักรพรรดิ จีนอย่างสม่ำเสมอ เพื่อขอความสะดวกในการค้าสำเภา ในสมัยธนบุรีและตลอด 4 รัชกาลแรกของกรุงรัตนโกสินทร์ ไทยได้ส่งทูตไปจีนรวม 56 ครั้ง จนถึง พ.ศ. 2396 โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วง 3 รัชกาลแรก ไทยส่งคณะทูตไปจีนแทบทุกปี การติดต่อระหว่างประเทศไทยกับจีน โดยเฉพาะอย่างยิ่งการค้าสำเภา ได้สร้างความมั่งคั่งให้กับกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้นอย่างมาก ผลกำไรจากการค้าสำเภากับจีน ทำให้ไทยมีเงินทุนเพียงพอในการสร้างบ้านเมืองเพื่อทำสงครามต่อต้านการรุกราน ของพม่าและเพื่อการฟื้นฟูศิลปวัฒนธรรมและทำนุบำรุงพระพุทธศาสนา</span></strong></span>\n</div>\n<div>\n<span><br />\n<strong><span style=\"color: #ff0000\">ความสัมพันธ์ระหว่างไทยและจีนในสมัยโบราณนับตั้งแต่สมัยสุโขทัยจนถึงรัตนโกสินทร์ตอนต้นเป็นความสัมพันธ์ใน “ระบบบรรณาการ” </span></strong></span><strong><span style=\"color: #ff0000\">(Tribute) หรือเจิงกุง (ไทยมักอ่านว่าจิ้มก้อง) อันเป็นประเพณีสัมพันธไมตรีของจีนกับประเทศอื่นๆ ในสมัยโบราณ ทั้งนี้เพราะจีนมีความเชื่อมานานตามอิทธิพลทางความคิดของลัทธิขงจื้อที่ว่า จีนเป็นอาณาจักรกลาง (จงกั๊ว หรือ Middle Kingdom) เป็นศูนย์กลางของอำนาจและอารยธรรมโลก เนื่องจากมีความเจริญมาช้านาน ดังนั้น จีนจึงมักมองดินแดนอื่นที่อยู่โดยรอบว่าด้อยกว่า และจะต้องยอมรับสวามิภักดิ์กับจีน โดยการส่งเครื่องบรรณาการแก่จักรพรรดิจีนตามกำหนด ส่วนจีนซึ่งเป็นประเทศที่ใหญ่กว่าและเจริญกว่า จะให้ความช่วยเหลือคุ้มครองประเทศเล็กๆ เหล่านี้ อีกทั้งยังให้ผลประโยชน์อื่นๆ ทั้งทางการเมืองโดยยอมรับฐานะกษัตริย์ และทางเศรษฐกิจโดยอนุญาตให้ค้าขายได้อย่างเสรี</span></strong>\n</div>\n<div>\n<span><br />\n</span><strong><span style=\"color: #ff0000\">อย่างไรก็ดี ผู้นำของไทยมิได้ยอมรับตามคตินิยมของจีน ไทยมิได้หวาดกลัวว่าจีนจะคุกกคาม เนื่องจากจีนอยู่ห่างไกล และไม่เคยคุกคามความมั่นคงของไทยเลย ไทยส่งคณะทูตพร้อมด้วยพระราชสาส์นและของกำนัลหรือเครื่องบรรณาการ ก็เพื่อความสะดวกในการค้าขาย พระราชสาส์นของกษัตริย์ก็เป็นการแสดงสันถวไมตรี มิได้แสดงว่าอ่อนน้อมยอมเป็นเมืองขึ้น ส่วนเครื่องบรรณาการที่ส่งไปด้วย ก็เพื่อแสดงไมตรีจิต และเพื่อเป็นไปตามความต้องการของจีนตามประเพณีจีน</span></strong>\n</div>\n<div>\n<span><br />\n<strong><span style=\"color: #ff0000\">สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ได้ทรงอธิบายเกี่ยวกับสัมพันธไมตรีไทยกับจีน ในสมัยโบราณนี้ว่า</span></strong></span>\n</div>\n<div>\n<span><br />\n<strong><span style=\"color: #ff0000\">“เหตุที่เมืองไทยจะเป็นไมตรีกับกรุงจีนนั้น เกิดแต่ด้วยเรื่องไปมาค้าขายถึงกันทางทะเล เมืองไทยมีสินค้าหลายอย่าง ซึ่งเป็นของต้องการในเมืองจีนแต่โบราณมาเหมือนกับทุกวันนี้ และเมืองจีนก็มีสินค้าหลายอย่างที่ไทยต้องการเหมือนกัน การไปมาค้าขายกับเมืองจีน ไทยได้ผลประโยชน์มาก แต่ประเพณีจีนในครั้งนั้น ถ้าเมืองต่างประเทศไปค้าขายต้องมีเครื่องราชบรรณาการไปถวายพระเจ้ากรุงจีน จึงจะปล่อยให้ค้าขายได้โดยสะดวก เพราะเหตุนี้จึงมีประเพณีที่ถวายบรรณาการแก่พระเจ้ากรุงจีน ไม่แต่ประเทศไทยเรา ถึงประเทศอื่นก็อย่างเดียวกัน ความจริงบุคคลต่างชาติกัน จะมีชาติใดที่รักชอบกันยืดยาวมายิ่งกว่าไทยกับจีนนี้ไม่เห็นมี ด้วยไม่เคยเป็นศัตรูกัน เคยแต่ไปมาค้าขายแลกผลประโยชน์ต่อกันมาได้หลายร้อยปี ความรู้สึกทั้งสองปกติจึงเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันมาแต่โบราณจนตราบเท่าทุก วันนี้...”