• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:cf2ece036d6edba42f18f46c30e0c937' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\nความหมายของคำว่าจริยธรรม และคุณธรรม\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img border=\"0\" width=\"124\" src=\"/files/u10045/0001.jpg\" height=\"121\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\nเมื่อปลายปี 2550 คณะกรรมาธิการศาสนา คุณธรรม วัฒนธรรม และศิลปะ ได้จัดรายการแถลงข่าว โดยยกย่องคุณธรรมแห่งการรักแม่เป็นคุณธรรมเริ่มแรกแห่งคุณธรรมทั้งหลาย ซึ่งได้รับการสนับสนุนและเห็นดีเห็นชอบจากสื่อมวลชนทั้งหลายและผู้ร่วมงานให้กำลังใจมากมาย และ พลเอกปรีชา โรจนเสน ประธานกรรมาธิการ ได้กำชับให้ผมพยายามสร้างความเข้าใจในความหมายของคำคุณธรรมจริยธรรมให้กระจ่างกันเสียที ผมเห็นด้วย จึงค้นคว้ามาเสนอในคอลัมน์นี้\n</p>\n<p align=\"center\">\nขอเริ่มที่คำคุณธรรมก่อน เปิดพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานฉบับ พ.ศ. 2542 ดูที่คำคุณธรรม พบคำนิยามสั้น ๆ ว่าสภาพคุณงามความ ดี จากนิยามนี้จึงได้ยินคำอธิบายจากหลายคนว่า “ได้แก่ความดีที่อยู่ภายใน” ซึ่งน่าจะหมายความว่าเป็นภาวะรวม ๆ แห่งการทำดีทุกอย่าง อย่างที่ภาษาอังกฤษใช้คำว่า goodness เพื่อหมายถึงภาวะแห่งการทำดีอย่างรวม ๆ เมื่อเทียบกับจริยธรรมซึ่งพจนานุกรมเดียวกันนิยามว่า “ธรรมที่เป็นข้อประพฤติปฏิบัติ, ศีลธรรม, กฎศีลธรรม” ซึ่งน่าจะเข้าใจได้ว่าหมายถึงภาวะการทำดีที่กำหนดได้เป็น ข้อ ๆ เหมือนกฎหมายที่กำหนดได้เป็นมาตรา ๆ ศีลธรรมที่กำหนดได้เป็นข้อ ๆ เหมือนศีล 5 กำหนด ได้เป็น 5 ข้อ บัญญัติ 10 ประการกำหนดได้เป็น 10 ข้อ\n</p>\n<p align=\"center\">\nเปิดดูพจนานุกรมศัพท์ปรัชญาของราชบัณฑิตยสถานฉบับ พ.ศ. 2532 ที่คำว่าคุณธรรม พบคำแปลว่า virtue และเปิดดูที่คำ virtue ก็พบคำแปลและนิยามว่า “คุณธรรม : หลักที่มนุษย์ถือเป็นแนวทางที่ถูกต้องในการดำเนินชีวิต เช่น ความยุติธรรม ความเมตตา ฯลฯ” ซึ่งน่าจะตีความได้ว่าหมายถึงความดีเป็นข้อ ๆ ซึ่งน่าจะตรงกับคำนิยาม “จริยธรรม” ของพจนานุกรมราชบัณฑิตยสถานฉบับ พ.ศ. 2542 นั่นเอง แค่นี้ก็สับสนพอดูอยู่แล้วสำหรับผู้อยากได้นิยามชัดเจน\n</p>\n<p align=\"center\">\nสำรวจดูจากงานเขียนของนักเขียนอื่น ๆ ในภาษาไทย ก็จะพบคำนิยามและคำอธิบายต่าง ๆนานา ซึ่งก็พอจะตีความได้อย่างรวม ๆ ว่า หมายถึงหลักและแนวปฏิบัติ ซึ่งเมื่อยังไม่ปฏิบัติเรียกว่าคุณธรรม หากปฏิบัติก็เป็นจริยธรรม (อาจจะตีความจากคำอธิบายของพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานกระมังที่นิยามจริยธรรมว่า “ธรรมที่เป็นข้อประพฤติปฏิบัติ” โดยยกเอา “ข้อ” ออก แล้วเอาคำว่า “การ” ใส่เข้าไปแทน กลายเป็น “ธรรมที่เป็นการปฏิบัติ”\n</p>\n<p align=\"center\">\nที่น่าสนใจมาก ๆ คือ นิยามของพระเดชพระคุณท่านอธิการบดีมหาวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ขณะดำรงสมณศักดิ์พระเมธีธรรมาภรณ์ (พ.