• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:628bd80ba484ba8d4fb9f063b8493d2e' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><b><span style=\"font-size: 26pt; color: red; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">รูปแบบการปกครองสมัยอยุธยา<o:p></o:p></span></b> </p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<table border=\"0\" width=\"596\" cellPadding=\"0\" cellSpacing=\"0\" style=\"background: white; margin: auto auto auto 2.5pt; width: 447pt\" class=\"MsoNormalTable\">\n<tbody>\n<tr>\n<td width=\"596\" style=\"width: 447pt; background-color: transparent; border: #ece9d8; padding: 0cm\"><span style=\"font-size: 18pt; text-transform: uppercase; color: #ff9900; font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span>    </span>รูปแบบการปกครองสมัยอยุธยานั้นแบ่งได้ 3 ระยะตามลักษณะการปกครอง คือ การปกครองสมัยอยุธยาตอนต้น<span>  </span>อยุธยาตอนกลาง<span>  </span>อยุธยาตอนปลาย</span><span style=\"font-size: 18pt; text-transform: uppercase; color: #ff9900; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'\"><o:p></o:p></span><b><span style=\"font-size: 20pt; text-transform: uppercase; color: blue; font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'\" lang=\"TH\">การปกครองสมัยอยุธยาตอนต้น</span></b><span style=\"font-size: 20pt; text-transform: uppercase; color: blue; font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span>   </span>มีลักษณะดังนี้</span><span style=\"font-size: 20pt; text-transform: uppercase; color: black; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 18pt; text-transform: uppercase; color: #984806; font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'\" lang=\"TH\">การปกครองระยะนี้เริ่มเมื่อ (พ.ศ.1893-1991 )สมัยพระเจ้าอู่ทองถึงสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2  แบ่งการปกครองได้ 2 ส่วน</span><span style=\"font-size: 18pt; text-transform: uppercase; color: #984806; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'\"><o:p></o:p></span><b><span style=\"font-size: 18pt; text-transform: uppercase; color: red; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">ส่วนที่ </span></b><b><span style=\"font-size: 18pt; text-transform: uppercase; color: red; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\">1)</span></b><b><span style=\"font-size: 18pt; text-transform: uppercase; color: red; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'\">   </span></b><b><span style=\"font-size: 18pt; text-transform: uppercase; color: red; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">การปกครองส่วนกลาง</span></b><span style=\"font-size: 18pt; text-transform: uppercase; color: blue; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'\"> </span><span style=\"font-size: 18pt; text-transform: uppercase; color: #984806; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">คือการปกครองในเขตราชธานี </span><span style=\"font-size: 18pt; text-transform: uppercase; color: #984806; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\">  </span><span style=\"font-size: 18pt; text-transform: uppercase; color: #984806; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">และบริเวณโดยรอบราชธานีโดยได้จัดรูปแบบการปกครองแบบเขมร จัดหน่วยการปกครองเป็น 4 หน่วย แต่ละหน่วยมีเสนาบดีบริหารงาน ได้แก่<span>  </span>กรมเวียง (ดูแลในเขตเมืองหลวง)<span>  </span>กรมวัง(ดูแลพระราชสำนักและพิจารณาคดี)<span>  </span>กรมคลัง(ดูแลพระราชทรัพย์) กรมนา<span>  </span>(จัดเก็บภาษีและจัดหาเสบียงสำหรับกองทัพ)</span><span style=\"font-size: 18pt; text-transform: uppercase; color: #984806; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'\"><o:p></o:p></span><b><span style=\"font-size: 18pt; text-transform: uppercase; color: