• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:13175d04012d489e61e5859fda543d36' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #ff00ff\">งานครั้งที่ 2 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/1 <br />\nการวิเคราะห์คุณค่าของวัฒนธรรมท้องถิ่น <br />\nการวิเคราะห์คุณค่าของวัฒนธรรมท้องถิ่นภาคเหนือ <br />\nตอนที่ ๑ คำชี้แจง  ให้นักเรียนร่วมกันวิเคราะห์วัฒนธรรมท้องถิ่นในภาคเหนือตามหัวข้อที่กำหนดให้</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\">๑. การทำบุญทอดผ้าป่าแถว  <br />\nบริเวณแหล่งวัฒนธรรม : ในเขตตัวอำเภอและอำเภอรอบนอกของจังหวัดกำแพงเพชร….<br />\nลักษณะของวัฒนธรรม:  ในวันขึ้น 15 ค่ำเดือน 12  ในเวลา 19.00 น. ชาวบ้านจะนำองค์ผ้าป่าเข้าวัด นำผ้าพาดใต้กิ่งไม้พอถึงเวลามรรคนายกจะป่าวร้องให้เจ้าของผ้าไปจับสลากรายนามพระภิกษุเมื่อได้ชื่อแล้วเจ้าภาพแล้วจะนำชื่อมากลัดติดกับผ้าที่ห้อยอยู่ใต้กิ่งไม้ของตนและพากันไปหลบอยู่ในเงามืดเผ้าดูด้วยความสงบว่าพระภิกษุใดจะมาชักผ้าป่าของตน เมื่อพระภิกษุชักผ้าป่าเรียบร้อยแล้วพระภิกษุทุกรูปจะไปนั่งรวมกัน แล้วให้ศีลพระพุทธมนต์ อวยชัยให้พร เมื่อเสร็จสิ้น มหรสพก็จะเริ่มทันที <br />\n คุณค่าของวัฒนธรรม  : พุทธศาสนิกชนได้ใกล้ชิดศาสนามากขึ้น </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\">๒. ประเพณีเลี้ยงข้าวแลงขันโตก หรือ กิ๋นข้าวแลงขันโตก  <br />\nบริเวณแหล่งวัฒนธรรม  :ภาคเหนือตอนบน<br />\n ลักษณะของวัฒนธรรม : เป็นงานเลี้ยงอาหารเย็นแบบ หรูหราของชาวเหนือ โดยเจ้าของบ้านอละแขกจะแต่งกายแบบล้านนา ซึ่งจะมีขบวนแห่ขันโตกแห่ น้ำหน้าและกับข้าวที่เตรียมไว้ทั้งหมดก็เป็นอาหารของทางภาคเหนือ<br />\nคุณค่าของวัฒนธรรม   : ทำให้เกิดความกลมเกลียวใน ครอบครัว หมู่ญาติ และคนรู้จักมากขึ้น  และเป็นการอนุรักษ์วัฒนธรรมไทย </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\">๓. ทำบุญตานก๋วยสลาก หรือ กิ๋นก๋วยสลาก  <br />\nบริเวณแหล่งวัฒนธรรม : ทางภาคเหนือของไทย<br />\nลักษณะของวัฒนธรรม :  ทำในช่วง ขึ้น 15 ค่ำ เดือน 12 ถึง แรม 15 ค่ำ เดือน 12  โดยในช่วงนี้ชาวบ้านมักว่างจากงาน และจะมีวันแรก ที่ เรียกหว่า วันดา ซึ่งผู้หญิงตจะอยู่บ้านเพื่อเตรียมงาน และเตรียมกับข้าว ขนม ฯลฯ และก๋วยสลากจะมี 2 ชนิด 1 )เป็นก๋วยเล็กจะมียอดเงินไม่มากนัก 2)เป็นก๋วยสลากโจ้ก จะมียอดเงิน มากตามกำลังศรัทธา<br />\n คุณค่าของวัฒนธรรม  : เป็นการทำบุญ ทำให้จิตใจของผู้ที่ได้ทำแล้ว ผ่องใส และมีความสุข </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\">๔. งานบวชลูกแก้ว หรือ ปอยส่างลอง  <br />\nบริเวณแหล่งวัฒนธรรม : จังหวัดแม่ฮ่องสอน<br />\n ลักษณะของวัฒนธรรม:  เป็นงานที่คนสมัยก่อนจัดขึ้นเพื่อให้บุตรหลานของตนได้ศึกษาพระธรรม วันแรก นำเด็กที่บวชไปเข้าพิธีโกนแต่ไม่โกนคิ้ว แต่งหน้าทาปาก สวมเครื่องประดับให้สวยงาม ประดับด้วยมวยผมของบรรพบุรุษอย่างสวยงาม และนำเด็กที่เรียกว่า ส่างลอย ไปขอขมาตามบ้าน ญาติผู้ใหญ่ที่นับถือ  วันที่ 2 มีการแห่ส่างลองไปกับเครื่องไทยทานไปตามถนนต่างๆ โดยขี่ม้า หรือ คอคน วันที่ 3 จะแห่ตามถนน และไปรวมตัวที่วัด<br />\nคุณค่าของวัฒนธรรม  : ทำให้เด็กสมัยใหม่ได้ใกล้ชิดกับศาสนามากขึ้น </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\">๕. งานสมโภชพระพุทธชินราช  <br />\nบริเวณแหล่งวัฒนธรรม : จังหวัดพิษณุโลก<br />\n ลักษณะของวัฒนธรรม: เมื่อพระมหากษัตริย์เสด็จมานมัสการพระพุทธชินราชแล้ว ทรงโปรดเกล้าฯ ให้มีงานฉลองสมโภชพระพุทธชินราช ๓ วัน ๕ วันและ ๗ วัน  ต่อมาทางจังหวัดพิษณุโลกได้ริเริ่มกำหนดเป็นงานประจำปีขึ้น เมื่อปี พ.