• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:d1d35b3a4383f9713d7fbb37b5c27609' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<b><span style=\"font-size: 20px; font-family: Tahoma,Verdana,Arial,Helvetica,Sans-serif\">ประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัย ตอนปลาย</span></b>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"text-align: left\">\n<span style=\"font-family: Tahoma,Verdana,Arial,Helvetica,Sans-serif\">ในรัชสมัยของพ่อขุนรามคำแหงมหาราช บ้านเมืองอยู่อย่างสงบ มีความร่วมเย็นเป็นสุขดังที่ปรากฏในหลักศิลาจารึกว่า “ในน้ำมีปลา ในนามีข้าว” การพาณิชย์เจริญก้าวหน้า พระองค์ได้ทรงวางระเบียบปกครองบ้านเมือง ทั้งยังประดิษฐ์อักษรไทยขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 1826 กับทั้งทรงดูแลการเพิ่มผลผลิตของประชากร เพื่อความมั่นคงทางเศรษฐกิจของอาณาจักร </span>\n</p>\n<p style=\"text-align: left\">\n<span style=\"font-family: Tahoma,Verdana,Arial,Helvetica,Sans-serif\">พระราชโอรสพระองค์หนึ่งของพ่อขุนรามคำแหงมหาราช คือ พญาเลอไท ซึ่งสันนิษฐานว่าเป็นพระมหาอุปราชครองเมืองศรีสัชนาลัย ในขณะที่พ่อขุนรามคำแหงมหาราชครองราชสมบัติอยู่ เมือพ่อขุนรามคำแหงมหาราชสวรรคตในราว พ.ศ. 1842 เมืองต่าง ๆ ที่เคยอยู่ในอำนาจของอาณาจักรสุโขทัย ได้แตกแยกกันออกเป็นอิสระทำให้เสถียรภาพของอาณาจักรสุโขทัยอยู่ในฐานะที่คับขัน กษัตริย์ที่ครองราชสมบัติสืบต่อจากพ่อขุนรามคำแหง คือ พญาไสสงคราม การที่เมืองต่าง ๆ พยายามแยกตัวออกเป็นอิสระ รวมทั้งเมืองที่อยู่ใกล้กับเมืองหลวงพยายามแยกตัวออกไป แสดงให้เห็นว่าถ้าไม่เกิดความยุ่งยากในราชวงศ์ก็ขึ้นอยู่กับการปกครองเป็นสำคัญ เพราะการปกครองในสมัยนั้นเป็นแบบนครรัฐ คือแต่ละเมืองก็มีผู้ปกครองนครเป็นอิสระเข้ามารวมกันได้ก็เพราะศรัทธาในกษัตริย์องค์เดียวกันเท่านั้น </span>\n</p>\n<p style=\"text-align: left\">\n<span style=\"font-family: Tahoma,Verdana,Arial,Helvetica,Sans-serif\">หลังจากรัชกาลของพญาไสสงครามแล้ว พญาเลอไทได้ครองราชสมบัติต่อมาราว พ.ศ. 1866 ซึ่งน่าจะต้องดำเนินนโยบายในการพยายามรวบรวมอาณาจักรเข้ามาอีกครั้งหนึ่ง ตลอดระยะเวลา 18 ปี ที่พระองค์ครองราชสมบัติอยู่นั้นไม่มีรายละเอียดปรากฏอยู่มากนัก พระองค์สวรรคตราวปี พ.ศ. 1884 </span>\n</p>\n<p style=\"text-align: left\">\n<span style=\"font-family: Tahoma,Verdana,Arial,Helvetica,Sans-serif\">ต่อจากรัชกาลพญาเลอไทย มีกษัตริย์ที่ออกพระนามในศิลาจารึกอีกพระองค์หนึ่ง คือ พญางัวนำถม ในฐานะพระอนุชาแต่เป็นโอรสของพ่อขุนบานเมือง ได้ขึ้นครองเมืองสุโขทัยและได้โปรดให้พญาลิไท ผู้เป็นโอรสของพยาเลอไทไปครองเมืองศรีสัชนาลัยในฐานะอุปราชครองเมืองลูกหลวง เมื่อพญางัวนำถมสวรรคตในราว พ.