• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:da2ea41693e6c6465d90537865f2e29a' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff6600\"><strong>แบบทดสอบการเรียนรู้ </strong></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff6600\"><strong>เรื่อง ประวัติและความสำคัญของพระพุทธศาสนา</strong></span>\n</p>\n<p>\n<br />\n <strong><span style=\"color: #0000ff\">คำชี้แจง     ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุด </span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #0000ff\"><br />\n</span></strong>๑.  ความหมายของการศึกษาในทรรศนะของพระพุทธศาสนาคืออะไร        <br />\nก.  การฝึกอบรมตนให้งอกงาม   <br />\nข.  การพัฒนาจิตใจให้มีคุณธรรม  <br />\nค.  การศึกษาหาความรู้อย่างต่อเนื่อง   <br />\nง.  การควบคุมตนเองให้ประพฤติตนอยู่ในวินัย\n</p>\n<p>\n๒.  การควบคุมกาย วาจา ไม่ให้กระทำการที่จะทำให้ผู้อื่นได้รับความเดือดร้อน สอดคล้องกับข้อใด <br />\nก.  การพัฒนาศีล     <br />\nข.  การพัฒนากาย  <br />\nค.  การพัฒนาจิตใจ     <br />\nง.  การพัฒนาปัญญา\n</p>\n<p>\n๓.  กระบวนการศึกษาพระพุทธศาสนาที่เรียกว่า ไตรสิกขา เป็นการฝึกอบรมตนในเรื่องใด  <br />\nก.  ด้านความแข็งแกร่งของจิตใจ ความสงบสุข  <br />\nข.  การเพิ่มพูนความรู้ ความคิด สติปัญญา  <br />\nค.  การรักษาสุขภาพกาย ควบคุมจิตใจ ควบคุมวาจา  <br />\nง.  ความประพฤติทางกาย วาจา จิตใจ และปัญญา\n</p>\n<p>\n๔  .ข้อใดจัดว่าเป็นอธิปัญญาสิกขา  <br />\nก.  ฝึกตนเองให้มีระเบียบวินัยที่ดีงาม  <br />\nข.  การฝึกตนเองให้เป็นผู้ที่รู้จักคิดเป็น แก้ปัญหาเป็น  <br />\nค  .การฝึกตนให้มีความพร้อมทางด้านสมรรถภาพทางจิต  <br />\nง.  การฝึกตนเองให้เป็นผู้ที่แสดงออกทางด้านวาจาที่บ่งบอกถึงความเฉลียวฉลาด\n</p>\n<p>\n  <span style=\"color: #99cc00\"><strong> &quot;เมื่อสิ่งเหล่านี้มี          สิ่งนี้จึงมี  <br />\n    เพราะสิ่งเหล่านี้เกิด     สิ่งเหล่านี้จึงเกิด ...&quot;</strong></span>\n</p>\n<p>\n<br />\n๕.  ข้อความดังกล่าวสอดคล้องกับเรื่องใด  <br />\nก.  หลักอริยสัจ    <br />\nข.  กระบวนการศึกษา  <br />\nค.  บุรพภาคของการศึกษา    <br />\nง.  หลักปฏิจจสมุปบาท\n</p>\n<p>\n๖.  การที่พระพุทธศาสนาสอนเน้นทั้งเหตุทั้งปัจจัย เพราะเหตุผลในข้อใด  <br />\nก.  เพื่อให้บุคคลมีความเชื่อมั่นในตนเองมากขึ้น  <br />\nข.  เพื่อให้เข้าใจความสัมพันธ์ของสิ่งต่าง ๆ ที่อยู่ในโลกนี้  <br />\nค.  เพื่อให้พุทธศาสนิกชนรู้จักใช้ปัญญาในการแก้ปัญหาต่าง ๆ  <br />\nง.  เพื่อให้รู้จักมองสิ่งทั้งหลายตามที่เป็นจริง สามารถแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นได้ตรงจุดและถูกต้อง\n</p>\n<p>\n๗.  