ศ. ๒๔๗๗ โดยกำหนดเอาวันเพ็ญเดือนสามเป็นต้นไปมีการฉลอง ๗ วัน ๗ คืน เพื่อให้ประชาชนได้มานมัสการพระพุทธชินราช เพื่อเป็นสิริมงคล และพักผ่อนหย่อนใจด้วยการชมมหรสพ เลือกซื้อสินค้าพื้นบ้านจากจังหวัดพิษณุโลกและจังหวัดต่าง ๆ กลับบ้านไปเป็น ที่ระลึกและใช้ในครอบครัว การจัดงานสมโภชมีพิธีทางศาสนา มีมหรสพทั้งดนตรี ภาพยนตร์ ลิเก และการละเล่นพื้นเมือง <br />\n คุณค่าของวัฒนธรรม :เป็นการพักผ่อนจิตใจโดยการเข้าวัดทำให้เกิดความรักในศาสนาและประเพณี<br />\n  <br />\n</span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #ff00ff\">ตอนที่ ๒ คำชี้แจง ให้นักเรียนแสวงหาความรู้และภาพประกอบของวัฒนธรรมท้องถิ่นในภาคเหนือที่ตนสนใจ<br />\n และนำมาวิเคราะห์ตามหัวข้อที่กำหนด ดังนี้ </span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #ff00ff\"><img border=\"0\" width=\"1\" src=\"/\" height=\"1\" /><img border=\"0\" onload=\"if(this.width />\'800\')this.width=\'800\';if(this.height>\'1000\')this.height=\'1000\';\" src=\"http://www.lampang108.com/wb/attachment/thumb/16_4_21fb2dfb7d31ac6.jpg\" onclick=\" window.open(\'http://www.lampang108.com/wb/attachment/16_4_21fb2dfb7d31ac6.jpg\');\" title=\"Click Here To EnLarge\" /><br />\n</span>๑. ชื่อวัฒนธรรม : แห่สลุงหลวง <br />\n๒. เป็นวัฒนธรรมของ: จังหวัดลำปาง<br />\n๓. ลักษณะสำคัญ : ก่อนวันสงกรานต์ คือในวันที่ 12 เมษายน ขาวลำปางจะจัดขบวนแห่งที่เรียกว่า สลุงหลวง หรือขันเงินใบใหญ่  นำน้ำจากแหล่งน้ำสำคัญไปสรงพระเจ้าแก้ว วัดพระธาตุลำปางหลวง  ที่อัญเชิญมาให้ประชาชนได้ร่วมกันสรงน้ำในช่วงวันขึ้นปีใหม่ไทย<br />\n๔. เป็นวัฒนธรรมที่มีคุณค่า:  ทำให้คนในสังคมมีความรักใคร่สามัคคีกันมากขึ้น<br />\n  <br />\n <span style=\"color: #ff00ff\">คำชี้แจง ให้นักเรียนร่วมกันวิเคราะห์วัฒนธรรมท้องถิ่นในภาคกลางตามหัวข้อที่กำหนดให้</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\">๑.ประเพณี  รับบัวโยนบัว  <br />\nบริเวณแหล่งวัฒนธรรม :สมุทรปราการ<br />\nลักษณะของวัฒนธรรม :ทุกวันขึ้น 14 ค่ำ เดือน 11 ชาวบางพลีจะนิมนต์หลวงพ่อโต ขึ้นเรือ แล่นไปตามแม่น้ำเพื่อให้ชาวบ้านได้นมัสการกันริมคลองแล้วชาวบ้านก็จะนำดอกบัวที่เด็ดไว้นั้นโยนเบาๆขึ้นบนเรือของหลวงพ่อ<br />\nคุณค่าของวัฒนธรรม   :ทำให้ชาวบ้านมีความตระหนักถึงความสำคัญของศาสนา </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\">๒.ประเพณี  การทำขวัญข้าว  <br />\nบริเวณแหล่งวัฒนธรรม:  ภาคกลาง<br />\nลักษณะของวัฒนธรรม: นิยมทำกันในวัน แรม 1 ค่ำ เดือน 11 ผู้ที่จะเรียกขวัญ เป็นผู้หญิงซึ่งจะแต่งกายสวยงามในที่นาของตน ก็จะปักเรือนขวัญข้าวลงในนา จากนนั้นนำผ้าซิ่นไปพาดต้นข้าว เอา ขนมนมเนย ของเค็ม เครื่องประดับของหอมต่างๆ ฯลฯ เหล่นนั้นลงไปในเรือนขวัญข้าวจากนั้นจุดธูป 8 ดอก เทียน 1 เล่ม และนั่งพนมมือ เรียกขวัญข้าว พอเสร็จก็เก็บของมีค่ากลับบ้านของตนไป<br />\nคุณค่าของวัฒนธรรม  : ชาวบ้านรู้คุณค่าของข้าวที่ตนเองกิน </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\">๓.ประเพณี  การบูชารอยพระพุทธบาท  <br />\nบริเวณแหล่งวัฒนธรรม:  จังหวัดสระบุรี<br />\nลักษณะของวัฒนธรรม: ช่วงขึ้น 1 ค่ำ –แรม 1 ค่ำ เดือน3 ,ขึ้น 1 ค่ำ เดือน 4 – แรม 1 ค่ำ เดือน 4   ชาวบ้านทั่วทุกสารทิศจะมานมัสการรอยพระพุทธบาทในมณฑป<br />\nคุณค่าของวัฒนธรรม : เป็นการทำบุญทำให้ประชาชนได้ทำกิจกรรมเกี่ยวกับศาสนาได้มากขึ้น </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\">๔.ประเพณี  การทิ้งกระจาด  <br />\nบริเวณแหล่งวัฒนธรรม : สุพรรณบุรี<br />\nลักษณะของวัฒนธรรม : พิธีทิ้งกระจาดนิยมกระทำกันในเทศกาลกินเจ และในพิธีกงเต็ก พิธีทิ้งกระจาดในงานกงเต็กจะมีการจัดทำรูปขนาดใหญ่เรียกว่า “ไต้ซือเอี๊ย”ซึ่งบนศีรษะมีรูปพระกวนอิม ซึ่งเป็นพระโพธิสัตว์แบ่งภาคมาเกิดเพื่อทำหน้าที่ดูแลมิให้พวกปีศาจแย่งชิงเครื่องเซ่น การประกอบพิธีที่ปฏิบัติกันทั่วไปนั้นจะมีการเชิญเจ้าพ่อ เจ้าแม่ เจ้าปู ที่มาจากที่ต่าง ๆ มายังโรงพิธีและเชิญกระถางธูปจากศาลเจ้าไปร่วมพิธีด้วย การทิ้งกระจาดแบ่งออกได้สองอย่าง คือ <br />\nการทิ้งกระจาดฟ้า ซึ่งกระทำโดยจัดสิ่งของที่จะทิ้งไว้บนที่สูงแล้วโยนทิ้งสิ่งของบางอย่างลงมา โยนทิ้งไม้ติ้วมีเบอร์บ้าง อีกอย่างหนึ่งคือการทิ้งกระจาดดิน<br />\nเป็นการกำหนดภายหลังต่อจากการทิ้งกระจาดฟ้าแล้ว 10 วัน กระทำโดยจัดสิ่งของวางทิ้งไว้บนดินเพื่อเป็นการทิ้งให้พวกภูตผีปีศาจทั้งหลาย<br />\nคุณค่าของวัฒนธรรม : ทำให้เกิดความภาคภูมิใจมนประเพณีของตน และสืบทอดประเพณีต่อไป </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\">๕.