ศ. 1890 เกิดความเปลี่ยนแปลงภายในราชสำนักกรุงสุโขทัยที่ไม่ชอบตามขนมธรรมเนียม บรรดาหัวเมืองต่าง ๆ แสดงตัวอย่างเปิดเผยถึงการดำรงอยู่อย่างอิสระ ไม่ยอมขึ้นกับส่วนกลาง พยาลิไทยจึงลอยเสด็จยกทัพจากเมืองศรีสัชนาลัยใช้กำลังเข้าขึดเมืองไว้ได้ แล้วปราบดาภิเษกเป็นกษัตริย์กรุงสุโขทัย ทรงพระนามว่า “ศรีสุริพงศ์รามมหาธรรมราชาธิราช” เมืองครองกรุงสุโขทัยแล้วทรงปราบปรามเจ้าเมืองต่าง ๆ ภายในเขตแคว้นแล้วแต่งตั้งพระบรมวงศานุวงศ์ที่ไว้วางพระราชหฤทัย ไปปกครองรวมอำนาจไว้ที่ศูนย์กลาง คือ กรุงสุโขทัย บ้านเมืองจึงอยู่ด้วยความสงบเรียบร้อยอีกครั้งหนึ่ง </span>\n</p>\n<p style=\"text-align: left\">\n<span style=\"font-family: Tahoma,Verdana,Arial,Helvetica,Sans-serif\">ความพยายามของพระมหาธรรมราชาลิไท ภายหลังขึ้นครองราชสมบัติแล้ว คือ ความมุ่งหวังที่จะรวบรวมเมืองต่าง ๆ ที่แตกแยกกันออกไปให้กลับเข้ามารวมในอาณาจักรเดียวกันอีก และมีความหวังว่าจะให้มีอาณาเขตใหญ่โตเท่กับสมัยพ่อขุนรามคำหงมหาราช จนถึงกับเสด็จไปยังเมืองต่าง ๆ เพื่อเผยแพร่และกระทำกิจทางศาสนา ซึ่งขณะเดียวกันก็แสดงให้เมืองต่าง ๆ ที่พระองค์เสด็จไปเห็นว่า พระองค์มีแสนยานุภาพและมีพระราชอำนาจเต็มในกิจการต่าง ๆ ทั่วราชอาณาจักรของพระองค์ เช่นในปี พ.ศ. 1902 พระองค์เสด็จยกทักไปตีเมืองแพร่ กวาดต้อนครัวเรือนมาเป็นข้าพระทีวัดป่าแดงศรีสัชนาลัย และในปีนั้นก็ได้ประดิษฐ์รอยพระพุทธบาทจำลองที่เขาสุมนกูฎ เมืองสุโขทัย </span>\n</p>\n<p style=\"text-align: left\">\n<span style=\"font-family: Tahoma,Verdana,Arial,Helvetica,Sans-serif\">ในฐานะผู้ครอบครองแคว้นสุโขทัย พระมหาธรรมราชาลิไท ทรงพยายามดำเนินรอยตามเบื้องพระยุคลบาท พ่อขุนรามคำแหงมหาราช คือ เป็นทั้งนักปราชญ์ผู้สนพระทัยในทางศาสนา โดยให้ความอุปถัมภ์พระพุทธศาสนา ส่งสมณทูตไปเผยแพร่พระพุทธศาสนายังที่ต่าง ๆ ที่พระองค์ต้องการเป็นพันธมิตรด้วย เช่น เมืองน่าน หลวงพระบาง และกรุงศรีอยุธยา แต่ขณะเดียวกันก็ได้สดวงบทบาทของการเป็นนักรบที่พยายามขยายอำนาจของแคว้นสุโขทัยให้กว้างขวางยิ่งขึ้น ในสมัยของพระองค์ นอกจากจะได้ยกทัพไปตีเมืองแพร่ทางทิศเหนือแล้ว ทางทิศตะวันออก ได้พยายามขยายขอบเขตออกไปถึงเมืองลุ่มแม่น้ำป่าสัก จากบทบาทการเป็นนักรบของพระองค์ที่ขยายพระราชอำนาจไปยังเมืองลุ่มแม่น้ำป่าสักนี้เอง ทำให้กระทบกระทั่วกับกรุงศรีอยุธยา ที่มีความเกี่ยวข้องกับบ้านเมืองแถบนั้น สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง) จึงเสด็จลอบยกทัพมายึดเมืองสองแควไว้ได้ และได้โปรดให้ขุนหลวงพ่องั่วพระเชษฐาของพระมเหสี ซึ่งขณะนั้นครองเมืองสุพรรณบุรี มาปกครองเมืองสองแคว ทำให้พระมหาธรรมราชาลิไท ต้องถวายบรรณาการเป็นอันมาก ในที่สุดสมเด็จพระรามิบดีที่ 1 