ศ. 2537) ว่า “คุณธรรมเป็นเรื่องของสัจธรรม ทำให้เกิดการประพฤติ ปฏิบัติดี ทำให้เกิดการรักษาศีล กระจายออกเป็นจริยธรรมและจรรยาบรรณ จริยธรรมจึงเป็นการดำเนินการให้สอดคล้องกับสัจธรรม จริยธรรมจึงเป็นหลักแห่งความประพฤติที่ดีงาม เพื่อประโยชน์ตนและสังคม” ตรงนี้เองกระมังเป็นที่มาของนิยามของผู้สนใจเรื่องนี้ทั่ว ๆ ไปว่า “คุณธรรมเป็นหลักความดีภายใน และจริยธรรมคือการปฏิบัติตามหลักคุณธรรม” ถือได้ว่าเข้าทิศทางสากลแล้ว แต่ก็ยังต้องช่วยกันขยายความมากกว่านี้ <br />\nอ้างอิงจาก <a href=\"http://www.kroobannok.com/1187\">http://www.kroobannok.com/1187</a>\n</p>\n<p align=\"center\">\nจริยธรรมและคุณธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์ <br />\nในปัจจุบันคอมพิวเตอร์ถูกการใช้กันอย่างแพร่หลาย ทั้งในด้านการทำงาน เล่นเกม สนทนา ติดธุรกิจ การป้องกันภัย รวมถึงเพื่อความบันเทิงด้วย ปัจจุบันมีคนใช้คอมพิวเตอร์ในทางที่เสื่อมเสีย และก่อให้เกิดโทษตามมามากมาย เพระผู้ใช้เหล่านั้นยังไม่มีคุณธรรมและจริยธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์ ซึ่งคุณสมบัติดังกล่าวนี้หากบุคคลผู้ใช้คอมพิวเตอร์ผู้ใดยังไม่มีแล้ว จะก่อให้เกิดความเสียหายตามมาอีกมาก\n</p>\n<p align=\"center\">\nดังนั้นไม่ว่าทุกๆคนจะใช้คอมพิวเตอร์ในทางใดก็ตามทุกคนก็ควรจะมีจริยธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์กันให้มากๆน้ะค้ะ\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p align=\"center\">\nจริยธรรม (Ethics) เป็นเรื่องของการกำหนดความถูกต้องดีงาม สิ่งที่ไม่ควรทำ มีหลักปฏิบัติในระดับที่สูงกว่ามารยาทในสังคม เช่น คนที่ไม่ยอมเข้าแถวเพื่อขอรับบริการตามสิทธิ์ก่อนหลังอาจถือว่าไม่มีมารยาทหรือพนักงานคอมพิวเตอร์คนหนึ่งเอาข้อมูลทางการเงินของลูกค้าที่เขาจะต้องเห็นตามหน้าที่การงานไปหาผลประโยชน์แก่ตนเอง เช่น ขายรายชื่อนั้นให้ธุรกิจอื่น หรือบอกให้แก่คู่สมรสซึ่งเป็นพนักงานขายตรงไปเสนอขายสินค้า การกระทำเช่นนี้ถือว่าไม่ถูกต้อง ไม่มีจริยธรรม จริงอยู่ แม้ว่าบริษัทที่พนักงานผู้นั้นทำงานอยู่จะไม่เสียหาย แต่การนำเอาของบริษัทไปใช้เพื่อประโยชน์ส่วนตัวก็เป็นสิ่งที่ไม่อาจทำได้อย่างเปิดเผย หรือพนักงานขายสินค้าของทางบริการหนึ่งซึ่งลาออกจากบริษัทเพื่อไปทำงานกับบริษัทคู่แข่งแล้วใช้ประโยชน์จากความรู้ในเรื่องข้อมูลราคาหรือความลับทางการค้าของบริษัทแรกไปให้บริษัทหลัง ก็อาจเรียกได้ว่าพนักงานคนนั้นไม่มีจริยธรรม เมื่อสังคมสลับซับซ้อนขึ้น มีการแบ่งหน้าที่กันออกเป็นหน้าที่ต่าง ๆ จึงมีข้อกำหนดที่เรียกว่า “จรรยาวิชาชีพ” (Code of Conduct) ขึ้น เพื่อใช้เป็นหลักปฏิบัติของคนในอาชีพนั้น ๆ เราคงเคยได้ยิน จรรยาบรรณของแพทย์ ที่จะไม่เปิดเผยเรื่องราวส่วนตัวของคนไข้ จรรยาบรรณของนักหนังสือพิมพ์ที่รับเงินทองสิ่งตอบแทนเพื่อเสนอข่าวหรือไม่เสนอข่าวไม่เปิดเผยแหล่งข่าวถ้าแหล่งข่าวไม่ต้องการจรรยาบรรณวิชาชีพของสถาปนิกหรือวิศวกรผู้ออกแบบที่ต้องไม่รับผลประโยชน์ใด ๆ จากผู้ขายอุปกรณ์ที่ใช้ในงานที่เขาออกแบบ ซึ่งขายให้กับผู้ว่าจ้างงานชิ้นนั้นเพราะเขาได้รับปลตอบแทนจากผู้ว่าจ้างแล้ว จรรยาบรรณของวิชาชีพใด