ประเพณีถวายสลากภัต  <br />\nบริเวณแหล่งวัฒนธรรม:  จังหวัดสระบุรี<br />\nลักษณะของวัฒนธรรม:    มีการถวายอาหารแด่ภิกษุโดยวิธีการจับสลาก แต่มีหลักอยู่ที่การถวายโดยให้ภิกษุจับสลากก่อน ภิกษุรูปใดจับสลากได้ของผู้ใดก็รับอาหารจากผู้นั้น บางแห่งนิยมทำในฤดูกาลที่มีผลไม้ดกและสุก นำมาถวายเป็นสลากภัต ที่นิยมทำในท้องถิ่นสระบุรีคือ สานกระจาดใหญ่ด้วยไม้ไผ่ ประดับกระดาษให้สวยงามนำอาหารหรือเครื่องสมณะอุปโภคบริโภคใส่ลงใน กระจาด หากมีฝีมือยิ่งขึ้นไปก็อาจนำไม้ยาวประมาณ ๖ เมตร มาปักกลางกระจาด ทำเป็นฉัตรหลายชั้นขึ้นไปตกแต่งสวยงาม เมื่อถึงวันงานที่กำหนดก็นำกระจาดหรือต้นสลากนี้ไปรวมกันที่วัด นิมนต์พระมาเทศน์อานิสงส์ จบแล้วกล่าวคำถวายสลากภัตและให้ภิกษุจับสลาก ภิกษุจับได้สลากของผู้ใดก็ลงไปรับการถวายที่กระจาดหรือต้นสลากของผู้นั้น ให้พรและเจ้าภาพก็กรวดน้ำ ศิษย์วัดก็นำสลากภัตนั้นกลับวัดของตน<br />\nคุณค่าของวัฒนธรรม  :เป็นกิจกรรมที่ทำให้เกิดความสามัคคีกันในหมู่คณะ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"> <span style=\"color: #ff00ff\">คำชี้แจง ให้นักเรียนร่วมกันวิเคราะห์วัฒนธรรมท้องถิ่นในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตามหัวข้อที่กำหนดให้</span> <br />\n๑.งานบุญคูนลาน  <br />\nบริเวณแหล่งวัฒนธรรม: ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ<br />\nลักษณะของวัฒนธรรม: เป็นการทำขวัญข้าวก่อนที่จะนำข้าวเข้าสู่ยุ้งฉางเมื่อเก็บเกี่ยวข้าวเสร็จชาวนาจะนำข้าวที่มัดไว้นั้นมากองให้สูงจากพื้นลาน เรียกว่า คูนลาน ผู้ที่ได้ข้าวมากมักจะทำบุญที่ลานข้าว ซึ่งถือเป็นงานบุญอย่างหนึ่งของชาวอีสาน <br />\nคุณค่าของวัฒนธรรม :ทำให้รู้ถึงบุญคุณข้าว </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\">๒.บุญบั้งไฟ <br />\nบริเวณแหล่งวัฒนธรรม :  ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ<br />\nลักษณะของวัฒนธรรม :เดือน เมษายน-พฤษภาคม ซึ่งช่วงนี้ชาวนา จะไถนา เป็นการทำบุญบั้งไปเพื่อขอฝน <br />\nคุณค่าของวัฒนธรรม :ทำให้รู้คุณค่าของน้ำที่ตนใช้ไป </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\">๓.ผีตาโขน<br />\n บริเวณแหล่งวัฒนธรรม:   อำเภอด่านซ้าย จังหวัดเลย <br />\nลักษณะของวัฒนธรรม: จัดขึ้นในวันข้างขึ้นเดือน 8  จะทำอยู่ 3 วัน  โดยชาวบ้านจะนำรูปหน้ากาก ที่น่าเกลียด น่ากลัวมาสวมใส่โดยแต่งตัวมิดชิดแล้วแห่ เข้าวัด<br />\nคุณค่าของวัฒนธรรม  : ทำให้มีจิตใจที่เป็นกุศลเนื่องมาจากการทำบุญตามประเพณี </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\">๔.การแห่ปราสาทผึ้ง  <br />\nบริเวณแหล่งวัฒนธรรม  :จังหวัดสกลนคร หนองคาย  นครพนม และ เลย<br />\nลักษณะของวัฒนธรรม :วันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11 หรือวันออกพรรษา  จัดขบวนแห่ปราสาทผึ้งโดยใช้เกวียนลาก มีปราสาทผึ้งและเทพีนั่งอยู่บนเกวียน และในขบวนแห่จะมีการเล่นเครื่องดนตรีอย่างพิณ ฆ้อง กลอง เหล่าผู้เฒ่าผู้แก่และคนหนุ่มสาวจะร่วมเดินในขบวน ถือธูปเทียนแห่รอบพระธาตุเชิงชุมสามรอบ <br />\nคุณค่าของวัฒนธรรม :เป็นการทำนุบำรุงศาสนาให้รุ่งเรืองตามประเพณี </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\">๕.