จึงทรงมอบเมืองสองแควคือ และโปรดให้ขุนหลวงพ่องั่วไปครองเมืองสุพรรณบุรีดังเดิม </span>\n</p>\n<p style=\"text-align: left\">\n<span style=\"font-family: Tahoma,Verdana,Arial,Helvetica,Sans-serif\">ในการคืนเมืองสองแควนั้น สมเด็จพระรามิบดีที่ 1 ทรงตั้งเงื่อนไขว่า พระมหาธรรมราชาลิไท ต้องเสด็จไปประทับที่เมืองสองแคว จึงเป็นเหตุให้แคว้นสุโขทัยที่เริ่มจะรวมตัวกันได้ต้องสั่นคลอน เมื่อพระมหาธรรมราชาลิไทเสด็จไปประทับอยู่เมืองสองแควได้โปรดให้พระอนุชาปกครองเมืองสุโขทัยแทน </span>\n</p>\n<p style=\"text-align: left\">\n<span style=\"font-family: Tahoma,Verdana,Arial,Helvetica,Sans-serif\">ในปี พ.ศ. 1912 สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 สวรรคต สมเด็จพระราเมศวรขึ้นครองราชสมบัติ เมื่อพระมหาธรรมราชาลิไททรงทราบ จึงคาดสถานการณ์ว่า ทางกรุงศรีอยุธยาต้องมีเหตุไม่เรียบร้อยขึ้นแน่ พระองค์จึงรวบรวมพลจากเมืองต่าง ๆ ในแคว้นสุโขทัยที่เจ้าเมืองยังคงจงรักภักดีต่อพระองค์ เสด็จยกพลมายังกรุงสุโขทัย การเสด็จกลับคืนสุโขทัยในครั้งนี้ หลังจากที่ต้องทรงประทับอยู่ที่เมืองสองแควถึง 7 ปี จึงเป็นการเตรียมการที่จะใช้ตำแหน่งของเจ้าเมืองสุโขทัย อันเป็นบัลลังก์ที่บรรพบุรุษของพระองค์ได้สั่งสมอำนาจไว้นั้น เพื่อเป็นศูนย์ลางในการระดดมกำลังก่อตั้งอาณาจักรสุโขทัยมีฐานะมั่นคงสืบไป พระองค์ทรงเริ่มบทบาทโดยการเป็นพันธมิตรกับแคว้นล้านนา ซึ่งขณะนั้นมีพระเจ้ากือนา เป็นกษัตริย์ปกครอง โดยพระองค์ได้ส่งตระสุมนะเถระเป็นสมณะทูตขึ้นไปเผยแพร่พระพุทธศาสนาที่เมืองเชียงใหม่ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-family: Tahoma,Verdana,Arial,Helvetica,Sans-serif\">ในปี พ.ศ. 1913 ขุนหลวงพ่องั่ว ซึ่งขึ้นครองเมืองสุพรรณบุรี ได้เห็นความเคลื่อนไหวของพระมหาธรรมราชาลิไทที่กรุงสุโขทัย พระองค์จึงเข้ายึดอำนาจกรุงศรีอยุธยาด้วยความยินยอมของสมเด็จพระราเมศวร ซึ่งได้ทรงกลับไปครองเมืองลพบุรีตามเดิม ขุนหลวงพ่องั่วเสด็จขึ้นครองราชย์ทรงพระนามว่า “สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 1”<br />\n</span>\n</p>\n', created = 1727521992, expire = 1727608392, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:d1d35b3a4383f9713d7fbb37b5c27609' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:5d47bf6a5a2eb747eb6217a73f3cb873' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\nท่านอาจารย์\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\nตรวจให้ผมหน่อยครับ\n</p>\n', created = 1727521992, expire = 1727608392, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:5d47bf6a5a2eb747eb6217a73f3cb873' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