ก็มักกำหนดขึ้นโดยสมาคมวิชาชีพนั้น โดยมีข้อกำหนด บทลงโทษที่นอกเหนือไปจากกฏหมายบ้านเมือง เช่น เพิกถอนสมาชิกภาพ เพิกถอนหรือพักใบประกอบวิชาชีพ และอาจมีกฏหมายรองรับอีกด้วย อาชีพนักคอมพิวเตอร์ เป็นอาชีพใหม่ในสังคมสารสนเทศ การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ ก็เป็นสิ่งใหม่ที่มีศีลธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณเฉพาะของตนซึ่งบางครั้งก็แตกต่างจากจริยธรรมที่ยอมรับกันมาแต่ก่อน หลักพื้นฐานของจริยธรรมในสังคมสารสนเทศก็คือการเคารพผู้อื่น เคารพความเป็นส่วนตัว การเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์และข้อมูลก็จะเฉพาะสิทธิ์ที่ตนเองมีในส่วนที่เกี่ยวข้องกับงาน\n</p>\n<p align=\"center\">\nบัญญัติ 10 ประการของผู้ใช้คอมพิวเตอร์\n</p>\n<p align=\"center\">\n1. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายผู้อื่น\n</p>\n<p align=\"center\">\n2. ไม่รบกวนจนงานคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น\n</p>\n<p align=\"center\">\n3. ไม่แอบดูแฟ้มข้อมูลของผู้อื่น\n</p>\n<p align=\"center\">\n4. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อลักขโมย\n</p>\n<p align=\"center\">\n5. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อเป็นพยานเท็จ\n</p>\n<p align=\"center\">\n6. ไม่ใช้หรือทำสำเนาซอฟต์แวร์ที่ตนไม่ได้ซื้อสิทธิ์\n</p>\n<p align=\"center\">\n7. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยไม่มีอำนาจหน้าที่\n</p>\n<p align=\"center\">\n8. ไม่ฉวยเอาทรัพย์ทางปัญญาของผู้อื่นมาเป็นของตน\n</p>\n<p align=\"center\">\n9. คิดถึงผลต่อเนื่องทางสังคมของโปรแกรมที่เขียน\n</p>\n<p align=\"center\">\n10. ใช้คอมพิวเตอร์ในทางที่แสดงถึงความใคร่ครวญและเคารพ จรรยาวิชาชีพ ของสมาชิกสมาคมเครื่องจักรกลคอมพิวเตอร์\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n1.ควรใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในทางที่ถูกต้อง\n</p>\n<p align=\"center\">\n2.ควรมีมารยาทในการใช้ไม่แอบดูข้อมูลของผู้อื่นที่ไม่อนุญาต\n</p>\n<p align=\"center\">\n3.ไม่ใช้เทคโนโลยีในทางที่ผิด เช่น การขโมยข้อมูลของบุคคลอื่น หรือการทำให้ผู้อื่นเสื่อมเสียไม่ว่าจะทางชื่อเสียง ทางสังคม และอื่นๆ ซึ่งเป็นการไม่สมควรอย่างยิ่ง\n</p>\n<p align=\"center\">\n4.ควรช่วยกันรักษาคุณธรรมในการใช้เทคโนโลยีเอาไว้\n</p>\n<p align=\"center\">\n5.หากว่าเราไม่ได้เป็นผู้ที่กระทำแต่หากพบเห็นบุคคลอื่นก็ควรที่จะว่ากล่าวตักเตือนให้เขาทำในสิ่งที่ถูกต้อง6.ใช้คอมพิวเตอร์ในเชิงสร้างสรรค์ไม่ก่อความเดือดร้อนให้แก่บุคคลอื่น\n</p>\n<p align=\"center\">\n8.ควรใช้คอมพิวเตอร์ในเชิงสร้างสรรค์\n</p>\n<p align=\"center\">\n9.ไม่ทำให้ตนเองและผู้อื่นเดือดร้อน\n</p>\n<p align=\"center\">\n10.หากมีบุคคลใดส่งข้อมูลมาให้โดยเราไม่รู้จักก็ควรหลีกเลี่ยงโดยการไม่เปิดเพื่อป้องกันไวรัส\n</p>\n<p align=\"center\">\n11.