ประเพณีไหลเรือไฟ <br />\nบริเวณแหล่งวัฒนธรรม:  จังหวัดนครพนม ศรีสะเกษ มหาสารคามและอีกหลายจังหวัดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ<br />\nลักษณะของวัฒนธรรม  นิยมทำกันในวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11 (วันออกพรรษา)เรือไฟ ทำจากต้นกล้วยและลำไม้ไผ่ที่หาได้มาจัดทำเป็นโครงเรือไฟง่าย ๆ พอที่จะทำให้ลอยน้ำได้ การประดับตกแต่งเรือไฟภายในเรือไฟจะประดับด้วยดอกไม้ ธูป เทียน ตะเกียง ขี้ไต้ สำหรับจุดให้สว่างไสว ก่อนจะปล่อย เรือไฟลงกลางลำน้ำโขง <br />\nคุณค่าของวัฒนธรรม:  เป็นที่ยึดเหนี่ยวจิตใจให้แก่ประชาชน  เป็นกิจกรรมที่ทำให้ชาวบ้านเกิดความรักษ์ในวัฒนธรรมของตน  :ทำให้ประชาชนเกิดความศรัทธาในศาสนามากขึ้น<br />\n  </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #ff00ff\">คำชี้แจง   ให้นักเรียนร่วมกันวิเคราะห์วัฒนธรรมท้องถิ่นในภาคใต้ตามหัวข้อที่กำหนดให้</span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\">๑. ประเพณีลากพระ <br />\nบริเวณแหล่งวัฒนธรรม:  ชาวภาคใต้ <br />\nลักษณะของวัฒนธรรม:   เริ่มทำในวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11 ประชาชนจะเข้าวัดเพื่อตักบาตร เรียงไว้ตรงหน้าพระที่ลาก เมื่อภิกษุฉันเสร็จ ก็จะนิมนต์นั่งประจำเรือพระ แล้วชาวบ้านก็จะลากพระไปประชาชนที่รออยู่ก็จะนำต้ม มาแขวนที่ล้อเลื่อนตลอดทาง<br />\nคุณค่าของวัฒนธรรม : ผู้คนเกิดความสามัคคี เป็นการอนุรักษ์วัฒนธรรม </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\">๒.  ประเพณีสารทเดือนสิบ  <br />\nบริเวณแหล่งวัฒนธรรม: จังหวัด นครศรีธรรมราช<br />\nลักษณะของวัฒนธรรม: ชาวบ้านจะทำบุญให้แก่ผู้ที่ล่วงลับไปแล้ว<br />\nคุณค่าของวัฒนธรรม  :เป็นการอนุรักษ์ให้คนรุ่นหลังได้สืบทอดวัฒนธรรมต่อไป<br />\n  </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\">๓.  การรำโนรา  <br />\nบริเวณแหล่งวัฒนธรรม :  ภาคใต้ <br />\nลักษณะของวัฒนธรรม: โนราเป็นการแสดงเพื่อความบันเทิง<br />\nคุณค่าของวัฒนธรรม  :เพื่อแสดงความกตัญญูรู้คุณต่อครู หรือเพื่อพิธีแก้บน </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\">๔. เทศกาลกินเจ  <br />\nบริเวณแหล่งวัฒนธรรม: ชาวภูเก็ต<br />\nลักษณะของวัฒนธรรม:  ชาวภูเก็ตถือศีลโดยการกินผัก<br />\nคุณค่าของวัฒนธรรม : เป็นการอนุรักษ์วัฒนธรรมของท้องถิ่นให้คงอยู่ <br />\n  <br />\n๕ ประเพณีแห่ผ้าขึ้นธาตุ<br />\nบริเวณแหล่งวัฒนธรรม: จังหวัดนครศรีธรรมราช <br />\nลักษณะของวัฒนธรรม: งานประเพณีสำคัญที่จัดขึ้นในเดือนกุมภาพันธ์ของทุกปี เพื่อนมัสการองค์พระบรมธาตุเมืองนครศรีธรรมราชในงานมีการกวนข้าวมธุปายาส ประกวดผ้าพระบฏและโคมประดับ และมีการแห่ผ้าขึ้นธาตุไปตามถนนแล้วนำไปห่มองค์พระธาตุเป็นการสักการบูชา<br />\nคุณค่าของวัฒนธรรม: เป็นการอนุรักษ์วัฒนธรรมของท้องถิ่นให้คงอยู่ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><img border=\"0\" src=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-cool.gif\" alt=\"Cool\" title=\"Cool\" /><img border=\"0\" src=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-laughing.gif\" alt=\"Laughing\" title=\"Laughing\" /><img border=\"0\" src=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-surprised.gif\" alt=\"Surprised\" title=\"Surprised\" /><img border=\"0\" src=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-laughing.gif\" alt=\"Laughing\" title=\"Laughing\" /><img border=\"0\" src=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-wink.gif\" alt=\"Wink\" title=\"Wink\" /><img border=\"0\" src=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-tongue-out.gif\" alt=\"Tongue out\" title=\"Tongue out\" /> </span>\n</p>\n', created = 1716246042, expire = 1716332442, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:13175d04012d489e61e5859fda543d36' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ส่งงานครูสายพิน โรงเรียนแม่ลาววิทยาคม เลขที่ 17 ม 6/1 งานที่ 2

