• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:4a1b7acfad1d3f776621c04084d283ea' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><b><span style=\"font-size: 24pt; color: black; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">ประวัติศาสตร์สมัยธนบุรี</span></b><b><span style=\"font-size: 24pt; color: black\"><o:p></o:p></span></b><b><span style=\"color: black\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small\">กรุงธนบุรี เป็น</span><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/ราชธานี\" title=\"ราชธานี\"><span style=\"color: black\"><u><span style=\"font-size: small\">ราชธานี</span></u></span></a><span style=\"font-size: small\">ของไทย ในช่วง </span><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/พ.ศ._2310\" title=\"พ.ศ. 2310\"><span style=\"color: black\"><u><span style=\"font-size: small\">พ.ศ. 2310</span></u></span></a><span style=\"font-size: small\"> - </span><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/พ.ศ._2325\" title=\"พ.ศ. 2325\"><span style=\"color: black\"><u><span style=\"font-size: small\">2325</span></u></span></a><span style=\"font-size: small\"> มีที่ตั้ง ณ ฝั่งตะวันตกของ</span><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/แม่น้ำเจ้าพระยา\" title=\"แม่น้ำเจ้าพระยา\"><span style=\"color: black\"><u><span style=\"font-size: small\">แม่น้ำเจ้าพระยา</span></u></span></a><span style=\"font-size: small\"> ที่เมืองธนบุรีเดิม</span></span><span style=\"color: black\"><o:p></o:p></span></b><b><span style=\"color: black\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small\">หลังจาก</span><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/กรุงศรีอยุธยา\" title=\"กรุงศรีอยุธยา\"><span style=\"color: black\"><u><span style=\"font-size: small\">กรุงศรีอยุธยา</span></u></span></a><span style=\"font-size: small\">ต้องเสียแก่พม่า เมื่อ พ.ศ. 2310 แล้ว </span><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช\" title=\"สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช\"><span style=\"color: black\"><u><span style=\"font-size: small\">สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช</span></u></span></a><span style=\"font-size: small\"> ก็ได้ทรงสถาปนาราชธานีแห่งใหม่ขึ้น พระราชทานนามว่า &quot;กรุงธนบุรีศรีมหาสมุทร&quot; เมื่อ</span><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/จุลศักราช\" title=\"จุลศักราช\"><span style=\"color: black\"><u><span style=\"font-size: small\">จุลศักราช</span></u></span></a><span style=\"font-size: small\"> 1130 </span><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/ปีชวด\" title=\"ปีชวด\"><span style=\"color: black\"><u><span style=\"font-size: small\">ปีชวด</span></u></span></a><span style=\"font-size: small\"> </span><a href=\"http://th.wikipedia.org/w/index.php?title=%E0%B8%AA%E0%B8%B1%E0%B8%A1%E0%B8%A4%E0%B8%97%E0%B8%98%E0%B8%B4%E0%B8%A8%E0%B8%81&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"สัมฤทธิศก (หน้านี้ไม่มี)\"><span style=\"color: black\"><u><span style=\"font-size: small\">สัมฤทธิศก</span></u></span></a><span style=\"font-size: small\"> ตรงกับ พ.ศ. 2310 จวบจนถึง </span><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/พ.ศ._2325\" title=\"พ.ศ. 2325\"><span style=\"color: black\"><u><span style=\"font-size: small\">พ.