• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:0d55a1874276af6dc2dd8014023435b5' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #99cc00\"><u><strong><span style=\"color: #3366ff\">ข้อมูล</span></strong></u> </span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"color: #99cc00\"><span style=\"color: #3366ff\">เป็นสิงห์ผสมที่มีกายเป็นสิงห์ และมีช่วงหัวเป็นช้าง <br />\nตามนับได้รากล่าวว่าคชสีห์มีพลังเทียบเท่าช้างและสิงห์รวมกัน <br />\nซึ่งว่าเป็นสัตว์ที่น่าเกรงขาม คชสีห์มีลักษณะคล้ายสัตว์หิมพานต ์อีกชนิดหนึ่งชื่อทักทอ</span> </span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #99cc00\"><span style=\"color: #3366ff\">คชสีห์  เป็นลักษณะของราชสีห์ผสมกับช้าง  (คช)   <br />\nซึ่งคติไทยถือว่า&quot;ช้าง&quot;เป็นสัตว์ประจำชาติใช้ในราชสงคราม  ดังนั้น ตราคชสีห์จึงสอดคล้องกับข้าชการที่ออกสงคราม   อันหมายถึงทหารนั่นเอง  ซึ่งในสมัยกรุงศรีอยุธยานั้น  ทั้งพลเรือนและทหารต่างต้องถูกเกณฑ์ไปราชการสงคราม   และรับราชการเหมือนกัน <br />\nคชสีห์  เป็นสัตว์ในวรรณคดี  แสดงถึงความสมถะ  รักเกียรติ  และสง่างาม  ซึ่งเปรียบเสมือนข้าราชการ <br />\nเรือที่แกะสลักหัวเรือเป็นรูปสัตว์ต่างๆ ทั้งสัตว์จริง และสัตว์ในเทพนิยาย ความเป็นมาของเรือรูปสัตว์ หรือที่เดิมเรียกว่า เรือศีรษะสัตว์นี้ เรือรูปสัตว์ของไทย คงได้รับอิทธิพลมาจากอินเดียเพราะตราประจำตำแหน่งของเสนาบดีตั้งแต่สมัยอยุธยามาจนถึงสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น ใช้รูปสัตว์ทั้งสิ้น เช่น ราชสีห์  คชสีห์  ครุฑ  นาค ฯลฯ <br />\nตรงตำแหน่งนี้มีปรากฏอยู่ในกฎหมายลักษณะศักดินาซึ่งตั้งขึ้นในรัชกาลสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถพ.ศ๑๙๙๘ แล้ว  และจากพงศาวดาร เรือรูปสัตว์ ปรากฏขึ้นในรัชกาลสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ์ พ.ศ๒๐๗๖ ซึ่งพระองค์ทรงแก้เรือแซเป็นเรือไชยและเรือรูปสัตว์ต่างๆ เพื่อจะให้ตั้งปืนใหญ่ที่หัวเรือได้ เรือรูปสัตว์นั้นถ้าเป็นเรือดั้งน่าจะเป็นเรือคู่ คือ เรือครุฑ ๑ คู่ เรือกระบี่ (ลิง) ๒ คู่ และจะเห็นได้ว่าเรือเสนาบดีและเรือประตูเป็นเรือรูปสัตว์จากตราตำแหน่งทั้งสิ้น จึงกล่าวได้ว่าเรือรูปสัตว์นั้นมาจากตราตำแหน่งนั่นเอง เพราะเมื่อเทียบเรือรูปสัตว์กับตำแหน่งเสนาบดีที่ลดหลั่นลงมาก็จะเห็นว่าตรงกัน</span> </span><span style=\"color: #99cc00\"></span></p>\n<hr id=\"null\" />\n<p align=\"left\">\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1719381773, expire = 1719468173, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:0d55a1874276af6dc2dd8014023435b5' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

เรือคชสีห์

รูปภาพของ pch5252

 

ข้อมูล

เป็นสิงห์ผสมที่มีกายเป็นสิงห์ และมีช่วงหัวเป็นช้าง
ตามนับได้รากล่าวว่าคชสีห์มีพลังเทียบเท่าช้างและสิงห์รวมกัน
ซึ่งว่าเป็นสัตว์ที่น่าเกรงขาม คชสีห์มีลักษณะคล้ายสัตว์หิมพานต ์อีกชนิดหนึ่งชื่อทักทอ

คชสีห์  เป็นลักษณะของราชสีห์ผสมกับช้าง  (คช)  
ซึ่งคติไทยถือว่า"ช้าง"เป็นสัตว์ประจำชาติใช้ในราชสงคราม  ดังนั้น ตราคชสีห์จึงสอดคล้องกับข้าชการที่ออกสงคราม   อันหมายถึงทหารนั่นเอง  ซึ่งในสมัยกรุงศรีอยุธยานั้น  ทั้งพลเรือนและทหารต่างต้องถูกเกณฑ์ไปราชการสงคราม   และรับราชการเหมือนกัน
คชสีห์  เป็นสัตว์ในวรรณคดี  แสดงถึงความสมถะ  รักเกียรติ  และสง่างาม  ซึ่งเปรียบเสมือนข้าราชการ
เรือที่แกะสลักหัวเรือเป็นรูปสัตว์ต่างๆ ทั้งสัตว์จริง และสัตว์ในเทพนิยาย ความเป็นมาของเรือรูปสัตว์ หรือที่เดิมเรียกว่า เรือศีรษะสัตว์นี้ เรือรูปสัตว์ของไทย คงได้รับอิทธิพลมาจากอินเดียเพราะตราประจำตำแหน่งของเสนาบดีตั้งแต่สมัยอยุธยามาจนถึงสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น ใช้รูปสัตว์ทั้งสิ้น เช่น ราชสีห์  คชสีห์  ครุฑ  นาค ฯลฯ
ตรงตำแหน่งนี้มีปรากฏอยู่ในกฎหมายลักษณะศักดินาซึ่งตั้งขึ้นในรัชกาลสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถพ.ศ๑๙๙๘ แล้ว  และจากพงศาวดาร เรือรูปสัตว์ ปรากฏขึ้นในรัชกาลสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ์ พ.ศ๒๐๗๖ ซึ่งพระองค์ทรงแก้เรือแซเป็นเรือไชยและเรือรูปสัตว์ต่างๆ เพื่อจะให้ตั้งปืนใหญ่ที่หัวเรือได้ เรือรูปสัตว์นั้นถ้าเป็นเรือดั้งน่าจะเป็นเรือคู่ คือ เรือครุฑ ๑ คู่ เรือกระบี่ (ลิง) ๒ คู่ และจะเห็นได้ว่าเรือเสนาบดีและเรือประตูเป็นเรือรูปสัตว์จากตราตำแหน่งทั้งสิ้น จึงกล่าวได้ว่าเรือรูปสัตว์นั้นมาจากตราตำแหน่งนั่นเอง เพราะเมื่อเทียบเรือรูปสัตว์กับตำแหน่งเสนาบดีที่ลดหลั่นลงมาก็จะเห็นว่าตรงกัน


 

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 606 คน กำลังออนไลน์