รูปภาพของ mwk6428

งานครั้งที่ 2 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/1
การวิเคราะห์คุณค่าของวัฒนธรรมท้องถิ่น
การวิเคราะห์คุณค่าของวัฒนธรรมท้องถิ่นภาคเหนือ
ตอนที่ ๑ คำชี้แจง  ให้นักเรียนร่วมกันวิเคราะห์วัฒนธรรมท้องถิ่นในภาคเหนือตามหัวข้อที่กำหนดให้

๑. การทำบุญทอดผ้าป่าแถว 
บริเวณแหล่งวัฒนธรรม : ในเขตตัวอำเภอและอำเภอรอบนอกของจังหวัดกำแพงเพชร….
ลักษณะของวัฒนธรรม:  ในวันขึ้น 15 ค่ำเดือน 12  ในเวลา 19.00 น. ชาวบ้านจะนำองค์ผ้าป่าเข้าวัด นำผ้าพาดใต้กิ่งไม้พอถึงเวลามรรคนายกจะป่าวร้องให้เจ้าของผ้าไปจับสลากรายนามพระภิกษุเมื่อได้ชื่อแล้วเจ้าภาพแล้วจะนำชื่อมากลัดติดกับผ้าที่ห้อยอยู่ใต้กิ่งไม้ของตนและพากันไปหลบอยู่ในเงามืดเผ้าดูด้วยความสงบว่าพระภิกษุใดจะมาชักผ้าป่าของตน เมื่อพระภิกษุชักผ้าป่าเรียบร้อยแล้วพระภิกษุทุกรูปจะไปนั่งรวมกัน แล้วให้ศีลพระพุทธมนต์ อวยชัยให้พร เมื่อเสร็จสิ้น มหรสพก็จะเริ่มทันที
 คุณค่าของวัฒนธรรม  : พุทธศาสนิกชนได้ใกล้ชิดศาสนามากขึ้น

๒. ประเพณีเลี้ยงข้าวแลงขันโตก หรือ กิ๋นข้าวแลงขันโตก 
บริเวณแหล่งวัฒนธรรม  :ภาคเหนือตอนบน
 ลักษณะของวัฒนธรรม : เป็นงานเลี้ยงอาหารเย็นแบบ หรูหราของชาวเหนือ โดยเจ้าของบ้านอละแขกจะแต่งกายแบบล้านนา ซึ่งจะมีขบวนแห่ขันโตกแห่ น้ำหน้าและกับข้าวที่เตรียมไว้ทั้งหมดก็เป็นอาหารของทางภาคเหนือ
คุณค่าของวัฒนธรรม   : ทำให้เกิดความกลมเกลียวใน ครอบครัว หมู่ญาติ และคนรู้จักมากขึ้น  และเป็นการอนุรักษ์วัฒนธรรมไทย

๓. ทำบุญตานก๋วยสลาก หรือ กิ๋นก๋วยสลาก 
บริเวณแหล่งวัฒนธรรม : ทางภาคเหนือของไทย
ลักษณะของวัฒนธรรม :  ทำในช่วง ขึ้น 15 ค่ำ เดือน 12 ถึง แรม 15 ค่ำ เดือน 12  โดยในช่วงนี้ชาวบ้านมักว่างจากงาน และจะมีวันแรก ที่ เรียกหว่า วันดา ซึ่งผู้หญิงตจะอยู่บ้านเพื่อเตรียมงาน และเตรียมกับข้าว ขนม ฯลฯ และก๋วยสลากจะมี 2 ชนิด 1 )เป็นก๋วยเล็กจะมียอดเงินไม่มากนัก 2)เป็นก๋วยสลากโจ้ก จะมียอดเงิน มากตามกำลังศรัทธา
 คุณค่าของวัฒนธรรม  : เป็นการทำบุญ ทำให้จิตใจของผู้ที่ได้ทำแล้ว ผ่องใส และมีความสุข