</span></strong></span>\n</div>\n<div>\n<span><br />\n<strong><span style=\"color: #ff0000\">ดร. สืบแสง พรหมบุญ นักประวัติศาสตร์ไทยที่ได้ศึกษาเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยและ จีนในสมัยโบราณ ได้กล่าวสรุปว่า แม้ว่าความสัมพันธ์ระหว่างประเทศทั้งสองจะมีลักษณะคล้ายระบบบรรณาการก็ตาม แต่ “สัมพันธภาพนั้นเป็นเพียงในนามมากกว่า...จุดมุ่งหมายที่สำคัญของคณะทูตไทย นั้นดูจะเป็นด้านเศรษฐกิจ และบรรดาของกำนัลที่มอบให้จีนนั้น ก็ถือว่ามิได้มีความหมายอื่นใดมากไปกว่าของกำนัลตามมารยาท... ความจริงคณะทูตไทย นับจากปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 เป็นต้นมา เปรียบเหมือนขบวนเรือบรรทุกสินค้าจากไทยไปจีน และบรรทุกสินค้าจากจีนกลับมาไทยมากกว่า”</span></strong></span>\n</div>\n<div>\n<span><br />\n<strong><span style=\"color: #ff0000\">ต่อมาความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับจีนใน “ระบบบรรณาการเพื่อการค้า” นี้ได้ลดความสำคัญและประโยชน์ลง ในตอนปลายรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 ไทยได้ทำการค้ากับตะวันตกมากขึ้นหลังจากการทำสนธิสัญญาเบาริ่งกับอังกฤษ พ.ศ. 2398 ในขณะที่ผลกำไรจากการค้าสำเภาจีนได้ลดลงตามลำดับ ทั้งนี้เพราะความไม่ปลอดภัยในการเดินทาง เนื่องจากจักรพรรดิ์ราชวงศ์ชิงในระยะหลังอ่อนแอ อีกทั้งเผชิญกับปัญหาการต่อต้านจากภายในและการท้าทายคุกคามจากภายนอก ไทยได้ส่งคณะทูตไปจีนเป็นครั้งสุดท้ายในปี พ.ศ. 2396 และหลังจากนั้นพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวก็ทรงยุติการส่งคณะทูตและ การค้าบรรณาการกับจีน เพราะพระองศ์ท่านไม่ประสงค์จะทำให้เกิดความเข้าใจผิดในหมู่ประเทศที่ติดต่อ กับไทย อีกทั้งประโยชน์ทางเศรษฐกิจที่ไทยได้รับไม่คุ้มกับการลงทุนเนื่องจากความไม่ ปลอดภัยในการเดินทาง อาจกล่าวได้ว่า พ.ศ. 2396 เป็นปีสุดท้ายของการส่งบรรณาการเพื่อการค้า นับเป็นการสิ้นสุดความสัมพันธ์ระหว่างไทยและจีนในสมัยโบราณภายใต้ระบบ บรรณาการเพื่อการค้า</span></strong></span>\n</div>\n<div>\n<div class=\"field field-type-text field-field-author\">\n<div class=\"field-items\">\n<div class=\"field-item odd\">\n<div class=\"field-label-inline-first\">\nสร้างโดย: \n</div>\n<p>Sila Chinnawat No.8 M.6/4\n</p></div>\n</div>\n</div>\n<div class=\"field field-type-text field-field-link\">\n<div class=\"field-items\">\n<div class=\"field-item odd\">\n<div class=\"field-label-inline-first\">\nแหล่งอ้างอิง: \n</div>\n<p><a href=\"http://www.thaizhong.org/thaizhong/index.php/relathaichina-m/54-special-art1.html\" title=\"http://www.thaizhong.org/thaizhong/index.php/relathaichina-m/54-special-art1.html\">http://www.thaizhong.org/thaizhong/index.php/relathaichina-m/54-special-...</a>\n</p></div>\n</div>\n</div>\n</div>\n', created = 1729505883, expire = 1729592283, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:f8d79d955b079f723db039c81b3e979d' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ

ประเทศไทย หรือที่รู้จักกันในสมัยโบราณว่าสยาม และประเทศจีน เป็นประเทศเพื่อนบ้านใกล้เคียงมาช้านาน ชาวไทยและชาวจีนได้ไปมาหาสู่และติดต่อสัมพันธ์กันทั้งทางวัฒนธรรม เศรษฐกิจและการเมืองมาตั้งแต่โบราณ แม้ว่าประเทศจีนเป็นประเทศที่ใหญ่กว่าและมีพลเมืองมากกว่าประเทศไทยก็ตาม แต่ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศทั้งสองส่วนมากจะมีลักษณะที่เอื้อประโยชน์ต่อ กันฉันท์ญาติมิตร ตลอดระยะเวลาอันยาวนานของประวัติศาสตร์ ประเทศไทยกับประเทศจีนได้มีความสัมพันธ์อันใกล้ชิด บางขณะอาจไปมาหาสู่กันบ่อยครั้ง ในบางคราวอาจห่างเหินไปบ้าง อันเนื่องมาจากปัญหาภายในของแต่ละประเทศและสถานการณ์ระหว่างประเทศ

เมื่อพรรคคอมมิวนิสต์จีนภายใต้การนำของเหมาเจ๋อตุงยึด อำนาจแผ่นดินใหญ่จีน และเปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นคอมมิวนิสต์ โดยสถาปนาประเทศเป็น “สาธารณรัฐประชาชนจีน” ในวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2492 ไทยมิได้รับรองรัฐบาลสาธารณรัฐประชาชนจีน จนกระทั้งวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2518 เมื่อ ฯพณฯ ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช นายกรัฐมนตรีของไทยในขณะนั้น เดินทางไปเยือนกรุงปักกิ่ง และลงนามในแถลงการณ์ความสัมพันธ์ทางการทูตอย่างเป็นทางการกับโจรเอินไหล นายกรัฐมนตรีสาธารณรัฐประชาชนจีน นับตั้งแต่นั้นมาจนถึงปัจจุบัน ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับสาธารณรัฐประชาชนจีนได้ทวีความใกล้ชิดยิ่ง ขึ้น โดยมีการเดินทางไปมาหาสู่กันทั้งในระดับประชาชนทั่วไปและระดับผู้นำของทั้ง สองประเทศ อีกทั้งความสัมพันธ์ก็ขยายครอบคลุมไปทุก ๆ ด้าน ทั้งการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมวัฒนธรรม

ในการศึกษาวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับสาธารณรัฐประชาชน จีน ในรอบ 30 ปีที่ผ่านมา และแนวโน้มในอนาคต จำเป็นต้องเข้าใจความเป็นมาหรือประวัติภูมิหลังของความสัมพันธ์ไทยและจีนใน อดีตด้วย
ความสัมพันธ์ระหว่างไทยและจีนในอดีตก่อนการสถาปนาความสัมพันธ์ทางการ ทูตอย่างเป็นทางการใน พ.ศ. 2518 นั้น ได้พัฒนาเป็น 3 ระยะดังนี้ คือ
1.  ความสัมพันธ์ในสมัยโบราณ เป็นความสัมพันธ์ระหว่างจีนราชวงศ์ต่างๆ กับไทย ตั้งแต่สมัยที่อาณาจักรโบราณตั้งเมืองหลวงอยู่ที่สุโขทัยใน พ.ศ. 1825 ต่อมาย้ายเมืองหลวงมาที่อยุธยา ธนบุรี และกรุงเทพฯ จนถึง พ.ศ. 2396 ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวแห่งราชวงศ์จักรีที่กรุงเทพฯ
2.  ความสัมพันธ์สมัยใหม่ ก่อนสงครามโลกครั้งที่ 2 เป็นความสัมพันธ์ระหว่างจีนกับไทยที่เผชิญกับจักรวรรดินิยมตะวันตกระหว่าง พ.ศ. 2400 – 2488 ซึ่งเป็นปีสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 2

3. ความสัมพันธ์หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เป็นความสัมพันธ์ระหว่างจีนกับไทยตั้งแต่ พ.ศ. 2489 จนถึง พ.ศ. 2517 ก่อนการสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตอย่างเป็นทางการใน พ.ศ. 2518

1.ความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับจีนสมัยโบราณ : การทูตบรรณาการ

ประเทศไทยและจีน แม้ว่าจะอยู่ไม่ไกลกัน แต่การติดต่อถึงการทางบกในสมัยโบราณค่อนข้างลำบาก เนื่องจากเส้นทางและภูมิประเทศค่อนข้างทุรกันดาร ดังนั้น การติดต่อระหว่างประเทศทั้งสองจึงมักใช้ทางทะเล ซึ่งนำไปสู่ “การค้าสำเภา”
(Junk Trade) ระหว่างกัน เดิมจีนมีศูนย์กลางอำนาจที่ลุ่มแม่น้ำฮวงโฮ จีนสมัยราชวงศ์ฮั่นตะวันตก (พ.ศ. 337 – 568) ได้ส่งทูตมาติดต่อกับชุมชนโบราณหลายชุมชนในเอเชียอาคเนย์ รวมทั้งบริเวณลุ่มแม่น้ำท่าจีน แม่กลอง และเจ้าพระยา เช่น ตว้อหลอพอตี้ (ทวาราวดี) หลอหู (อาจหมายถึงละโว้หรืออู่ทอง) เสียน (อาจหมายถึงสุพรรณภูมิหรือสุโขทัย) การติดต่อระหว่างไทยกับจีนในสมัยโบราณนั้นมีมานานแล้ว แต่เท่าที่มีหลักฐานทางประวัติศาสตร์ ความสัมพันธ์สมัยโบราณอย่างเป็นทางการได้เริ่มขึ้นในสมัยสุโขทัยของไทย ซึ่งเป็นสมัยเดียวกันกับที่ราชวงศ์หยวนของเผ่ามองโกลในจีน การติดต่อระหว่างจีนกับไทยได้มีขึ้นโดยทางฝ่ายจีนเป็นผู้ริเริ่มก่อน พงศาวดารจีนราชวงศ์หยวนได้บันทึกไว้ว่า ประมาณปี พ.ศ. 1825 จักรพรรดิกุบไลข่านแห่งราชวงศ์หยวนได้ส่งทูตเข้ามาติดต่อกับอาณาจักร “เสียน” ในลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา

“ปีที่ 19 ในรัชกาลจื้อหยวน เดือนหก วันจีไฮ่ มีรับสั่งให้เหอจื่อจื้อซึ่งเป็นนายพล เป็นทูตไปยังประเทศสยาม (เสียน)” แต่ปรากฏว่าคณะทูตของจีนชุดนี้มาไม่ถึงสุโขทัย เพราะถูกพวกจามแห่งอาณาจักรจามปาจับตัวในระหว่างเดินทางและประหารชีวิตหมด”

ต่อมา พ่อขุนรามคำแหงแห่งอาณาจักรสุโขทัยได้ส่งคณะทูตไปยังจีนครั้งแรก ใน พ.ศ. 1835 ดร. สืบแสง พรหมบุญ นักประวัติศาสตร์ ได้สันนิษฐานว่า การส่งทูตไปยังจีนครั้งนั้นมีเป้าหมายทางการเมือง เป็นการดำเนินวิเทโศบายทางการทูตของอาณาจักรสุโขทัยเพื่อป้องกันมิให้ จักรพรรดิกุบไลข่านสนับสนุนอาณาจักรสุพรรณภูมิ ทั้งนี้เพราะอาณาจักรสุพรรณภูมิได้เคยส่งเครื่องบรรณการไปยังจีน ใน พ.ศ. 1834 เพื่อขอความสนับสนุนทางการเมือง

เอกสารทางฝ่ายจีนได้ระบุว่า อาณาจักรสุโขทัยได้ส่งคณะทูตพร้อมด้วยของพื้นเมืองถวายเป็นกำนัลแก่ จักรพรรดิราชวงศ์หยวนในจีน รวม 14 ครั้ง ระหว่าง พ.ศ. 1835 จนถึง พ.ศ. 1865 ส่วนจีนสมัยราชวงศ์หยวนได้ส่งทูตมายังสุโขทัย 4 ครั้ง แต่มาถึงสุโขทัยเพียง 3 ครั้ง โดยมีเป้าหมายที่จะแผ่อำนาจของจักรพรรดิกุบไลข่านและให้สุโขทัยอ่อนน้อม การส่งทูตติดต่อระหว่างจีนกับไทยในสมัยสุโขทัยนี้ได้ส่งผลให้การค้าระหว่าง อาณาจักรทั้งสองขยายตัว อีกทั้งยังมีการถ่ายทอดความรู้ของจีนมายังไทย โดยช่างจีนได้เข้ามาทำเครื่องปั้นดินเผาจนเป็นที่รู้จักกันในนาม “เครื่องสังคโลก” ต่อมาเครื่องสังคโลกได้กลายเป็นสินค้าส่งออกที่สำคัญของอาณาจักรสุโขทัย

ต่อมาสุโขทัยเสื่อมอำนาจลง อยุธยาซึ่งอยู่ทางตอนใต้ภายใต้การนำของราชวงศ์อู่ทองของสุพรรณภูมิเข้มแข็ง ขึ้น และขึ้นมาเป็นใหญ่ในลุ่มน้ำเจ้าพระยา ส่วนในแผ่นดินจีน ชาวจีนได้โค่นล้มราชวงศ์หยวนของเผ่ามองโกลและสถาปนาราชวงศ์หมิงขึ้น พงศาวดารของจีนเรียกไทยว่า “เสียนหลอหู” และต่อมาย่อเป็น “เสียนโล้” ชื่อนี้ปรากฏในพงศาวดารราชวงศ์หมิงเป็นครั้งแรกใน พ.ศ. 1913 ว่า