red; font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'\" lang=\"TH\">ส่วนที่ 2)</span></b><b><span style=\"font-size: 18pt; text-transform: uppercase; color: red; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\">  </span></b><b><span style=\"font-size: 18pt; text-transform: uppercase; color: red; font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'\" lang=\"TH\"> การปกครองส่วนหัวเมือง</span></b><span style=\"font-size: 18pt; text-transform: uppercase; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span>  </span></span><span style=\"font-size: 18pt; text-transform: uppercase; color: black; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\"> </span><span style=\"font-size: 18pt; text-transform: uppercase; color: #984806; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">แบ่งเป็น 4 ระดับ</span><span style=\"font-size: 18pt; text-transform: uppercase; color: #984806; font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span style=\"font-size: 18pt; text-transform: uppercase; color: #984806; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">คือ</span><span style=\"font-size: 18pt; text-transform: uppercase; color: #984806; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'\"><o:p></o:p></span><b><span style=\"font-size: 18pt; text-transform: uppercase; color: #00b050; font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'\" lang=\"TH\">1. เมืองลูกหลวง</span></b><span style=\"font-size: 18pt; text-transform: uppercase; color: blue; font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span>  </span></span><span style=\"font-size: 18pt; text-transform: uppercase; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span> </span></span><span style=\"font-size: 18pt; text-transform: uppercase; color: #984806; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">หรือเมืองหน้าด่าน<span>  </span></span><span style=\"font-size: 18pt; text-transform: uppercase; color: #984806; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\">     </span><span style=\"font-size: 18pt; text-transform: uppercase; color: #984806; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">ตั้งอยู่รอบราชธานี 4<span>  </span>ทิศ เช่น ลพบุรี<span>  </span>นครนายก พระประแดง </span><span style=\"font-size: 18pt; text-transform: uppercase; color: #984806; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\"> </span><span style=\"font-size: 18pt; text-transform: uppercase; color: #984806; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">สุพรรณบุรี ให้โอรสหรือพระราชวงศ์ชั้นสูงไปปกครอง<b><br />\n </b></span><b><span style=\"font-size: 18pt; text-transform: uppercase; color: #00b050; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\">         </span></b><b><span style=\"font-size: 18pt; text-transform: uppercase; color: #00b050; font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'\" lang=\"TH\">2. หัวเมืองชั้นใน</span></b><span style=\"font-size: 18pt; text-transform: uppercase; color: blue; font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span style=\"font-size: 18pt; text-transform: uppercase; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span> </span></span><span style=\"font-size: 18pt; text-transform: uppercase; color: #984806; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">อยู่ถัดจากเมืองลูกหลวงออกไป ได้แก่ พรหมบุรี<span>  </span>สิงห์บุรี ปราจีนบุรี<span>  </span>ฉะเชิงเทรา ชลบุรี<span>  </span>ตะนาวศรี<span>  </span>ไชยา นครศรีธรรมราช ให้ขุนนางที่กษัตริย์แต่งตั้งไปปกครอง</span><b><span style=\"font-size: 18pt; text-transform: uppercase; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><br />\n </span></b><b><span style=\"font-size: 18pt; text-transform: uppercase; color: #00b050; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\">          </span></b><b><span style=\"font-size: 18pt; text-transform: uppercase; color: #00b050; font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'\" lang=\"TH\">3.