ในการทำงานต่างๆต้องตรวจเช็คข้อมูลให้\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p align=\"center\">\n12.ในการทำสิ่งใดแต่ละครั้งควรคิดถึงผลที่จะตามมาให้ละเอียดถี่ถ้วนเพื่อป้องกันการผิดพลาดในภายหลัง13.ไม่เปิดเว็บภาพลามก\n</p>\n<p align=\"center\">\n14.ไม่ส่งจดหมายลูกโซ่ให้กับผู้อื่น\n</p>\n<p align=\"center\">\n15.ไม่ส่งจดหมายเท็จให้กับผู้อื่นเพราะอาจเกิดการสูญเสีย\n</p>\n<p align=\"center\">\n16.ไม่ส่งแฟ้มไวรัสให้คอมเครื่องอื่น\n</p>\n<p align=\"center\">\n17.ช่วยกันตรวจตราผู้ที่หน้าสงสัย\n</p>\n<p align=\"center\">\n18.ช่วยกันเป็นตาให้กับส่วนรวมหากมีสิ่งใดผิดปกติจะได้หาทางแก้ใขได้ทัน\n</p>\n<p align=\"center\">\n19.ช่วยกันรณรงค์การรักษาสิ่งของ\n</p>\n<p align=\"center\">\n20.ช่วยกันลบข้อมูลที่ไม่ดีออกไป\n</p>\n<p align=\"center\">\n21.ถ้ามีคนทำการแบบนี้ให้ทำโทษโดยการไม่ให้ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์\n</p>\n<p align=\"center\">\n22.ไม่ควรเล่นเกมการพนัน\n</p>\n<p align=\"center\">\n23.ไม่ควรเลียนแบบความรุนเเรงในสิ่งเร้า\n</p>\n<p align=\"center\">\n24.เล่นเกมที่มีทักษะหรือค้นหาความรู้แทน\n</p>\n<p align=\"center\">\n25. หลีกเลี่ยงเกมไร้สาระ\n</p>\n<p align=\"center\">\n26.เมื่อเข้าไปใช้บริการเว็บใดก็ควรปฏิบัติตามคำแนะนำของเว็บนั้น (ในทางที่ถูกต้อง)\n</p>\n<p align=\"center\">\n27.ในการใช้คอมพิวเตอร์ควรติดตั้งเครื่องแสกนไวรัส\n</p>\n<p align=\"center\">\n28.ไม่โหลดรูปภาพลามกไว้ในเครื่องคอมพิวเตอร์หรือข้อมูลที่ไม่จำเป็น\n</p>\n<p align=\"center\">\n29.เคารพสิทธิเสรีภาพของบุคคลอื่นใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการเผยแผ่หลักธรรมคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าอย่างที่จริง\n</p>\n<p align=\"center\">\nอ้างอิงจาก <a href=\"http://www.kroobannok.com/1187\">http://www.kroobannok.com/1187</a>\n</p>\n<p align=\"center\">\nสรุป  \n</p>\n<p align=\"center\">\nความหมายของคำว่าจริยธรรม และคุณธรรม\n</p>\n<p align=\"center\">\nเมื่อปลายปี 2550 คณะกรรมาธิการศาสนา คุณธรรม วัฒนธรรม และศิลปะ ได้จัดรายการแถลงข่าว โดยยกย่องคุณธรรมแห่งการรักแม่เป็นคุณธรรมเริ่มแรกแห่งคุณธรรมทั้งหลาย ซึ่งได้รับการสนับสนุนและเห็นดีเห็นชอบจากสื่อมวลชนทั้งหลายและผู้ร่วมงานให้กำลังใจมากมาย และ พลเอกปรีชา โรจนเสน ประธานกรรมาธิการ ได้กำชับให้ผมพยายามสร้างความเข้าใจในความหมายของคำคุณธรรมจริยธรรมให้กระจ่างกันเสียที ผมเห็นด้วย จึงค้นคว้ามาเสนอในคอลัมน์นี้\n</p>\n<p align=\"center\">\nขอเริ่มที่คำคุณธรรมก่อน เปิดพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานฉบับ พ.