๔. งานบวชลูกแก้ว หรือ ปอยส่างลอง 
บริเวณแหล่งวัฒนธรรม : จังหวัดแม่ฮ่องสอน
 ลักษณะของวัฒนธรรม:  เป็นงานที่คนสมัยก่อนจัดขึ้นเพื่อให้บุตรหลานของตนได้ศึกษาพระธรรม วันแรก นำเด็กที่บวชไปเข้าพิธีโกนแต่ไม่โกนคิ้ว แต่งหน้าทาปาก สวมเครื่องประดับให้สวยงาม ประดับด้วยมวยผมของบรรพบุรุษอย่างสวยงาม และนำเด็กที่เรียกว่า ส่างลอย ไปขอขมาตามบ้าน ญาติผู้ใหญ่ที่นับถือ  วันที่ 2 มีการแห่ส่างลองไปกับเครื่องไทยทานไปตามถนนต่างๆ โดยขี่ม้า หรือ คอคน วันที่ 3 จะแห่ตามถนน และไปรวมตัวที่วัด
คุณค่าของวัฒนธรรม  : ทำให้เด็กสมัยใหม่ได้ใกล้ชิดกับศาสนามากขึ้น

๕. งานสมโภชพระพุทธชินราช 
บริเวณแหล่งวัฒนธรรม : จังหวัดพิษณุโลก
 ลักษณะของวัฒนธรรม: เมื่อพระมหากษัตริย์เสด็จมานมัสการพระพุทธชินราชแล้ว ทรงโปรดเกล้าฯ ให้มีงานฉลองสมโภชพระพุทธชินราช ๓ วัน ๕ วันและ ๗ วัน  ต่อมาทางจังหวัดพิษณุโลกได้ริเริ่มกำหนดเป็นงานประจำปีขึ้น เมื่อปี พ.ศ. ๒๔๗๗ โดยกำหนดเอาวันเพ็ญเดือนสามเป็นต้นไปมีการฉลอง ๗ วัน ๗ คืน เพื่อให้ประชาชนได้มานมัสการพระพุทธชินราช เพื่อเป็นสิริมงคล และพักผ่อนหย่อนใจด้วยการชมมหรสพ เลือกซื้อสินค้าพื้นบ้านจากจังหวัดพิษณุโลกและจังหวัดต่าง ๆ กลับบ้านไปเป็น ที่ระลึกและใช้ในครอบครัว การจัดงานสมโภชมีพิธีทางศาสนา มีมหรสพทั้งดนตรี ภาพยนตร์ ลิเก และการละเล่นพื้นเมือง
 คุณค่าของวัฒนธรรม :เป็นการพักผ่อนจิตใจโดยการเข้าวัดทำให้เกิดความรักในศาสนาและประเพณี
 
ตอนที่ ๒ คำชี้แจง ให้นักเรียนแสวงหาความรู้และภาพประกอบของวัฒนธรรมท้องถิ่นในภาคเหนือที่ตนสนใจ
 และนำมาวิเคราะห์ตามหัวข้อที่กำหนด ดังนี้


๑. ชื่อวัฒนธรรม : แห่สลุงหลวง
๒. เป็นวัฒนธรรมของ: จังหวัดลำปาง
๓. ลักษณะสำคัญ : ก่อนวันสงกรานต์ คือในวันที่ 12 เมษายน ขาวลำปางจะจัดขบวนแห่งที่เรียกว่า สลุงหลวง หรือขันเงินใบใหญ่  นำน้ำจากแหล่งน้ำสำคัญไปสรงพระเจ้าแก้ว วัดพระธาตุลำปางหลวง  ที่อัญเชิญมาให้ประชาชนได้ร่วมกันสรงน้ำในช่วงวันขึ้นปีใหม่ไทย
๔. เป็นวัฒนธรรมที่มีคุณค่า:  ทำให้คนในสังคมมีความรักใคร่สามัคคีกันมากขึ้น
 
 คำชี้แจง ให้นักเรียนร่วมกันวิเคราะห์วัฒนธรรมท้องถิ่นในภาคกลางตามหัวข้อที่กำหนดให้

๑.ประเพณี  รับบัวโยนบัว 
บริเวณแหล่งวัฒนธรรม :สมุทรปราการ
ลักษณะของวัฒนธรรม :ทุกวันขึ้น 14 ค่ำ เดือน 11 ชาวบางพลีจะนิมนต์หลวงพ่อโต ขึ้นเรือ แล่นไปตามแม่น้ำเพื่อให้ชาวบ้านได้นมัสการกันริมคลองแล้วชาวบ้านก็จะนำดอกบัวที่เด็ดไว้นั้นโยนเบาๆขึ้นบนเรือของหลวงพ่อ
คุณค่าของวัฒนธรรม   :ทำให้ชาวบ้านมีความตระหนักถึงความสำคัญของศาสนา

๒.ประเพณี  การทำขวัญข้าว 
บริเวณแหล่งวัฒนธรรม:  ภาคกลาง
ลักษณะของวัฒนธรรม: นิยมทำกันในวัน แรม 1 ค่ำ เดือน 11 ผู้ที่จะเรียกขวัญ เป็นผู้หญิงซึ่งจะแต่งกายสวยงามในที่นาของตน ก็จะปักเรือนขวัญข้าวลงในนา จากนนั้นนำผ้าซิ่นไปพาดต้นข้าว เอา ขนมนมเนย ของเค็ม เครื่องประดับของหอมต่างๆ ฯลฯ เหล่นนั้นลงไปในเรือนขวัญข้าวจากนั้นจุดธูป 8 ดอก เทียน 1 เล่ม และนั่งพนมมือ เรียกขวัญข้าว พอเสร็จก็เก็บของมีค่ากลับบ้านของตนไป
คุณค่าของวัฒนธรรม  : ชาวบ้านรู้คุณค่าของข้าวที่ตนเองกิน