ข้อใดเป็นหลักแห่งการแก้ปัญหาชีวิต <br />\nก. ปัญญา ๓  <br />\nข. มรรค ๘  <br />\nค. อริยสัจ ๔  <br />\nง. อิทธิบาท ๔\n</p>\n<p>\n<br />\n๘.  องค์ประกอบสำคัญประการแรกในการแก้ปัญหานั้นคืออะไร<br />\nก.  ศีล   <br />\nข.  ปัญญา  <br />\nค.  กรรม  <br />\nง.  ภาวนา\n</p>\n<p>\n<br />\n๙.  ชานนท์มีปัญหาเรื่องผลการเรียนตกต่ำจากเดิม เมื่อเขารู้สาเหตุที่แท้จริงแล้วเขาก็พยายามแก้ไข ดังนั้น   <br />\n    เขาจะต้องใช้หลักธรรมใดมาเป็นแนวทางการแก้ไขเพื่อให้การแก้ปัญหาประสบผลสำเร็จ <br />\nก.  ฉันทะ   <br />\nข.  วิริยะ  <br />\nค.  เมตตา  <br />\nง.  กรุณา\n</p>\n<p>\n๑๐.  การฝึกตนไม่ให้ประมาทนั้นจะต้องอาศัยหลักในข้อใดเป็นแนวทางการปฏิบัติ ก. <br />\nก.  สติ   <br />\nข.  ศีล   <br />\nค.  กรรม  <br />\nง.  ความขยัน\n</p>\n<p>\n๑๑  .&quot;เมื่อไตรภพได้รับเงินเดือนจากการทำงานในบริษัทส่งออกสินค้าหัตถกรรมพื้นบ้าน เขาก็แบ่งเงินไปฝากธนาคารจำนวนหนึ่ง<br />\nทุกๆเดือน ทำให้เขามีเงินเก็บเพื่อไว้ใช้จ่ายในสิ่งที่จำเป็น เพื่อน ๆ พากันชมเชยว่าเขาเป็นตัวอย่างที่ดีมาก&quot;<br />\n การกระทำของไตรภพสอดคล้องกับข้อใด<br />\nก.  คิหิสุข   <br />\nข.  อัตถิสุข  <br />\nค.  อนณสุข  <br />\nง.  กามโภคีสุข\n</p>\n<p>\n๑๒.  ธรรมะพื้นฐานซึ่งถ้าบุคคลสามารถปฏิบัติได้ย่อมจะทำให้เกิดสันติภาพในสังคมคือข้อใด <br />\nก.  อิทธิบาท ๔     <br />\nข.  สังคหวัตถุ ๔ <br />\nค.  ขันติ-โสรัจจะ     <br />\nง   เบญจศีล–เบญจธรรม<br />\n๑๓.  พระพุทธศาสนาสอนให้คนมีความเมตตาต่อกันทั้งต่อหน้าและลับหลัง เป็นไปตามหลักธรรมข้อใด <br />\nก.  นิวรณ์ ๕   อกุศลมูล ๓    <br />\nข.  อธิปไตย ๓   อิทธิบาท ๔ <br />\nค.  กุศลมูล ๓   อิทธิบาท ๔    <br />\nง.  พรหมวิหาร ๔   สาราณียธรรม ๖\n</p>\n<p>\n๑๔. การที่คนไทยและชาวต่างชาติร่วมมือกันช่วยเหลือผู้ประสบภัยจากคลื่นยักษ์สึนามิ สอดคล้อง <br />\nกับหลักของพระพุทธศาสนาในเรื่องใด<br />\nก.  การเป็นคนใจกว้าง    <br />\nข.  การมีอัตตาที่เบาบาง <br />\nค.  ความเสียสละภายในและภายนอก   <br />\nง.  การเอาชนะความชั่วร้ายด้วยความดี\n</p>\n<p>\n๑๕. ในการประชุมกลุ่มย่อยเพื่อนำเสนอผลงานต่อชั้นเรียน สมาชิกของกลุ่มต่างก็เสนอวิธีการที่ <br />\nหลากหลายแต่ในที่สุดก็สามารถตกลงกันได้สอดคล้องกับข้อใด <br />\nก.  ความเสียสละ     <br />\nข.  การเอาชนะความชั่วด้วยความดี<br />\nค.  การให้เกียรติและเคารพซึ่งกันและกัน  <br />\nง.   ความเป็นผู้มีใจกว้างยอมรับความแตกต่าง\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #0000ff\">********************</span>\n</p>\n', created = 1715959106, expire = 1716045506, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:da2ea41693e6c6465d90537865f2e29a' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

แบบทดสอบการเรียนรู้ เรื่องประวัติและความสำคัญของพระพุทธศาสนา

รูปภาพของ mwksaipin

แบบทดสอบการเรียนรู้ 

เรื่อง ประวัติและความสำคัญของพระพุทธศาสนา


 คำชี้แจง     ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุด


๑.  ความหมายของการศึกษาในทรรศนะของพระพุทธศาสนาคืออะไร        
ก.  การฝึกอบรมตนให้งอกงาม   
ข.  การพัฒนาจิตใจให้มีคุณธรรม  
ค.  การศึกษาหาความรู้อย่างต่อเนื่อง   
ง.  การควบคุมตนเองให้ประพฤติตนอยู่ในวินัย

๒.  การควบคุมกาย วาจา ไม่ให้กระทำการที่จะทำให้ผู้อื่นได้รับความเดือดร้อน สอดคล้องกับข้อใด
ก.  การพัฒนาศีล     
ข.  การพัฒนากาย  
ค.  การพัฒนาจิตใจ     
ง.  การพัฒนาปัญญา

๓.  กระบวนการศึกษาพระพุทธศาสนาที่เรียกว่า ไตรสิกขา เป็นการฝึกอบรมตนในเรื่องใด  
ก.  ด้านความแข็งแกร่งของจิตใจ ความสงบสุข  
ข.  การเพิ่มพูนความรู้ ความคิด สติปัญญา  
ค.  การรักษาสุขภาพกาย ควบคุมจิตใจ ควบคุมวาจา  
ง.  ความประพฤติทางกาย วาจา จิตใจ และปัญญา

๔  .ข้อใดจัดว่าเป็นอธิปัญญาสิกขา  
ก.  ฝึกตนเองให้มีระเบียบวินัยที่ดีงาม  
ข.  การฝึกตนเองให้เป็นผู้ที่รู้จักคิดเป็น แก้ปัญหาเป็น  
ค  .การฝึกตนให้มีความพร้อมทางด้านสมรรถภาพทางจิต  
ง.  การฝึกตนเองให้เป็นผู้ที่แสดงออกทางด้านวาจาที่บ่งบอกถึงความเฉลียวฉลาด

   "เมื่อสิ่งเหล่านี้มี          สิ่งนี้จึงมี  
    เพราะสิ่งเหล่านี้เกิด     สิ่งเหล่านี้จึงเกิด ..."


๕.  ข้อความดังกล่าวสอดคล้องกับเรื่องใด  
ก.  หลักอริยสัจ    
ข.  กระบวนการศึกษา  
ค.  บุรพภาคของการศึกษา    
ง.  หลักปฏิจจสมุปบาท

๖.  การที่พระพุทธศาสนาสอนเน้นทั้งเหตุทั้งปัจจัย เพราะเหตุผลในข้อใด  
ก.  เพื่อให้บุคคลมีความเชื่อมั่นในตนเองมากขึ้น  
ข.  เพื่อให้เข้าใจความสัมพันธ์ของสิ่งต่าง ๆ ที่อยู่ในโลกนี้  
ค.  เพื่อให้พุทธศาสนิกชนรู้จักใช้ปัญญาในการแก้ปัญหาต่าง ๆ  
ง.  เพื่อให้รู้จักมองสิ่งทั้งหลายตามที่เป็นจริง สามารถแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นได้ตรงจุดและถูกต้อง

๗.  ข้อใดเป็นหลักแห่งการแก้ปัญหาชีวิต
ก. ปัญญา ๓  
ข. มรรค ๘  
ค. อริยสัจ ๔  
ง. อิทธิบาท ๔


๘.  องค์ประกอบสำคัญประการแรกในการแก้ปัญหานั้นคืออะไร
ก.  ศีล   
ข.  ปัญญา  
ค.  กรรม  
ง.  ภาวนา


๙.  ชานนท์มีปัญหาเรื่องผลการเรียนตกต่ำจากเดิม เมื่อเขารู้สาเหตุที่แท้จริงแล้วเขาก็พยายามแก้ไข ดังนั้น  
    เขาจะต้องใช้หลักธรรมใดมาเป็นแนวทางการแก้ไขเพื่อให้การแก้ปัญหาประสบผลสำเร็จ
ก.  ฉันทะ   
ข.  วิริยะ  
ค.  เมตตา  
ง.  กรุณา

๑๐.  การฝึกตนไม่ให้ประมาทนั้นจะต้องอาศัยหลักในข้อใดเป็นแนวทางการปฏิบัติ ก. 
ก.  สติ   
ข.  ศีล   
ค.  กรรม  
ง.  ความขยัน

๑๑  ."เมื่อไตรภพได้รับเงินเดือนจากการทำงานในบริษัทส่งออกสินค้าหัตถกรรมพื้นบ้าน เขาก็แบ่งเงินไปฝากธนาคารจำนวนหนึ่ง
ทุกๆเดือน ทำให้เขามีเงินเก็บเพื่อไว้ใช้จ่ายในสิ่งที่จำเป็น เพื่อน ๆ พากันชมเชยว่าเขาเป็นตัวอย่างที่ดีมาก"
 การกระทำของไตรภพสอดคล้องกับข้อใด
ก.  คิหิสุข   
ข.  อัตถิสุข  
ค.  อนณสุข  
ง.  กามโภคีสุข

๑๒.  ธรรมะพื้นฐานซึ่งถ้าบุคคลสามารถปฏิบัติได้ย่อมจะทำให้เกิดสันติภาพในสังคมคือข้อใด
ก.  อิทธิบาท ๔     
ข.  สังคหวัตถุ ๔
ค.  ขันติ-โสรัจจะ     
ง   เบญจศีล–เบญจธรรม
๑๓.  พระพุทธศาสนาสอนให้คนมีความเมตตาต่อกันทั้งต่อหน้าและลับหลัง เป็นไปตามหลักธรรมข้อใด
ก.  นิวรณ์ ๕   อกุศลมูล ๓    
ข.  อธิปไตย ๓   อิทธิบาท ๔
ค.  กุศลมูล ๓   อิทธิบาท ๔    
ง.  พรหมวิหาร ๔   สาราณียธรรม ๖

๑๔. การที่คนไทยและชาวต่างชาติร่วมมือกันช่วยเหลือผู้ประสบภัยจากคลื่นยักษ์สึนามิ สอดคล้อง
กับหลักของพระพุทธศาสนาในเรื่องใด
ก.  การเป็นคนใจกว้าง    
ข.  การมีอัตตาที่เบาบาง
ค.  ความเสียสละภายในและภายนอก   
ง.  การเอาชนะความชั่วร้ายด้วยความดี

๑๕. ในการประชุมกลุ่มย่อยเพื่อนำเสนอผลงานต่อชั้นเรียน สมาชิกของกลุ่มต่างก็เสนอวิธีการที่
หลากหลายแต่ในที่สุดก็สามารถตกลงกันได้สอดคล้องกับข้อใด
ก.  ความเสียสละ     
ข.  การเอาชนะความชั่วด้วยความดี
ค.  การให้เกียรติและเคารพซึ่งกันและกัน  
ง.   ความเป็นผู้มีใจกว้างยอมรับความแตกต่าง

 

********************

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 353 คน กำลังออนไลน์