หัวเมืองชั้นนอก</span></b><b><span style=\"font-size: 18pt; text-transform: uppercase; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"> </span></b><span style=\"font-size: 18pt; text-transform: uppercase; color: black; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\">  </span><span style=\"font-size: 18pt; text-transform: uppercase; color: #984806; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">หรือหัวเมืองพระยามหานครคือหัวเมืองขนาดใหญ่ห่างจากราชธานีผู้ปกครองสืบเชื้อสายมาจากเจ้าเมืองเดิมหรือตัวแทนที่ราชธานีส่งมาปกครอง<b><br />\n </b></span><b><span style=\"font-size: 18pt; text-transform: uppercase; color: blue; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\">          </span></b><b><span style=\"font-size: 18pt; text-transform: uppercase; color: #00b050; font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'\" lang=\"TH\">4. เมืองประเทศราช</span></b><span style=\"font-size: 18pt; text-transform: uppercase; color: black; font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span>  </span></span><span style=\"font-size: 18pt; text-transform: uppercase; color: black; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\"> </span><span style=\"font-size: 18pt; text-transform: uppercase; color: #984806; font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'\" lang=\"TH\">เป็นเมืองที่ยังได้ปกครองตนเองเพราะอยู่ไกลที่สุด </span><span style=\"font-size: 18pt; text-transform: uppercase; color: #984806; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\">  </span><span style=\"font-size: 18pt; text-transform: uppercase; color: #984806; font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'\" lang=\"TH\">มีความเป็นอิสระเหมือนเดิมแต่ต้องส่งเครื่องราชบรรณาการตามกำหนดส่งกองทัพมาช่วยเวลาสงคราม เช่นสุโขทัย เขมร เป็นต้น</span><span style=\"font-size: 18pt; text-transform: uppercase; color: #984806; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'\"><o:p></o:p></span> \n<div align=\"center\">\n<table border=\"0\" cellPadding=\"0\" cellSpacing=\"0\" class=\"MsoNormalTable\">\n<tbody>\n<tr>\n<td width=\"290\" style=\"width: 217.5pt; background-color: transparent; border: #ece9d8; padding: 0cm\"></td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n</div>\n<p> <b><span style=\"font-size: 20pt; text-transform: uppercase; color: blue; font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'\" lang=\"TH\">การปกครองสมัยอยุธยาตอนกลาง</span></b><span style=\"font-size: 20pt; text-transform: uppercase; color: blue; font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span>  </span>( 1991-2231) มีลักษณะดังนี้</span><span style=\"font-size: 20pt; text-transform: uppercase; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><br />\n </span><span style=\"font-size: 18pt; text-transform: uppercase; color: black; font-family: \'MS Sans Serif\',\'serif\'\">                 </span><span style=\"font-size: 18pt; text-transform: uppercase; color: #984806; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">ช่วงเวลาทางการเมืองสมัยอยุธยาตอนกลางได้มีการปฏิรูปเปลี่ยนแปลงการปกครองให้เหมาะสมกับสภาพการณ์ ทางการเมือง โดยมีสถาบันกษัตริย์เป็นหลักในการปกครองแบ่งได้ 2 ช่วง</span><span style=\"font-size: 18pt; text-transform: uppercase; color: #984806; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'\"><o:p></o:p></span><b><span style=\"font-size: 18pt; text-transform: uppercase; color: #00b050; font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'\" lang=\"TH\">ช่วงที่ 