๓.ประเพณี  การบูชารอยพระพุทธบาท 
บริเวณแหล่งวัฒนธรรม:  จังหวัดสระบุรี
ลักษณะของวัฒนธรรม: ช่วงขึ้น 1 ค่ำ –แรม 1 ค่ำ เดือน3 ,ขึ้น 1 ค่ำ เดือน 4 – แรม 1 ค่ำ เดือน 4   ชาวบ้านทั่วทุกสารทิศจะมานมัสการรอยพระพุทธบาทในมณฑป
คุณค่าของวัฒนธรรม : เป็นการทำบุญทำให้ประชาชนได้ทำกิจกรรมเกี่ยวกับศาสนาได้มากขึ้น

๔.ประเพณี  การทิ้งกระจาด 
บริเวณแหล่งวัฒนธรรม : สุพรรณบุรี
ลักษณะของวัฒนธรรม : พิธีทิ้งกระจาดนิยมกระทำกันในเทศกาลกินเจ และในพิธีกงเต็ก พิธีทิ้งกระจาดในงานกงเต็กจะมีการจัดทำรูปขนาดใหญ่เรียกว่า “ไต้ซือเอี๊ย”ซึ่งบนศีรษะมีรูปพระกวนอิม ซึ่งเป็นพระโพธิสัตว์แบ่งภาคมาเกิดเพื่อทำหน้าที่ดูแลมิให้พวกปีศาจแย่งชิงเครื่องเซ่น การประกอบพิธีที่ปฏิบัติกันทั่วไปนั้นจะมีการเชิญเจ้าพ่อ เจ้าแม่ เจ้าปู ที่มาจากที่ต่าง ๆ มายังโรงพิธีและเชิญกระถางธูปจากศาลเจ้าไปร่วมพิธีด้วย การทิ้งกระจาดแบ่งออกได้สองอย่าง คือ
การทิ้งกระจาดฟ้า ซึ่งกระทำโดยจัดสิ่งของที่จะทิ้งไว้บนที่สูงแล้วโยนทิ้งสิ่งของบางอย่างลงมา โยนทิ้งไม้ติ้วมีเบอร์บ้าง อีกอย่างหนึ่งคือการทิ้งกระจาดดิน
เป็นการกำหนดภายหลังต่อจากการทิ้งกระจาดฟ้าแล้ว 10 วัน กระทำโดยจัดสิ่งของวางทิ้งไว้บนดินเพื่อเป็นการทิ้งให้พวกภูตผีปีศาจทั้งหลาย
คุณค่าของวัฒนธรรม : ทำให้เกิดความภาคภูมิใจมนประเพณีของตน และสืบทอดประเพณีต่อไป

๕.ประเพณีถวายสลากภัต 
บริเวณแหล่งวัฒนธรรม:  จังหวัดสระบุรี
ลักษณะของวัฒนธรรม:    มีการถวายอาหารแด่ภิกษุโดยวิธีการจับสลาก แต่มีหลักอยู่ที่การถวายโดยให้ภิกษุจับสลากก่อน ภิกษุรูปใดจับสลากได้ของผู้ใดก็รับอาหารจากผู้นั้น บางแห่งนิยมทำในฤดูกาลที่มีผลไม้ดกและสุก นำมาถวายเป็นสลากภัต ที่นิยมทำในท้องถิ่นสระบุรีคือ สานกระจาดใหญ่ด้วยไม้ไผ่ ประดับกระดาษให้สวยงามนำอาหารหรือเครื่องสมณะอุปโภคบริโภคใส่ลงใน กระจาด หากมีฝีมือยิ่งขึ้นไปก็อาจนำไม้ยาวประมาณ ๖ เมตร มาปักกลางกระจาด ทำเป็นฉัตรหลายชั้นขึ้นไปตกแต่งสวยงาม เมื่อถึงวันงานที่กำหนดก็นำกระจาดหรือต้นสลากนี้ไปรวมกันที่วัด นิมนต์พระมาเทศน์อานิสงส์ จบแล้วกล่าวคำถวายสลากภัตและให้ภิกษุจับสลาก ภิกษุจับได้สลากของผู้ใดก็ลงไปรับการถวายที่กระจาดหรือต้นสลากของผู้นั้น ให้พรและเจ้าภาพก็กรวดน้ำ ศิษย์วัดก็นำสลากภัตนั้นกลับวัดของตน
คุณค่าของวัฒนธรรม  :เป็นกิจกรรมที่ทำให้เกิดความสามัคคีกันในหมู่คณะ

 คำชี้แจง ให้นักเรียนร่วมกันวิเคราะห์วัฒนธรรมท้องถิ่นในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตามหัวข้อที่กำหนดให้
๑.งานบุญคูนลาน 
บริเวณแหล่งวัฒนธรรม: ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ลักษณะของวัฒนธรรม: เป็นการทำขวัญข้าวก่อนที่จะนำข้าวเข้าสู่ยุ้งฉางเมื่อเก็บเกี่ยวข้าวเสร็จชาวนาจะนำข้าวที่มัดไว้นั้นมากองให้สูงจากพื้นลาน เรียกว่า คูนลาน ผู้ที่ได้ข้าวมากมักจะทำบุญที่ลานข้าว ซึ่งถือเป็นงานบุญอย่างหนึ่งของชาวอีสาน
คุณค่าของวัฒนธรรม :ทำให้รู้ถึงบุญคุณข้าว

๒.บุญบั้งไฟ
บริเวณแหล่งวัฒนธรรม :  ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ลักษณะของวัฒนธรรม :เดือน เมษายน-พฤษภาคม ซึ่งช่วงนี้ชาวนา จะไถนา เป็นการทำบุญบั้งไปเพื่อขอฝน
คุณค่าของวัฒนธรรม :ทำให้รู้คุณค่าของน้ำที่ตนใช้ไป