ศ. 2542 ดูที่คำคุณธรรม พบคำนิยามสั้น ๆ ว่าสภาพคุณงามความ ดี จากนิยามนี้จึงได้ยินคำอธิบายจากหลายคนว่า “ได้แก่ความดีที่อยู่ภายใน” ซึ่งน่าจะหมายความว่าเป็นภาวะรวม ๆ แห่งการทำดีทุกอย่าง อย่างที่ภาษาอังกฤษใช้คำว่า goodness เพื่อหมายถึงภาวะแห่งการทำดีอย่างรวม ๆ เมื่อเทียบกับจริยธรรมซึ่งพจนานุกรมเดียวกันนิยามว่า “ธรรมที่เป็นข้อประพฤติปฏิบัติ, ศีลธรรม, กฎศีลธรรม” ซึ่งน่าจะเข้าใจได้ว่าหมายถึงภาวะการทำดีที่กำหนดได้เป็น ข้อ ๆ เหมือนกฎหมายที่กำหนดได้เป็นมาตรา ๆ ศีลธรรมที่กำหนดได้เป็นข้อ ๆ เหมือนศีล 5 กำหนด ได้เป็น 5 ข้อ บัญญัติ 10 ประการกำหนดได้เป็น 10 ข้อ\n</p>\n<p align=\"center\">\nเปิดดูพจนานุกรมศัพท์ปรัชญาของราชบัณฑิตยสถานฉบับ พ.ศ. 2532 ที่คำว่าคุณธรรม พบคำแปลว่า virtue และเปิดดูที่คำ virtue ก็พบคำแปลและนิยามว่า “คุณธรรม : หลักที่มนุษย์ถือเป็นแนวทางที่ถูกต้องในการดำเนินชีวิต เช่น ความยุติธรรม ความเมตตา ฯลฯ” ซึ่งน่าจะตีความได้ว่าหมายถึงความดีเป็นข้อ ๆ ซึ่งน่าจะตรงกับคำนิยาม “จริยธรรม” ของพจนานุกรมราชบัณฑิตยสถานฉบับ พ.ศ. 2542 นั่นเอง แค่นี้ก็สับสนพอดูอยู่แล้วสำหรับผู้อยากได้นิยามชัดเจน\n</p>\n', created = 1729498479, expire = 1729584879, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:cf2ece036d6edba42f18f46c30e0c937' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:41ab09034544fccb27ba4db3fcadfc25' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\nจริยธรรม (Ethics) เป็นเรื่องของการกำหนดความถูกต้องดีงาม สิ่งที่ไม่ควรทำ มีหลักปฏิบัติในระดับที่สูงกว่ามารยาทในสังคม เช่น คนที่ไม่ยอมเข้าแถวเพื่อขอรับบริการตามสิทธิ์ก่อนหลังอาจถือว่าไม่มีมารยาทหรือพนักงานคอมพิวเตอร์คนหนึ่งเอาข้อมูลทางการเงินของลูกค้าที่เขาจะต้องเห็นตามหน้าที่การงานไปหาผลประโยชน์แก่ตนเอง เช่น ขายรายชื่อนั้นให้ธุรกิจอื่น หรือบอกให้แก่คู่สมรสซึ่งเป็นพนักงานขายตรงไปเสนอขายสินค้า การกระทำเช่นนี้ถือว่าไม่ถูกต้อง ไม่มีจริยธรรม จริงอยู่ แม้ว่าบริษัทที่พนักงานผู้นั้นทำงานอยู่จะไม่เสียหาย แต่การนำเอาของบริษัทไปใช้เพื่อประโยชน์ส่วนตัวก็เป็นสิ่งที่ไม่อาจทำได้อย่างเปิดเผย หรือพนักงานขายสินค้าของทางบริการหนึ่งซึ่งลาออกจากบริษัทเพื่อไปทำงานกับบริษัทคู่แข่งแล้วใช้ประโยชน์จากความรู้ในเรื่องข้อมูลราคาหรือความลับทางการค้าของบริษัทแรกไปให้บริษัทหลัง ก็อาจเรียกได้ว่าพนักงานคนนั้นไม่มีจริยธรรม เมื่อสังคมสลับซับซ้อนขึ้น มีการแบ่งหน้าที่กันออกเป็นหน้าที่ต่าง ๆ จึงมีข้อกำหนดที่เรียกว่า “จรรยาวิชาชีพ” (Code of Conduct) ขึ้น เพื่อใช้เป็นหลักปฏิบัติของคนในอาชีพนั้น ๆ เราคงเคยได้ยิน จรรยาบรรณของแพทย์ ที่จะไม่เปิดเผยเรื่องราวส่วนตัวของคนไข้ จรรยาบรรณของนักหนังสือพิมพ์ที่รับเงินทองสิ่งตอบแทนเพื่อเสนอข่าวหรือไม่เสนอข่าวไม่เปิดเผยแหล่งข่าวถ้าแหล่งข่าวไม่ต้องการจรรยาบรรณวิชาชีพของสถาปนิกหรือวิศวกรผู้ออกแบบที่ต้องไม่รับผลประโยชน์ใด ๆ จากผู้ขายอุปกรณ์ที่ใช้ในงานที่เขาออกแบบ ซึ่งขายให้กับผู้ว่าจ้างงานชิ้นนั้นเพราะเขาได้รับปลตอบแทนจากผู้ว่าจ้างแล้ว จรรยาบรรณของวิชาชีพใด ก็มักกำหนดขึ้นโดยสมาคมวิชาชีพนั้น โดยมีข้อกำหนด บทลงโทษที่นอกเหนือไปจากกฏหมายบ้านเมือง เช่น เพิกถอนสมาชิกภาพ เพิกถอนหรือพักใบประกอบวิชาชีพ และอาจมีกฏหมายรองรับอีกด้วย อาชีพนักคอมพิวเตอร์ เป็นอาชีพใหม่ในสังคมสารสนเทศ การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ ก็เป็นสิ่งใหม่ที่มีศีลธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณเฉพาะของตนซึ่งบางครั้งก็แตกต่างจากจริยธรรมที่ยอมรับกันมาแต่ก่อน หลักพื้นฐานของจริยธรรมในสังคมสารสนเทศก็คือการเคารพผู้อื่น เคารพความเป็นส่วนตัว การเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์และข้อมูลก็จะเฉพาะสิทธิ์ที่ตนเองมีในส่วนที่เกี่ยวข้องกับงาน\n</p>\n<p align=\"center\">\nบัญญัติ 10 ประการของผู้ใช้คอมพิวเตอร์\n</p>\n<p align=\"center\">\n1. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายผู้อื่น\n</p>\n<p align=\"center\">\n2. ไม่รบกวนจนงานคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น\n</p>\n<p align=\"center\">\n3. ไม่แอบดูแฟ้มข้อมูลของผู้อื่น\n</p>\n<p align=\"center\">\n4. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อลักขโมย\n</p>\n<p align=\"center\">\n5. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อเป็นพยานเท็จ\n</p>\n<p align=\"center\">\n6. ไม่ใช้หรือทำสำเนาซอฟต์แวร์ที่ตนไม่ได้ซื้อสิทธิ์\n</p>\n<p align=\"center\">\n7. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยไม่มีอำนาจหน้าที่\n</p>\n<p align=\"center\">\n8. ไม่ฉวยเอาทรัพย์ทางปัญญาของผู้อื่นมาเป็นของตน\n</p>\n<p align=\"center\">\n9. คิดถึงผลต่อเนื่องทางสังคมของโปรแกรมที่เขียน\n</p>\n<p align=\"center\">\n10. ใช้คอมพิวเตอร์ในทางที่แสดงถึงความใคร่ครวญและเคารพ จรรยาวิชาชีพ ของสมาชิกสมาคมเครื่องจักรกลคอมพิวเตอร์\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n1.ควรใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในทางที่ถูกต้อง\n</p>\n<p align=\"center\">\n2.ควรมีมารยาทในการใช้ไม่แอบดูข้อมูลของผู้อื่นที่ไม่อนุญาต\n</p>\n<p align=\"center\">\n3.ไม่ใช้เทคโนโลยีในทางที่ผิด เช่น การขโมยข้อมูลของบุคคลอื่น หรือการทำให้ผู้อื่นเสื่อมเสียไม่ว่าจะทางชื่อเสียง ทางสังคม และอื่นๆ ซึ่งเป็นการไม่สมควรอย่างยิ่ง\n</p>\n<p align=\"center\">\n4.ควรช่วยกันรักษาคุณธรรมในการใช้เทคโนโลยีเอาไว้\n</p>\n<p align=\"center\">\n5.หากว่าเราไม่ได้เป็นผู้ที่กระทำแต่หากพบเห็นบุคคลอื่นก็ควรที่จะว่ากล่าวตักเตือนให้เขาทำในสิ่งที่ถูกต้อง6.ใช้คอมพิวเตอร์ในเชิงสร้างสรรค์ไม่ก่อความเดือดร้อนให้แก่บุคคลอื่น\n</p>\n<p align=\"center\">\n8.ควรใช้คอมพิวเตอร์ในเชิงสร้างสรรค์\n</p>\n<p align=\"center\">\n9.ไม่ทำให้ตนเองและผู้อื่นเดือดร้อน\n</p>\n<p align=\"center\">\n10.หากมีบุคคลใดส่งข้อมูลมาให้โดยเราไม่รู้จักก็ควรหลีกเลี่ยงโดยการไม่เปิดเพื่อป้องกันไวรัส\n</p>\n<p align=\"center\">\n11.ในการทำงานต่างๆต้องตรวจเช็คข้อมูลให้\n</p>\n', created = 1729498479, expire = 1729584879, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:41ab09034544fccb27ba4db3fcadfc25' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