“ปีที่ 3 ในรัชกาลหงหวู่ เดือนที่ 8 มีรับสั่งให้ลู่จงจุ้นกับพวกอัญเชิญพระบรมราชโองการ (ประกาศการขึ้นครองราชย์ของจักรพรรดิ) ไปยังประเทศสยาม” (เสียนโล้)

พระบรมราชาธิราชที่ 1 กษัตริย์ของกรุงศรีอยุธยา ได้โปรดให้ส่งของพื้นเมืองพร้อมทั้งเชิญพระราชสาส์นไปถวายจักรพรรดิจีน ซึ่งพงศาวดารราชวงศ์หมิง เล่มที่ 374 ได้บันทึกไว้ว่า

“ปีที่ 4 ในรัชกาลหงหวู่ เดือน 9 ซันเลียเจาพีเอี๋ย (สมเด็จเจ้าพระยา คงหมายถึงพระบรมราชาธิราชที่ 1) กษัตริย์ของประเทศสยามอัญเชิญพระราชสาส์น พร้อมด้วยลู่จงจุ้นและพวกมาถวายเครื่องราชบรรณาการ ซึ่งประกอบด้วย ช้างบ้าน 6 เชือก เต่าหกขา และของพื้นเมืองอื่นๆ (จักรพรรดิ) ทรงมีพระบรมราชโองการให้ประทานแพรกิมและแพรดอกขาวอย่างดีแก่กษัตริย์ (สยาม)”

หลังจากรัชกาลพระบรมราชธิราชที่ 1 แล้ว กรุงศรีอยุธยาได้ส่งคณะทูตไปเจริญสัมพันธไมตรีเพื่อค้าขายกับจีนประมาณ 130 ครั้ง ในระยะเวลาเกือบ 400 ปี ระหว่าง พ.ศ. 1914 ถึง พ.ศ. 2309 ส่วนจีนในสมัยราชวงศ์หมิงและราชวงศ์ชิง ได้ส่งทูตมายังกรุงศรีอยุธยาประมาณ 17 ครั้งด้วยกัน ในสมัยราชวงศ์หมิง จักรพรรดิหย่งเล่อได้ส่งกองเรือนำโดยนายพลเรือเจิ้งเหอ (นามเดิมหม่าซานเปา หรือที่คนไทยเรียก ซำเปากง) นักเดินเรือที่ยิ่งใหญ่ของจีน ให้เดินทางมายังเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และแวะที่กรุงศรีอยุธยาใน พ.ศ. 1951 สัมพันธภาพระหว่างจีนกับไทยในสมัยอยุธยานี้ได้ดำเนินไปอย่างราบรื่น มีชาวจีนอพยพมาตั้งถิ่นฐานอยู่ในกรุงศรีอยุธยามากขึ้น และรับราชการอยู่กับฝ่ายไทย ยิ่งไปกว่านั้น การค้าสำเภาระหว่างไทยกับจีนในสมัยอยุธยานี้ได้ทำให้กรุงศรีอยุธยามั่งคั่ง และกลายเป็นศูนย์กลางของการค้าระหว่างประเทศทางตะวันตกคือยุโรป กับประเทศทางตะวันออกคือจีนอีกด้วย