สมัยสุโขทัยตอนปลาย การเมืองการปกครอง

ประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัย ตอนปลาย

 

ในรัชสมัยของพ่อขุนรามคำแหงมหาราช บ้านเมืองอยู่อย่างสงบ มีความร่วมเย็นเป็นสุขดังที่ปรากฏในหลักศิลาจารึกว่า “ในน้ำมีปลา ในนามีข้าว” การพาณิชย์เจริญก้าวหน้า พระองค์ได้ทรงวางระเบียบปกครองบ้านเมือง ทั้งยังประดิษฐ์อักษรไทยขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 1826 กับทั้งทรงดูแลการเพิ่มผลผลิตของประชากร เพื่อความมั่นคงทางเศรษฐกิจของอาณาจักร

พระราชโอรสพระองค์หนึ่งของพ่อขุนรามคำแหงมหาราช คือ พญาเลอไท ซึ่งสันนิษฐานว่าเป็นพระมหาอุปราชครองเมืองศรีสัชนาลัย ในขณะที่พ่อขุนรามคำแหงมหาราชครองราชสมบัติอยู่ เมือพ่อขุนรามคำแหงมหาราชสวรรคตในราว พ.ศ. 1842 เมืองต่าง ๆ ที่เคยอยู่ในอำนาจของอาณาจักรสุโขทัย ได้แตกแยกกันออกเป็นอิสระทำให้เสถียรภาพของอาณาจักรสุโขทัยอยู่ในฐานะที่คับขัน กษัตริย์ที่ครองราชสมบัติสืบต่อจากพ่อขุนรามคำแหง คือ พญาไสสงคราม การที่เมืองต่าง ๆ พยายามแยกตัวออกเป็นอิสระ รวมทั้งเมืองที่อยู่ใกล้กับเมืองหลวงพยายามแยกตัวออกไป แสดงให้เห็นว่าถ้าไม่เกิดความยุ่งยากในราชวงศ์ก็ขึ้นอยู่กับการปกครองเป็นสำคัญ เพราะการปกครองในสมัยนั้นเป็นแบบนครรัฐ คือแต่ละเมืองก็มีผู้ปกครองนครเป็นอิสระเข้ามารวมกันได้ก็เพราะศรัทธาในกษัตริย์องค์เดียวกันเท่านั้น

หลังจากรัชกาลของพญาไสสงครามแล้ว พญาเลอไทได้ครองราชสมบัติต่อมาราว พ.ศ. 1866 ซึ่งน่าจะต้องดำเนินนโยบายในการพยายามรวบรวมอาณาจักรเข้ามาอีกครั้งหนึ่ง ตลอดระยะเวลา 18 ปี ที่พระองค์ครองราชสมบัติอยู่นั้นไม่มีรายละเอียดปรากฏอยู่มากนัก พระองค์สวรรคตราวปี พ.ศ. 1884

ต่อจากรัชกาลพญาเลอไทย มีกษัตริย์ที่ออกพระนามในศิลาจารึกอีกพระองค์หนึ่ง คือ พญางัวนำถม ในฐานะพระอนุชาแต่เป็นโอรสของพ่อขุนบานเมือง ได้ขึ้นครองเมืองสุโขทัยและได้โปรดให้พญาลิไท ผู้เป็นโอรสของพยาเลอไทไปครองเมืองศรีสัชนาลัยในฐานะอุปราชครองเมืองลูกหลวง เมื่อพญางัวนำถมสวรรคตในราว พ.ศ. 1890 เกิดความเปลี่ยนแปลงภายในราชสำนักกรุงสุโขทัยที่ไม่ชอบตามขนมธรรมเนียม บรรดาหัวเมืองต่าง ๆ แสดงตัวอย่างเปิดเผยถึงการดำรงอยู่อย่างอิสระ ไม่ยอมขึ้นกับส่วนกลาง พยาลิไทยจึงลอยเสด็จยกทัพจากเมืองศรีสัชนาลัยใช้กำลังเข้าขึดเมืองไว้ได้ แล้วปราบดาภิเษกเป็นกษัตริย์กรุงสุโขทัย ทรงพระนามว่า “ศรีสุริพงศ์รามมหาธรรมราชาธิราช” เมืองครองกรุงสุโขทัยแล้วทรงปราบปรามเจ้าเมืองต่าง ๆ ภายในเขตแคว้นแล้วแต่งตั้งพระบรมวงศานุวงศ์ที่ไว้วางพระราชหฤทัย ไปปกครองรวมอำนาจไว้ที่ศูนย์กลาง คือ กรุงสุโขทัย บ้านเมืองจึงอยู่ด้วยความสงบเรียบร้อยอีกครั้งหนึ่ง

ความพยายามของพระมหาธรรมราชาลิไท ภายหลังขึ้นครองราชสมบัติแล้ว คือ ความมุ่งหวังที่จะรวบรวมเมืองต่าง ๆ ที่แตกแยกกันออกไปให้กลับเข้ามารวมในอาณาจักรเดียวกันอีก และมีความหวังว่าจะให้มีอาณาเขตใหญ่โตเท่กับสมัยพ่อขุนรามคำหงมหาราช จนถึงกับเสด็จไปยังเมืองต่าง ๆ เพื่อเผยแพร่และกระทำกิจทางศาสนา ซึ่งขณะเดียวกันก็แสดงให้เมืองต่าง ๆ ที่พระองค์เสด็จไปเห็นว่า พระองค์มีแสนยานุภาพและมีพระราชอำนาจเต็มในกิจการต่าง ๆ ทั่วราชอาณาจักรของพระองค์ เช่นในปี พ.ศ. 1902 พระองค์เสด็จยกทักไปตีเมืองแพร่ กวาดต้อนครัวเรือนมาเป็นข้าพระทีวัดป่าแดงศรีสัชนาลัย และในปีนั้นก็ได้ประดิษฐ์รอยพระพุทธบาทจำลองที่เขาสุมนกูฎ เมืองสุโขทัย

ในฐานะผู้ครอบครองแคว้นสุโขทัย พระมหาธรรมราชาลิไท ทรงพยายามดำเนินรอยตามเบื้องพระยุคลบาท พ่อขุนรามคำแหงมหาราช คือ เป็นทั้งนักปราชญ์ผู้สนพระทัยในทางศาสนา โดยให้ความอุปถัมภ์พระพุทธศาสนา ส่งสมณทูตไปเผยแพร่พระพุทธศาสนายังที่ต่าง ๆ ที่พระองค์ต้องการเป็นพันธมิตรด้วย เช่น เมืองน่าน หลวงพระบาง และกรุงศรีอยุธยา แต่ขณะเดียวกันก็ได้สดวงบทบาทของการเป็นนักรบที่พยายามขยายอำนาจของแคว้นสุโขทัยให้กว้างขวางยิ่งขึ้น ในสมัยของพระองค์ นอกจากจะได้ยกทัพไปตีเมืองแพร่ทางทิศเหนือแล้ว ทางทิศตะวันออก ได้พยายามขยายขอบเขตออกไปถึงเมืองลุ่มแม่น้ำป่าสัก จากบทบาทการเป็นนักรบของพระองค์ที่ขยายพระราชอำนาจไปยังเมืองลุ่มแม่น้ำป่าสักนี้เอง ทำให้กระทบกระทั่วกับกรุงศรีอยุธยา ที่มีความเกี่ยวข้องกับบ้านเมืองแถบนั้น สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง) จึงเสด็จลอบยกทัพมายึดเมืองสองแควไว้ได้ และได้โปรดให้ขุนหลวงพ่องั่วพระเชษฐาของพระมเหสี ซึ่งขณะนั้นครองเมืองสุพรรณบุรี มาปกครองเมืองสองแคว ทำให้พระมหาธรรมราชาลิไท ต้องถวายบรรณาการเป็นอันมาก ในที่สุดสมเด็จพระรามิบดีที่ 1 จึงทรงมอบเมืองสองแควคือ และโปรดให้ขุนหลวงพ่องั่วไปครองเมืองสุพรรณบุรีดังเดิม