1</span></b><span style=\"font-size: 18pt; text-transform: uppercase; color: red; font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span style=\"font-size: 18pt; text-transform: uppercase; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span> </span></span><span style=\"font-size: 18pt; text-transform: uppercase; color: #984806; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">เป็นช่วงสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ<span>   </span>ทรงปรับปรุงการปกครองใหม่เนื่องจากปัจจัยหลายๆอย่างเช่น เศรษฐกิจ ควบคุมหัวเมืองได้ไม่ทั่วถึง<span>  </span></span><span style=\"font-size: 18pt; text-transform: uppercase; color: #984806; font-family: \'MS Sans Serif\',\'serif\'\">  </span><span style=\"font-size: 18pt; text-transform: uppercase; color: #984806; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">และเมืองลูกหลวงหรือเมืองหน้าด่านมีอำนาจมากขึ้น และมักแย่งชิงบัลลังก์อยู่เนืองๆ </span><span style=\"font-size: 18pt; text-transform: uppercase; color: #984806; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">ประกอบกับอาณาเขตที่กว้างขวางกว่าเดิม</span><span style=\"font-size: 18pt; text-transform: uppercase; color: #984806; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">พระองค์ได้จัดการแยก ทหารและ </span><span style=\"font-size: 18pt; text-transform: uppercase; color: #984806; font-family: \'MS Sans Serif\',\'serif\'\">  </span><span style=\"font-size: 18pt; text-transform: uppercase; color: #984806; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">พลเรือนออกจากกัน</span><span style=\"font-size: 18pt; text-transform: uppercase; color: #984806; font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span style=\"font-size: 18pt; text-transform: uppercase; color: #984806; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">และจัดการรวมอำนาจเข้าสู่ศูนย์กลาง ทำให้ราชธานีมีอำนาจมากขึ้น มีการควบคุมเข้มงวดมากขึ้น</span><span style=\"font-size: 18pt; text-transform: uppercase; color: #984806; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><span>  </span><span lang=\"TH\">มีการปฏิรูปการปกครองแยกเป็น 2 ส่วน คือส่วนกลางและหัวเมือง</span></span><span style=\"font-size: 18pt; text-transform: uppercase; color: #984806; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><br />\n </span><span style=\"font-size: 18pt; text-transform: uppercase; color: #984806; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\">        </span><span style=\"font-size: 18pt; text-transform: uppercase; color: #984806; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถแยกการปกครองส่วนกลางเป็น<span>  </span>2<span>  </span>ฝ่าย คือ ทหารและพลเรือน </span><span style=\"font-size: 18pt; text-transform: uppercase; color: #984806; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\">   </span><span style=\"font-size: 18pt; text-transform: uppercase; color: #984806; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">ทหาร มี สมุหกลาโหมดูแล<span>  </span>ส่วนพลเรือนมี<span>  </span>สมุหนายก<span>  </span>ดูแล </span><span style=\"font-size: 18pt; text-transform: uppercase; color: #984806; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'\"><span>     </span><br />\n </span><span style=\"font-size: 18pt; text-transform: uppercase; color: #984806; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">สมุหนายก มีอัครมหาเสนาบดีตำแหน่ง สมุหนายก ดูแล ข้าราชการฝ่ายพลเรือนทั้งในราช<span>    </span><br />\n สมุหกลาโหม มีอัครมหาเสนาบดีตำแหน่ง</span><span style=\"font-size: 18pt; text-transform: uppercase; color: #984806; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 18pt; text-transform: uppercase; color: #984806; font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'\" lang=\"TH\">สมุหพระกลาโหมเป็นผู้ดูแลฝ่ายทหาร ทั้งในราชานีและหัวเมือง<span>  </span></span><span style=\"font-size: 18pt; text-transform: uppercase; color: #984806; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\">  </span><span style=\"font-size: 18pt; text-transform: uppercase; color: #984806; font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'\" lang=\"TH\">และยังได้ปรับปรุงจตุสดมภ์ภายใต้การดูแลของ<span>  </span>สมุหนายก<span>  </span>อัครมหาเสนาบดีผู้ดูแลปรับเปลี่ยนชื่อเป็น ออกญาโกษาธิบดี</span><span style=\"font-size: 18pt; text-transform: uppercase; color: #984806; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'\"><o:p></o:p></span><b><span style=\"font-size: 20pt; text-transform: uppercase; color: blue; font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'\" lang=\"TH\">การปฏิรูปส่วนหัวเมือง  แยกเป็น 3 ส่วน</span></b><span style=\"font-size: 20pt; text-transform: uppercase; color: blue; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'\"><o:p></o:p></span><b><span style=\"font-size: 18pt; text-transform: uppercase; color: red; font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'\" lang=\"TH\">หัวเมืองชั้นใน</span></b><span style=\"font-size: 18pt; text-transform: uppercase; color: blue; font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span style=\"font-size: 18pt; text-transform: uppercase; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span>  </span></span><span style=\"font-size: 18pt; text-transform: uppercase; color: #984806; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">ยกเลิกหัวเมืองลูกหลวง จัดตั้งเป็นเมืองชั้นใน<span>  </span>ทรงขุนนางไปครองเรียก<span>  </span><b>ผู้รั้ง <br />\n </b></span><b><span style=\"font-size: 18pt; text-transform: uppercase; color: red; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\">        </span></b><b><span style=\"font-size: 18pt; text-transform: uppercase; color: red; font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'\" lang=\"TH\">หัวเมืองชั้นนอก</span></b><span style=\"font-size: 18pt; text-transform: uppercase; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span style=\"font-size: 18pt; text-transform: uppercase; color: #984806; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">คือหัวเมืองประเทศราชเดิม ถูกผนวกเป็นส่วนหนึ่งของอยุธยาเรียกว่า </span><span style=\"font-size: 18pt; text-transform: uppercase; color: #984806; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\"> </span><span style=\"font-size: 18pt; text-transform: uppercase; color: #984806; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">เมืองพระยามหานคร<span>  </span>จัดการปกครองใกล้ชิด</span><span style=\"font-size: 18pt; text-transform: uppercase; color: #984806; font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span style=\"font-size: 18pt; text-transform: uppercase; color: #984806; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">เช่น พิษณุโลก นครศรีธรรมราช เป็นเมืองชั้นเอก โท และตรี </span><b><span style=\"font-size: 18pt; text-transform: uppercase; color: red; font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><br />\n </span></b><b><span style=\"font-size: 18pt; text-transform: uppercase; color: red; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\">        </span></b><b><span style=\"font-size: 18pt; text-transform: uppercase; color: red; font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'\" lang=\"TH\">เมืองประเทศราช</span></b><span style=\"font-size: 18pt; text-transform: uppercase; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span>  </span></span><span style=\"font-size: 18pt; text-transform: uppercase; color: #984806; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">คือเมืองชาวต่างชาติที่ยอมอยู่ใต้อำนาจ เช่น ตะนาวศรี ทะวาย เขมร ให้เจ้านายพื้นเมืองเดิมปกครอง ส่งบรรณาการและกองทัพมาช่วยเวลาเกิดสงคราม<b><br />\n </b></span><b><span style=\"font-size: 18pt; text-transform: uppercase; color: blue; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\">     </span></b><b><span style=\"font-size: 18pt; text-transform: uppercase; color: #00b050; font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'\" lang=\"TH\">ช่วงที่ 2</span></b><b><span style=\"font-size: 18pt; text-transform: uppercase; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"> </span></b><span style=\"font-size: 18pt; text-transform: uppercase; color: black; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\"> </span><span style=\"font-size: 18pt; text-transform: uppercase; color: #984806; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">ตรงกับสมัยพระเพทราชา<span>  </span>ถ่วงดุลอำนาจทางทหารโดยให้สมุหกลาโหม<span>  </span>และสมุหนายก ดูแลทั้งทหารและพลเรือน<span>  </span>โดยแบ่ง หัวเมืองใต้ ให้สมุหกลาโหมดูแลหัวเมืองทางใต้และพลเรือน  ส่วนพลเรือนและทหารฝ่ายเหนือให้<span>  </span>สมุหกลาโหมดูแล</span><span style=\"font-size: 18pt; text-transform: uppercase; color: #984806; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'\"><o:p></o:p></span><b><span style=\"font-size: 20pt; text-transform: uppercase; color: blue; font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'\" lang=\"TH\">การปกครองสมัยอยุธยาตอนปลาย</span></b><b><span style=\"font-size: 20pt; text-transform: uppercase; color: blue; font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'\" lang=\"TH\"> </span></b><span style=\"font-size: 20pt; text-transform: uppercase; color: blue; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">( ใ นช่วง 2231-2310)</span><b><span style=\"font-size: 20pt; text-transform: uppercase; color: blue; font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'\" lang=\"TH\"> </span></b><span style=\"font-size: 20pt; text-transform: uppercase; color: blue; font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span> </span>มีลักษณะดังนี้</span><span style=\"font-size: 20pt; text-transform: uppercase; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><br />\n </span><span style=\"font-size: 18pt; text-transform: uppercase; color: black; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\">            </span><span style=\"font-size: 18pt; text-transform: uppercase; color: #984806; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">พอถึงสมัยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ ครองราชย์ ทรงปรับเปลี่ยนอำนาจทางทหาร เพื่อถ่วงดุลมากขึ้นโดย ให้พระโกษาธิบดีหรือพระคลัง ดูแลทหารและพลเรือนทางใต้ แทนสมุหกลา-โหม<span>   </span></span><span style=\"font-size: 18pt; text-transform: uppercase; color: #984806; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'\">  </span><span style=\"font-size: 18pt; text-transform: uppercase; color: #984806; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">ส่วนสมุหนายก<span>  </span>ยังคงเหมือนเดิม </span><span style=\"font-size: 18pt; text-transform: uppercase; color: #984806; font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span> </span></span><span style=\"font-size: 18pt; text-transform: uppercase; color: #984806; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">การปรับปรุงเปลี่ยนแปลงการปกครองสมัยอยุธยาตั้งแต่ตอนต้นจนถึงตอนปลายนั้น กระทำเพื่อการรวมอำนาจสู่ศูนย์กลางให้มากที่สุด</span><span style=\"font-size: 18pt; text-transform: uppercase; color: #984806; font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span style=\"font-size: 18pt; text-transform: uppercase; color: #984806; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">เพื่อถ่วงอำนาจ ระหว่างเจ้านาย และ ขุนนาง ไม่ให้เป็นภัยต่อพระมหากษัตริย์นั้นเอง</span><span style=\"font-size: 18pt; text-transform: uppercase; color: #984806; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 18pt; text-transform: uppercase; color: #984806; font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'\" lang=\"TH\">เข้าใจชัดแล้วใช่ไหมว่า ทำไมอยุธยาต้องปรับปรุงเปลี่ยนแปลงการปกครองค่อนข้างบ่อยเหตุผลก็เพื่อความมั่นคงของสถาบันกษัตริย์ที่เป็นหลักในการปกครองนั่นเอง</span><span style=\"font-size: 18pt; text-transform: uppercase; color: #984806; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'\"><o:p></o:p></span><b><span style=\"font-size: 20pt; text-transform: uppercase; color: #00b0f0; font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'\" lang=\"TH\">      </span></b><b><span style=\"font-size: 20pt; text-transform: uppercase; color: #00b0f0; font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'\" lang=\"TH\">สรุป</span></b><span style=\"font-size: 20pt; text-transform: uppercase; color: #00b0f0; font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'\" lang=\"TH\"> </span><span style=\"font-size: 18pt; text-transform: uppercase; color: #ff0066; font-family: \'AngsanaUPC\',\'serif\'\" lang=\"TH\">การปกครองสมัยอยุธยามีการปรับปรุงให้เหมาะสมกับสถานการณ์ทางการเมืองโดยมีจุดมุ่งหมายที่สำคัญคือพยายามรวมอำนาจการปกครองสู่ส่วนกลาง และควบคุมการปกครองหัวเมืองต่างๆให้มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น พร้อมกับพยายามจัดรูปแบบการปกครอง เพื่อถ่วงดุลอำนาจกับกลุ่มเจ้านายและขุนนาง ซึ่งเป็นกลไกสำคัญในการปกครอง ดังนั้น สมัยอาณาจักรอยุธยาจึงเกิดการแย่งชิงอำนายทางการเมืองระหว่างพระมหากษัตริย์<span>  </span>เจ้านาย และขุนนาง<span>  </span>ตลอดจนสิ้นอยุธยา</span><span style=\"font-size: 18pt; text-transform: uppercase; color: black; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'\"><o:p></o:p></span></p></td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n<p><o:p><span style=\"font-size: small; color: #000000; font-family: Calibri\"> </span></o:p> </p>\n<div class=\"field field-type-text field-field-author\">\n<div class=\"field-items\">\n<div class=\"field-item odd\">\n<div class=\"field-label-inline-first\">\n<strong>สร้างโดย: </strong>\n</div>\n<p>น.ส.นนทิญา มะปะโม ม. 4/2 เลขที่ 18\n</p></div>\n</div>\n</div>\n<div class=\"field field-type-text field-field-link\">\n<div class=\"field-items\">\n<div class=\"field-item odd\">\n<div class=\"field-label-inline-first\">\n<strong>แหล่งอ้างอิง: </strong>\n</div>\n<p><a href=\"http://www.nrw.ac.th/social/main6.htm\" title=\"http://www.nrw.ac.th/social/main6.htm\">http://www.nrw.ac.th/social/main6.htm</a>\n</p></div>\n</div>\n</div>\n', created = 1727529411, expire = 1727615811, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:628bd80ba484ba8d4fb9f063b8493d2e' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

รูปแบบการปกครองสมัยอยุธยา

รูปแบบการปกครองสมัยอยุธยา

 

 

    รูปแบบการปกครองสมัยอยุธยานั้นแบ่งได้ 3 ระยะตามลักษณะการปกครอง คือ การปกครองสมัยอยุธยาตอนต้น  อยุธยาตอนกลาง  อยุธยาตอนปลายการปกครองสมัยอยุธยาตอนต้น   มีลักษณะดังนี้การปกครองระยะนี้เริ่มเมื่อ (พ.ศ.1893-1991 )สมัยพระเจ้าอู่ทองถึงสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2  แบ่งการปกครองได้ 2 ส่วนส่วนที่ 1)   การปกครองส่วนกลาง คือการปกครองในเขตราชธานี   และบริเวณโดยรอบราชธานีโดยได้จัดรูปแบบการปกครองแบบเขมร จัดหน่วยการปกครองเป็น 4 หน่วย แต่ละหน่วยมีเสนาบดีบริหารงาน ได้แก่  กรมเวียง (ดูแลในเขตเมืองหลวง)  กรมวัง(ดูแลพระราชสำนักและพิจารณาคดี)  กรมคลัง(ดูแลพระราชทรัพย์) กรมนา  (จัดเก็บภาษีและจัดหาเสบียงสำหรับกองทัพ)ส่วนที่ 2)   การปกครองส่วนหัวเมือง   แบ่งเป็น 4 ระดับ คือ1. เมืองลูกหลวง   หรือเมืองหน้าด่าน       ตั้งอยู่รอบราชธานี 4  ทิศ เช่น ลพบุรี  นครนายก พระประแดง  สุพรรณบุรี ให้โอรสหรือพระราชวงศ์ชั้นสูงไปปกครอง