เมื่ออยุธยาล่มสลายด้วยกำลังทหารของพม่าใน พ.ศ. 2310 ผู้นำไทยย้ายเมืองหลวงมาอยู่ที่กรุงธนบุรี และต่อมาที่กรุงรัตนโกสินทร์หรือกรุงเทพฯ ในสมัยธนบุรีและรัตนโกสินทร์ตอนต้น ประเทศไทยและประเทศจีนก็ยังคงมีสัมพันธไมตรีอันดีต่อกัน ไทยยังคงส่งทูตเชิญพระราชสาส์นและเครื่องราชบรรณาการไปถวายแก่จักรพรรดิ จีนอย่างสม่ำเสมอ เพื่อขอความสะดวกในการค้าสำเภา ในสมัยธนบุรีและตลอด 4 รัชกาลแรกของกรุงรัตนโกสินทร์ ไทยได้ส่งทูตไปจีนรวม 56 ครั้ง จนถึง พ.ศ. 2396 โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วง 3 รัชกาลแรก ไทยส่งคณะทูตไปจีนแทบทุกปี การติดต่อระหว่างประเทศไทยกับจีน โดยเฉพาะอย่างยิ่งการค้าสำเภา ได้สร้างความมั่งคั่งให้กับกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้นอย่างมาก ผลกำไรจากการค้าสำเภากับจีน ทำให้ไทยมีเงินทุนเพียงพอในการสร้างบ้านเมืองเพื่อทำสงครามต่อต้านการรุกราน ของพม่าและเพื่อการฟื้นฟูศิลปวัฒนธรรมและทำนุบำรุงพระพุทธศาสนา

ความสัมพันธ์ระหว่างไทยและจีนในสมัยโบราณนับตั้งแต่สมัยสุโขทัยจนถึงรัตนโกสินทร์ตอนต้นเป็นความสัมพันธ์ใน “ระบบบรรณาการ”
(Tribute) หรือเจิงกุง (ไทยมักอ่านว่าจิ้มก้อง) อันเป็นประเพณีสัมพันธไมตรีของจีนกับประเทศอื่นๆ ในสมัยโบราณ ทั้งนี้เพราะจีนมีความเชื่อมานานตามอิทธิพลทางความคิดของลัทธิขงจื้อที่ว่า จีนเป็นอาณาจักรกลาง (จงกั๊ว หรือ Middle Kingdom) เป็นศูนย์กลางของอำนาจและอารยธรรมโลก เนื่องจากมีความเจริญมาช้านาน ดังนั้น จีนจึงมักมองดินแดนอื่นที่อยู่โดยรอบว่าด้อยกว่า และจะต้องยอมรับสวามิภักดิ์กับจีน โดยการส่งเครื่องบรรณาการแก่จักรพรรดิจีนตามกำหนด ส่วนจีนซึ่งเป็นประเทศที่ใหญ่กว่าและเจริญกว่า จะให้ความช่วยเหลือคุ้มครองประเทศเล็กๆ เหล่านี้ อีกทั้งยังให้ผลประโยชน์อื่นๆ ทั้งทางการเมืองโดยยอมรับฐานะกษัตริย์ และทางเศรษฐกิจโดยอนุญาตให้ค้าขายได้อย่างเสรี

อย่างไรก็ดี ผู้นำของไทยมิได้ยอมรับตามคตินิยมของจีน ไทยมิได้หวาดกลัวว่าจีนจะคุกกคาม เนื่องจากจีนอยู่ห่างไกล และไม่เคยคุกคามความมั่นคงของไทยเลย ไทยส่งคณะทูตพร้อมด้วยพระราชสาส์นและของกำนัลหรือเครื่องบรรณาการ ก็เพื่อความสะดวกในการค้าขาย พระราชสาส์นของกษัตริย์ก็เป็นการแสดงสันถวไมตรี มิได้แสดงว่าอ่อนน้อมยอมเป็นเมืองขึ้น ส่วนเครื่องบรรณาการที่ส่งไปด้วย ก็เพื่อแสดงไมตรีจิต และเพื่อเป็นไปตามความต้องการของจีนตามประเพณีจีน

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ได้ทรงอธิบายเกี่ยวกับสัมพันธไมตรีไทยกับจีน ในสมัยโบราณนี้ว่า