จริยธรรม และคุณธรรมที่ดีในการใช้คอมพิวเตอร์

รูปภาพของ dsp6134

จริยธรรม (Ethics) เป็นเรื่องของการกำหนดความถูกต้องดีงาม สิ่งที่ไม่ควรทำ มีหลักปฏิบัติในระดับที่สูงกว่ามารยาทในสังคม เช่น คนที่ไม่ยอมเข้าแถวเพื่อขอรับบริการตามสิทธิ์ก่อนหลังอาจถือว่าไม่มีมารยาทหรือพนักงานคอมพิวเตอร์คนหนึ่งเอาข้อมูลทางการเงินของลูกค้าที่เขาจะต้องเห็นตามหน้าที่การงานไปหาผลประโยชน์แก่ตนเอง เช่น ขายรายชื่อนั้นให้ธุรกิจอื่น หรือบอกให้แก่คู่สมรสซึ่งเป็นพนักงานขายตรงไปเสนอขายสินค้า การกระทำเช่นนี้ถือว่าไม่ถูกต้อง ไม่มีจริยธรรม จริงอยู่ แม้ว่าบริษัทที่พนักงานผู้นั้นทำงานอยู่จะไม่เสียหาย แต่การนำเอาของบริษัทไปใช้เพื่อประโยชน์ส่วนตัวก็เป็นสิ่งที่ไม่อาจทำได้อย่างเปิดเผย หรือพนักงานขายสินค้าของทางบริการหนึ่งซึ่งลาออกจากบริษัทเพื่อไปทำงานกับบริษัทคู่แข่งแล้วใช้ประโยชน์จากความรู้ในเรื่องข้อมูลราคาหรือความลับทางการค้าของบริษัทแรกไปให้บริษัทหลัง ก็อาจเรียกได้ว่าพนักงานคนนั้นไม่มีจริยธรรม เมื่อสังคมสลับซับซ้อนขึ้น มีการแบ่งหน้าที่กันออกเป็นหน้าที่ต่าง ๆ จึงมีข้อกำหนดที่เรียกว่า “จรรยาวิชาชีพ” (Code of Conduct) ขึ้น เพื่อใช้เป็นหลักปฏิบัติของคนในอาชีพนั้น ๆ เราคงเคยได้ยิน จรรยาบรรณของแพทย์ ที่จะไม่เปิดเผยเรื่องราวส่วนตัวของคนไข้ จรรยาบรรณของนักหนังสือพิมพ์ที่รับเงินทองสิ่งตอบแทนเพื่อเสนอข่าวหรือไม่เสนอข่าวไม่เปิดเผยแหล่งข่าวถ้าแหล่งข่าวไม่ต้องการจรรยาบรรณวิชาชีพของสถาปนิกหรือวิศวกรผู้ออกแบบที่ต้องไม่รับผลประโยชน์ใด ๆ จากผู้ขายอุปกรณ์ที่ใช้ในงานที่เขาออกแบบ ซึ่งขายให้กับผู้ว่าจ้างงานชิ้นนั้นเพราะเขาได้รับปลตอบแทนจากผู้ว่าจ้างแล้ว จรรยาบรรณของวิชาชีพใด ก็มักกำหนดขึ้นโดยสมาคมวิชาชีพนั้น โดยมีข้อกำหนด บทลงโทษที่นอกเหนือไปจากกฏหมายบ้านเมือง เช่น เพิกถอนสมาชิกภาพ เพิกถอนหรือพักใบประกอบวิชาชีพ และอาจมีกฏหมายรองรับอีกด้วย อาชีพนักคอมพิวเตอร์ เป็นอาชีพใหม่ในสังคมสารสนเทศ การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ ก็เป็นสิ่งใหม่ที่มีศีลธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณเฉพาะของตนซึ่งบางครั้งก็แตกต่างจากจริยธรรมที่ยอมรับกันมาแต่ก่อน หลักพื้นฐานของจริยธรรมในสังคมสารสนเทศก็คือการเคารพผู้อื่น เคารพความเป็นส่วนตัว การเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์และข้อมูลก็จะเฉพาะสิทธิ์ที่ตนเองมีในส่วนที่เกี่ยวข้องกับงาน