ในการคืนเมืองสองแควนั้น สมเด็จพระรามิบดีที่ 1 ทรงตั้งเงื่อนไขว่า พระมหาธรรมราชาลิไท ต้องเสด็จไปประทับที่เมืองสองแคว จึงเป็นเหตุให้แคว้นสุโขทัยที่เริ่มจะรวมตัวกันได้ต้องสั่นคลอน เมื่อพระมหาธรรมราชาลิไทเสด็จไปประทับอยู่เมืองสองแควได้โปรดให้พระอนุชาปกครองเมืองสุโขทัยแทน

ในปี พ.ศ. 1912 สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 สวรรคต สมเด็จพระราเมศวรขึ้นครองราชสมบัติ เมื่อพระมหาธรรมราชาลิไททรงทราบ จึงคาดสถานการณ์ว่า ทางกรุงศรีอยุธยาต้องมีเหตุไม่เรียบร้อยขึ้นแน่ พระองค์จึงรวบรวมพลจากเมืองต่าง ๆ ในแคว้นสุโขทัยที่เจ้าเมืองยังคงจงรักภักดีต่อพระองค์ เสด็จยกพลมายังกรุงสุโขทัย การเสด็จกลับคืนสุโขทัยในครั้งนี้ หลังจากที่ต้องทรงประทับอยู่ที่เมืองสองแควถึง 7 ปี จึงเป็นการเตรียมการที่จะใช้ตำแหน่งของเจ้าเมืองสุโขทัย อันเป็นบัลลังก์ที่บรรพบุรุษของพระองค์ได้สั่งสมอำนาจไว้นั้น เพื่อเป็นศูนย์ลางในการระดดมกำลังก่อตั้งอาณาจักรสุโขทัยมีฐานะมั่นคงสืบไป พระองค์ทรงเริ่มบทบาทโดยการเป็นพันธมิตรกับแคว้นล้านนา ซึ่งขณะนั้นมีพระเจ้ากือนา เป็นกษัตริย์ปกครอง โดยพระองค์ได้ส่งตระสุมนะเถระเป็นสมณะทูตขึ้นไปเผยแพร่พระพุทธศาสนาที่เมืองเชียงใหม่

ในปี พ.ศ. 1913 ขุนหลวงพ่องั่ว ซึ่งขึ้นครองเมืองสุพรรณบุรี ได้เห็นความเคลื่อนไหวของพระมหาธรรมราชาลิไทที่กรุงสุโขทัย พระองค์จึงเข้ายึดอำนาจกรุงศรีอยุธยาด้วยความยินยอมของสมเด็จพระราเมศวร ซึ่งได้ทรงกลับไปครองเมืองลพบุรีตามเดิม ขุนหลวงพ่องั่วเสด็จขึ้นครองราชย์ทรงพระนามว่า “สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 1”

ท่านอาจารย์

 

ตรวจให้ผมหน่อยครับ

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 249 คน กำลังออนไลน์