“เหตุที่เมืองไทยจะเป็นไมตรีกับกรุงจีนนั้น เกิดแต่ด้วยเรื่องไปมาค้าขายถึงกันทางทะเล เมืองไทยมีสินค้าหลายอย่าง ซึ่งเป็นของต้องการในเมืองจีนแต่โบราณมาเหมือนกับทุกวันนี้ และเมืองจีนก็มีสินค้าหลายอย่างที่ไทยต้องการเหมือนกัน การไปมาค้าขายกับเมืองจีน ไทยได้ผลประโยชน์มาก แต่ประเพณีจีนในครั้งนั้น ถ้าเมืองต่างประเทศไปค้าขายต้องมีเครื่องราชบรรณาการไปถวายพระเจ้ากรุงจีน จึงจะปล่อยให้ค้าขายได้โดยสะดวก เพราะเหตุนี้จึงมีประเพณีที่ถวายบรรณาการแก่พระเจ้ากรุงจีน ไม่แต่ประเทศไทยเรา ถึงประเทศอื่นก็อย่างเดียวกัน ความจริงบุคคลต่างชาติกัน จะมีชาติใดที่รักชอบกันยืดยาวมายิ่งกว่าไทยกับจีนนี้ไม่เห็นมี ด้วยไม่เคยเป็นศัตรูกัน เคยแต่ไปมาค้าขายแลกผลประโยชน์ต่อกันมาได้หลายร้อยปี ความรู้สึกทั้งสองปกติจึงเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันมาแต่โบราณจนตราบเท่าทุก วันนี้...”

ดร. สืบแสง พรหมบุญ นักประวัติศาสตร์ไทยที่ได้ศึกษาเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยและ จีนในสมัยโบราณ ได้กล่าวสรุปว่า แม้ว่าความสัมพันธ์ระหว่างประเทศทั้งสองจะมีลักษณะคล้ายระบบบรรณาการก็ตาม แต่ “สัมพันธภาพนั้นเป็นเพียงในนามมากกว่า...จุดมุ่งหมายที่สำคัญของคณะทูตไทย นั้นดูจะเป็นด้านเศรษฐกิจ และบรรดาของกำนัลที่มอบให้จีนนั้น ก็ถือว่ามิได้มีความหมายอื่นใดมากไปกว่าของกำนัลตามมารยาท... ความจริงคณะทูตไทย นับจากปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 เป็นต้นมา เปรียบเหมือนขบวนเรือบรรทุกสินค้าจากไทยไปจีน และบรรทุกสินค้าจากจีนกลับมาไทยมากกว่า”

ต่อมาความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับจีนใน “ระบบบรรณาการเพื่อการค้า” นี้ได้ลดความสำคัญและประโยชน์ลง ในตอนปลายรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 ไทยได้ทำการค้ากับตะวันตกมากขึ้นหลังจากการทำสนธิสัญญาเบาริ่งกับอังกฤษ พ.ศ. 2398 ในขณะที่ผลกำไรจากการค้าสำเภาจีนได้ลดลงตามลำดับ ทั้งนี้เพราะความไม่ปลอดภัยในการเดินทาง เนื่องจากจักรพรรดิ์ราชวงศ์ชิงในระยะหลังอ่อนแอ อีกทั้งเผชิญกับปัญหาการต่อต้านจากภายในและการท้าทายคุกคามจากภายนอก ไทยได้ส่งคณะทูตไปจีนเป็นครั้งสุดท้ายในปี พ.ศ. 2396 และหลังจากนั้นพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวก็ทรงยุติการส่งคณะทูตและ การค้าบรรณาการกับจีน เพราะพระองศ์ท่านไม่ประสงค์จะทำให้เกิดความเข้าใจผิดในหมู่ประเทศที่ติดต่อ กับไทย อีกทั้งประโยชน์ทางเศรษฐกิจที่ไทยได้รับไม่คุ้มกับการลงทุนเนื่องจากความไม่ ปลอดภัยในการเดินทาง อาจกล่าวได้ว่า พ.ศ. 2396 เป็นปีสุดท้ายของการส่งบรรณาการเพื่อการค้า นับเป็นการสิ้นสุดความสัมพันธ์ระหว่างไทยและจีนในสมัยโบราณภายใต้ระบบ บรรณาการเพื่อการค้า
สร้างโดย: 

Sila Chinnawat No.8 M.6/4

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 346 คน กำลังออนไลน์