         2. หัวเมืองชั้นใน  อยู่ถัดจากเมืองลูกหลวงออกไป ได้แก่ พรหมบุรี  สิงห์บุรี ปราจีนบุรี  ฉะเชิงเทรา ชลบุรี  ตะนาวศรี  ไชยา นครศรีธรรมราช ให้ขุนนางที่กษัตริย์แต่งตั้งไปปกครอง
          3.หัวเมืองชั้นนอก   หรือหัวเมืองพระยามหานครคือหัวเมืองขนาดใหญ่ห่างจากราชธานีผู้ปกครองสืบเชื้อสายมาจากเจ้าเมืองเดิมหรือตัวแทนที่ราชธานีส่งมาปกครอง
          4. เมืองประเทศราช   เป็นเมืองที่ยังได้ปกครองตนเองเพราะอยู่ไกลที่สุด   มีความเป็นอิสระเหมือนเดิมแต่ต้องส่งเครื่องราชบรรณาการตามกำหนดส่งกองทัพมาช่วยเวลาสงคราม เช่นสุโขทัย เขมร เป็นต้น

การปกครองสมัยอยุธยาตอนกลาง  ( 1991-2231) มีลักษณะดังนี้
                 ช่วงเวลาทางการเมืองสมัยอยุธยาตอนกลางได้มีการปฏิรูปเปลี่ยนแปลงการปกครองให้เหมาะสมกับสภาพการณ์ ทางการเมือง โดยมีสถาบันกษัตริย์เป็นหลักในการปกครองแบ่งได้ 2 ช่วงช่วงที่ 1  เป็นช่วงสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ   ทรงปรับปรุงการปกครองใหม่เนื่องจากปัจจัยหลายๆอย่างเช่น เศรษฐกิจ ควบคุมหัวเมืองได้ไม่ทั่วถึง    และเมืองลูกหลวงหรือเมืองหน้าด่านมีอำนาจมากขึ้น และมักแย่งชิงบัลลังก์อยู่เนืองๆ ประกอบกับอาณาเขตที่กว้างขวางกว่าเดิมพระองค์ได้จัดการแยก ทหารและ   พลเรือนออกจากกัน และจัดการรวมอำนาจเข้าสู่ศูนย์กลาง ทำให้ราชธานีมีอำนาจมากขึ้น มีการควบคุมเข้มงวดมากขึ้น  มีการปฏิรูปการปกครองแยกเป็น 2 ส่วน คือส่วนกลางและหัวเมือง
        สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถแยกการปกครองส่วนกลางเป็น  2  ฝ่าย คือ ทหารและพลเรือน    ทหาร มี สมุหกลาโหมดูแล  ส่วนพลเรือนมี  สมุหนายก  ดูแล     
สมุหนายก มีอัครมหาเสนาบดีตำแหน่ง สมุหนายก ดูแล ข้าราชการฝ่ายพลเรือนทั้งในราช   
สมุหกลาโหม มีอัครมหาเสนาบดีตำแหน่ง
สมุหพระกลาโหมเป็นผู้ดูแลฝ่ายทหาร ทั้งในราชานีและหัวเมือง    และยังได้ปรับปรุงจตุสดมภ์ภายใต้การดูแลของ  สมุหนายก  อัครมหาเสนาบดีผู้ดูแลปรับเปลี่ยนชื่อเป็น ออกญาโกษาธิบดีการปฏิรูปส่วนหัวเมือง  แยกเป็น 3 ส่วนหัวเมืองชั้นใน   ยกเลิกหัวเมืองลูกหลวง จัดตั้งเป็นเมืองชั้นใน  ทรงขุนนางไปครองเรียก  ผู้รั้ง
        หัวเมืองชั้นนอก คือหัวเมืองประเทศราชเดิม ถูกผนวกเป็นส่วนหนึ่งของอยุธยาเรียกว่า  เมืองพระยามหานคร  จัดการปกครองใกล้ชิด เช่น พิษณุโลก นครศรีธรรมราช เป็นเมืองชั้นเอก โท และตรี
        เมืองประเทศราช  คือเมืองชาวต่างชาติที่ยอมอยู่ใต้อำนาจ เช่น ตะนาวศรี ทะวาย เขมร ให้เจ้านายพื้นเมืองเดิมปกครอง ส่งบรรณาการและกองทัพมาช่วยเวลาเกิดสงคราม
     ช่วงที่ 2  ตรงกับสมัยพระเพทราชา  ถ่วงดุลอำนาจทางทหารโดยให้สมุหกลาโหม  และสมุหนายก ดูแลทั้งทหารและพลเรือน  โดยแบ่ง หัวเมืองใต้ ให้สมุหกลาโหมดูแลหัวเมืองทางใต้และพลเรือน  ส่วนพลเรือนและทหารฝ่ายเหนือให้  สมุหกลาโหมดูแลการปกครองสมัยอยุธยาตอนปลาย ( ใ นช่วง 2231-2310)  มีลักษณะดังนี้
            พอถึงสมัยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ ครองราชย์ ทรงปรับเปลี่ยนอำนาจทางทหาร เพื่อถ่วงดุลมากขึ้นโดย ให้พระโกษาธิบดีหรือพระคลัง ดูแลทหารและพลเรือนทางใต้ แทนสมุหกลา-โหม     ส่วนสมุหนายก  ยังคงเหมือนเดิม  การปรับปรุงเปลี่ยนแปลงการปกครองสมัยอยุธยาตั้งแต่ตอนต้นจนถึงตอนปลายนั้น กระทำเพื่อการรวมอำนาจสู่ศูนย์กลางให้มากที่สุด เพื่อถ่วงอำนาจ ระหว่างเจ้านาย และ ขุนนาง ไม่ให้เป็นภัยต่อพระมหากษัตริย์นั้นเองเข้าใจชัดแล้วใช่ไหมว่า ทำไมอยุธยาต้องปรับปรุงเปลี่ยนแปลงการปกครองค่อนข้างบ่อยเหตุผลก็เพื่อความมั่นคงของสถาบันกษัตริย์ที่เป็นหลักในการปกครองนั่นเอง      สรุป การปกครองสมัยอยุธยามีการปรับปรุงให้เหมาะสมกับสถานการณ์ทางการเมืองโดยมีจุดมุ่งหมายที่สำคัญคือพยายามรวมอำนาจการปกครองสู่ส่วนกลาง และควบคุมการปกครองหัวเมืองต่างๆให้มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น พร้อมกับพยายามจัดรูปแบบการปกครอง เพื่อถ่วงดุลอำนาจกับกลุ่มเจ้านายและขุนนาง ซึ่งเป็นกลไกสำคัญในการปกครอง ดังนั้น สมัยอาณาจักรอยุธยาจึงเกิดการแย่งชิงอำนายทางการเมืองระหว่างพระมหากษัตริย์  เจ้านาย และขุนนาง  ตลอดจนสิ้นอยุธยา

 

สร้างโดย: 

น.ส.นนทิญา มะปะโม ม. 4/2 เลขที่ 18

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 319 คน กำลังออนไลน์