๓.ผีตาโขน
 บริเวณแหล่งวัฒนธรรม:   อำเภอด่านซ้าย จังหวัดเลย
ลักษณะของวัฒนธรรม: จัดขึ้นในวันข้างขึ้นเดือน 8  จะทำอยู่ 3 วัน  โดยชาวบ้านจะนำรูปหน้ากาก ที่น่าเกลียด น่ากลัวมาสวมใส่โดยแต่งตัวมิดชิดแล้วแห่ เข้าวัด
คุณค่าของวัฒนธรรม  : ทำให้มีจิตใจที่เป็นกุศลเนื่องมาจากการทำบุญตามประเพณี

๔.การแห่ปราสาทผึ้ง 
บริเวณแหล่งวัฒนธรรม  :จังหวัดสกลนคร หนองคาย  นครพนม และ เลย
ลักษณะของวัฒนธรรม :วันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11 หรือวันออกพรรษา  จัดขบวนแห่ปราสาทผึ้งโดยใช้เกวียนลาก มีปราสาทผึ้งและเทพีนั่งอยู่บนเกวียน และในขบวนแห่จะมีการเล่นเครื่องดนตรีอย่างพิณ ฆ้อง กลอง เหล่าผู้เฒ่าผู้แก่และคนหนุ่มสาวจะร่วมเดินในขบวน ถือธูปเทียนแห่รอบพระธาตุเชิงชุมสามรอบ
คุณค่าของวัฒนธรรม :เป็นการทำนุบำรุงศาสนาให้รุ่งเรืองตามประเพณี

๕.ประเพณีไหลเรือไฟ
บริเวณแหล่งวัฒนธรรม:  จังหวัดนครพนม ศรีสะเกษ มหาสารคามและอีกหลายจังหวัดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ลักษณะของวัฒนธรรม  นิยมทำกันในวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11 (วันออกพรรษา)เรือไฟ ทำจากต้นกล้วยและลำไม้ไผ่ที่หาได้มาจัดทำเป็นโครงเรือไฟง่าย ๆ พอที่จะทำให้ลอยน้ำได้ การประดับตกแต่งเรือไฟภายในเรือไฟจะประดับด้วยดอกไม้ ธูป เทียน ตะเกียง ขี้ไต้ สำหรับจุดให้สว่างไสว ก่อนจะปล่อย เรือไฟลงกลางลำน้ำโขง
คุณค่าของวัฒนธรรม:  เป็นที่ยึดเหนี่ยวจิตใจให้แก่ประชาชน  เป็นกิจกรรมที่ทำให้ชาวบ้านเกิดความรักษ์ในวัฒนธรรมของตน  :ทำให้ประชาชนเกิดความศรัทธาในศาสนามากขึ้น
 

คำชี้แจง   ให้นักเรียนร่วมกันวิเคราะห์วัฒนธรรมท้องถิ่นในภาคใต้ตามหัวข้อที่กำหนดให้

๑. ประเพณีลากพระ
บริเวณแหล่งวัฒนธรรม:  ชาวภาคใต้
ลักษณะของวัฒนธรรม:   เริ่มทำในวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11 ประชาชนจะเข้าวัดเพื่อตักบาตร เรียงไว้ตรงหน้าพระที่ลาก เมื่อภิกษุฉันเสร็จ ก็จะนิมนต์นั่งประจำเรือพระ แล้วชาวบ้านก็จะลากพระไปประชาชนที่รออยู่ก็จะนำต้ม มาแขวนที่ล้อเลื่อนตลอดทาง
คุณค่าของวัฒนธรรม : ผู้คนเกิดความสามัคคี เป็นการอนุรักษ์วัฒนธรรม

๒.  ประเพณีสารทเดือนสิบ 
บริเวณแหล่งวัฒนธรรม: จังหวัด นครศรีธรรมราช
ลักษณะของวัฒนธรรม: ชาวบ้านจะทำบุญให้แก่ผู้ที่ล่วงลับไปแล้ว
คุณค่าของวัฒนธรรม  :เป็นการอนุรักษ์ให้คนรุ่นหลังได้สืบทอดวัฒนธรรมต่อไป
 

๓.  การรำโนรา 
บริเวณแหล่งวัฒนธรรม :  ภาคใต้
ลักษณะของวัฒนธรรม: โนราเป็นการแสดงเพื่อความบันเทิง
คุณค่าของวัฒนธรรม  :เพื่อแสดงความกตัญญูรู้คุณต่อครู หรือเพื่อพิธีแก้บน

๔. เทศกาลกินเจ 
บริเวณแหล่งวัฒนธรรม: ชาวภูเก็ต
ลักษณะของวัฒนธรรม:  ชาวภูเก็ตถือศีลโดยการกินผัก
คุณค่าของวัฒนธรรม : เป็นการอนุรักษ์วัฒนธรรมของท้องถิ่นให้คงอยู่
 
๕ ประเพณีแห่ผ้าขึ้นธาตุ
บริเวณแหล่งวัฒนธรรม: จังหวัดนครศรีธรรมราช
ลักษณะของวัฒนธรรม: งานประเพณีสำคัญที่จัดขึ้นในเดือนกุมภาพันธ์ของทุกปี เพื่อนมัสการองค์พระบรมธาตุเมืองนครศรีธรรมราชในงานมีการกวนข้าวมธุปายาส ประกวดผ้าพระบฏและโคมประดับ และมีการแห่ผ้าขึ้นธาตุไปตามถนนแล้วนำไปห่มองค์พระธาตุเป็นการสักการบูชา
คุณค่าของวัฒนธรรม: เป็นการอนุรักษ์วัฒนธรรมของท้องถิ่นให้คงอยู่

CoolLaughingSurprisedLaughingWinkTongue out

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 350 คน กำลังออนไลน์