ศ. 2325</span></u></span></a><span style=\"font-size: small\"> นับเป็นเวลาแห่งราชธานีเพียง 15 ปีเท่านั้น</span></span><span style=\"color: black\"><o:p></o:p></span></b><b><span style=\"color: black\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small\">แม้กรุงศรีอยุธยา จะถูกทำลายย่อยยับ พม่าก็มิได้รุกรานดินแดนสยามทั้งหมด ทหารพม่ามีกำลังเพียงควบคุมในเมืองหลวง และ เมืองใกล้เคียงเท่านั้น หลังจากเสด็จสิ้นการปล้นสะดม </span><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/พม่า\" title=\"พม่า\"><span style=\"color: black\"><u><span style=\"font-size: small\">พม่า</span></u></span></a><span style=\"font-size: small\">ยกเลิกทัพกลับไป เหลือไว้แต่เพียงกองทัพเล็กๆ ประมาณ 3</span></span><span style=\"color: black\"><span style=\"font-size: small\">,<span lang=\"TH\">000 คน มี<a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/สุกี้พระนายกอง\" title=\"สุกี้พระนายกอง\"><span style=\"color: black\"><u>สุกี้พระนายกอง</u></span></a> เป็นผู้ดูแลรักษากรุงศรีอยุธยา ตั้งค่ายอยู่ที่บ้าน<a href=\"http://th.wikipedia.org/w/index.php?title=%E0%B9%82%E0%B8%9E%E0%B8%98%E0%B8%B4%E0%B9%8C%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%95%E0%B9%89%E0%B8%99&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"โพธิ์สามต้น (หน้านี้ไม่มี)\"><span style=\"color: black\"><u>โพธิ์สามต้น</u></span></a> พร้อมกันนั้น พม่าได้ตั้ง นายทองอิน ซึ่งเป็นคนไทย ให้ไปเป็นผู้ดูแลรักษาเมืองธนบุรีไว้แทนพม่า ดังนั้นหัวเมืองอื่นๆ ที่ปลอดจากการรุกรานของพม่า จึงตั้งตนเป็นใหญ่ไม่ขึ้นต่อใคร เรียกว่าชุมนุม โดยทั้งหมดมีทั้งหมด 5 ชุมนุม ได้แก่ ชุมนุมพระเจ้าตาก (ตั้งหลังสุด) ชุมนุมเจ้าพระยาพิษณุโลก ชุมนุมเจ้านครศรีธรรมราช ชุมนุมเจ้าพิมาย และ ชุมนุมพระเจ้าฝาง</span><o:p></o:p></span></span></b><span style=\"font-size: small\"><span class=\"mw-headline\"><b><span style=\"color: black\" lang=\"TH\">การตั้งตัว</span></b></span><b><span style=\"color: black\"><o:p></o:p></span></b></span><span style=\"font-size: small\"><b><span style=\"color: black; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><span> </span>สาเหตุของการหลบหนี</span></b><b><span style=\"color: black; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'\"><o:p></o:p></span></b></span><b><span style=\"color: black; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small\">ขณะที่กรุงศรีอยุธยาทำสงครามกับพม่าอยู่นั้น พระยาตากได้เห็นความอ่อนแอของ</span><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/สมเด็จพระเจ้าเอกทัศน์\" title=\"สมเด็จพระเจ้าเอกทัศน์\"><span style=\"color: black\"><u><span style=\"font-size: small\">สมเด็จพระเจ้าเอกทัศน์</span></u></span></a><span style=\"font-size: small\"> และมองไม่เห็นหนทางที่จะเอาชนะข้าศึกได้ จึงไม่อยากอยู่ร่วมปฏิบัติหน้าที่ราชการต่อไปบังเกิดขึ้นหลายครั้ง ดังนี้<o:p></o:p></span></span></b> </p>\n<ul type=\"disc\">\n<li style=\"background: #f8fcff; margin: 0cm 0cm 0pt; color: black; tab-stops: list 36.0pt\" class=\"MsoNormal\"><b><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small\">พระยาตากคุมทหารออกไปรบนอกเมือง และสามารถรบชนะข้าศึกได้ แต่ทางการไม่ส่งทหารมาเพิ่ม จึงต้องเสียค่ายนั้นไปอีก <o:p></o:p></span></span></b></li>\n<li style=\"background: #f8fcff; margin: 0cm 0cm 0pt; color: black; tab-stops: list 