บัญญัติ 10 ประการของผู้ใช้คอมพิวเตอร์

1. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายผู้อื่น

2. ไม่รบกวนจนงานคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น

3. ไม่แอบดูแฟ้มข้อมูลของผู้อื่น

4. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อลักขโมย

5. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อเป็นพยานเท็จ

6. ไม่ใช้หรือทำสำเนาซอฟต์แวร์ที่ตนไม่ได้ซื้อสิทธิ์

7. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยไม่มีอำนาจหน้าที่

8. ไม่ฉวยเอาทรัพย์ทางปัญญาของผู้อื่นมาเป็นของตน

9. คิดถึงผลต่อเนื่องทางสังคมของโปรแกรมที่เขียน

10. ใช้คอมพิวเตอร์ในทางที่แสดงถึงความใคร่ครวญและเคารพ จรรยาวิชาชีพ ของสมาชิกสมาคมเครื่องจักรกลคอมพิวเตอร์

 

1.ควรใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในทางที่ถูกต้อง

2.ควรมีมารยาทในการใช้ไม่แอบดูข้อมูลของผู้อื่นที่ไม่อนุญาต

3.ไม่ใช้เทคโนโลยีในทางที่ผิด เช่น การขโมยข้อมูลของบุคคลอื่น หรือการทำให้ผู้อื่นเสื่อมเสียไม่ว่าจะทางชื่อเสียง ทางสังคม และอื่นๆ ซึ่งเป็นการไม่สมควรอย่างยิ่ง

4.ควรช่วยกันรักษาคุณธรรมในการใช้เทคโนโลยีเอาไว้

5.หากว่าเราไม่ได้เป็นผู้ที่กระทำแต่หากพบเห็นบุคคลอื่นก็ควรที่จะว่ากล่าวตักเตือนให้เขาทำในสิ่งที่ถูกต้อง6.ใช้คอมพิวเตอร์ในเชิงสร้างสรรค์ไม่ก่อความเดือดร้อนให้แก่บุคคลอื่น

8.ควรใช้คอมพิวเตอร์ในเชิงสร้างสรรค์

9.ไม่ทำให้ตนเองและผู้อื่นเดือดร้อน

10.หากมีบุคคลใดส่งข้อมูลมาให้โดยเราไม่รู้จักก็ควรหลีกเลี่ยงโดยการไม่เปิดเพื่อป้องกันไวรัส

11.ในการทำงานต่างๆต้องตรวจเช็คข้อมูลให้

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 402 คน กำลังออนไลน์