36.0pt\" class=\"MsoNormal\"><b><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small\">พระยาตากได้รับบัญชาให้ยกกองทัพเรือออกไปรบพร้อมกับพระยาเพชรบุรี แต่พระยาตากเห็นว่าพม่ามีพลที่มากกว่า จึงห้ามไม่ให้พระยาเพชรบุรีไปออกรบ แต่พระยาเพชรบุรีไม่เชื่อฟัง จึงออกไปรบ และเสียชีวิตในสนามรบ ทำให้พระยาตากถูกกล่าวหาว่าทิ้งให้พระยาเพชรบุรีเป็นอันตราย <o:p></o:p></span></span></b></li>\n<li style=\"background: #f8fcff; margin: 0cm 0cm 0pt; color: black; tab-stops: list 36.0pt\" class=\"MsoNormal\"><b><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small\">3 เดือนก่อนกรุงแตก พม่ายกกองมาปล้นทางเหนือของพระนคร พระเจ้าตากเห็นการ จึงจำเป็นต้องขออนุญาตจากกรุงให้ใช่</span><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/ปืนใหญ่\" title=\"ปืนใหญ่\"><span style=\"color: black\"><u><span style=\"font-size: small\">ปืนใหญ่</span></u></span></a><span style=\"font-size: small\"> แต่ทางกรุงไม่อนุญาต <o:p></o:p></span></span></b></li>\n</ul>\n<p><b><span style=\"color: black; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small\">พระยาตากจึงคิดว่าถ้ายังเป็นอย่างนี้ กรุงศรีอยุธยาจะต้องแตก พระยาตากจึงตัดสินใจตีฝ่าวงล้อมของพม่าออกไป พร้อมกับขุนนางนายทหารผู้ใหญ่ตีฝ่าวงล้อมพม่า โดยนายทหารและขุนนางผู้ใหญ่มี พระเชียงเงิน หลวงพรหมเสนา หลวงพิชัยราชา หลวงราชเสนา ขุนอภัยภักดี และ </span><a href=\"http://th.wikipedia.org/w/index.php?title=%E0%B8%AB%E0%B8%A1%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%99%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%8A%E0%B9%80%E0%B8%AA%E0%B8%99%E0%B9%88%E0%B8%AB%E0%B8%B2&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"หมื่นราชเสน่หา (หน้านี้ไม่มี)\"><span style=\"color: black\"><u><span style=\"font-size: small\">หมื่นราชเสน่หา</span></u></span></a><span style=\"font-size: small\"> ออกไปตั้งค่ายที่ วัดพิชัย เมื่อเสาร์ เดือนยี่ ขึ้น 4 ค่ำ ปีจอ จุลศักราช 1128 ตรงกับวันที่ </span><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/3_มกราคม\" title=\"3 มกราคม\"><span style=\"color: black\"><u><span style=\"font-size: small\">3 มกราคม</span></u></span></a><span style=\"font-size: small\"> </span><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/พ.ศ._2310\" title=\"พ.ศ. 2310\"><span style=\"color: black\"><u><span style=\"font-size: small\">พ.ศ. 2310</span></u></span></a><span style=\"font-size: small\"> พอไปถึงบ้านสำบัณฑิตเวลาเที่ยงคืนเศษ ก็แลเห็นแสงเพลิงไหม้จากพระนคร<o:p></o:p></span></span></b><a name=\".E0.B8.81.E0.B8.B2.E0.B8.A3.E0.B9.80.E0.\" title=\".E0.B8.81.E0.B8.B2.E0.B8.A3.E0.B9.80.E0.\"></a><b><span style=\"color: black; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small\">การเดินทางไปยังเมืองจันทบุรี<o:p></o:p></span></span></b><b><span style=\"color: black; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small\"><span> </span>เมืองระยอง<o:p></o:p></span></span></b><b><span style=\"color: black; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small\">พระยาตากได้นำทัพผ่านบ้านโพสามหาร บ้านบางดง ซึ่งมีแต่ทหารพม่า ผ่าน หนองไม้ทรุง เมือง</span><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/นครนายก\" title=\"นครนายก\"><span style=\"color: black\"><u><span style=\"font-size: small\">นครนายก</span></u></span></a><span style=\"font-size: small\"> เมือง</span><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/ปราจีนบุรี\" title=\"ปราจีนบุรี\"><span style=\"color: black\"><u><span style=\"font-size: small\">ปราจีนบุรี</span></u></span></a><span style=\"font-size: small\"> ลงใต้ผ่าน</span><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/พัทยา\" title=\"พัทยา\"><span style=\"color: black\"><u><span style=\"font-size: small\">พัทยา</span></u></span></a><span style=\"font-size: small\"> </span><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/สัตหีบ\" title=\"สัตหีบ\"><span style=\"color: black\"><u><span style=\"font-size: small\">สัตหีบ</span></u></span></a><span style=\"font-size: small\"> ตลอดทางมีคนอ้อมน้อมเป็นพรรคพวกจำนวนมาก พระยาตากนำทัพเลียบชายฝั่ง จนมาถึงเขตเมือง</span><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/ระยอง\" title=\"ระยอง\"><span style=\"color: black\"><u><span style=\"font-size: small\">ระยอง</span></u></span></a><span style=\"font-size: small\"> ผู้รั้งเมืองระยองเห็นว่า ทัพพระยาตากเป็นทัพใหญ่ จึงพากรมการเมืองไปต้อนรับนอบน้อม<o:p></o:p></span></span></b><b><span style=\"color: black; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small\">และที่เมืองระยองนี้เอง ที่พระยาตากได้ตั้งตนเป็นเจ้าด้วยความเห็นชอบของบรรดาขุนนาง และ กลุ่มชน แต่ต่อมา นายบุญรอด แขนอ่อน นายบุญมาซึ่งเป็นน้องภริยาของพระยาจันทบุรี ที่ได้เข้ามาถวายตัวเข้ารับราชการ ได้กราบทูลความรับให้ทรงทราบว่าขุนรามหมื่นส้อง นายทองอยู่ นกเล็ก และ พรรคพวกการเมืองระยองคิดร้าย เจ้าตากจึงทรงวางแผนซ้อนตีต้อนพวกคิดร้ายแตกพ่ายไป เมื่อเจ้าตากได้เมืองระยองแล้ว ทรงส่งคนไปเกลี้ยกล่อมพระยาจันทบุรี แล้วออกตามจับขุนรามหมื่นส้อง กับ นายทองอยู่ นกเล็ก ต่อไป และในที่สุด นายทองอยู่ นกเล็ก ก็ได้มาอ่อนน้อม พระยาตากจึงทรงแต่งตั้งให้ นายทองอยู่ นกเล็ก เป็น พระยาอนุราชบุรีศรีมหาสมุทร ปกครองเมือง</span><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/ชลบุรี\" title=\"ชลบุรี\"><span style=\"color: black\"><u><span style=\"font-size: small\">ชลบุรี</span></u></span></a><span style=\"font-size: small\">ต่อไป<o:p></o:p></span></span></b><a name=\".E0.B9.80.E0.B8.A1.E0.B8.B7.E0.B8.AD.E0.\" title=\".E0.B9.80.E0.B8.A1.E0.B8.B7.E0.B8.AD.E0.\"></a><b><span style=\"color: black; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small\">เมืองจันทบุรี<o:p></o:p></span></span></b><b><span style=\"color: black; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small\">เจ้าตากทรงพิจารณาเห็นว่า เมืองจันทบุรีเป็นเมืองที่ใหญ่ และยังอุดมสมบูรณ์ บ้านเรือนเป็นปกติสุขอยู่ เจ้าตากจึงทรงเกลี้ยกล่อมเมืองจันทบุรีให้มาช่วยกู้เอกราช<o:p></o:p></span></span></b><b><span style=\"color: black; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small\">พระยาจันทบุรีรับคำไมตรีในช่วงแรก แต่แล้วพระยาจันทบุรีกลับไปร่วมมือกับขุนรามหมื่นส้อง วางแผนลวงให้เจ้าตากยกกองทัพเข้าไปตีเมืองจันทบุรี แล้วค่อยกำจัดเสียในภายหลัง แต่พระยาตากทรงรู้ทัน จึงทรงหยุดยั้งอยู่หน้าเมือง<o:p></o:p></span></span></b><b><span style=\"color: black; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small\">ในขณะนั้น</span><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/หลวงนายศักดิ์\" title=\"หลวงนายศักดิ์\"><span style=\"color: black\"><u><span style=\"font-size: small\">หลวงนายศักดิ์</span></u></span></a><span style=\"font-size: small\"> (หมุด) ถูกเจ้าเมืองจันทบุรีคุมขังอยู่ ได้หนีออกมาสมทบเจ้าตาก เพราะรู้จักคุ้นเคยกันมาก่อน หลวงนายศักดิ์ได้มอบจีนพรรคพวกให้ 500 คน กับเงินส่วยสาอากร 300 ชั่งที่เก็บจากเจ้าเมืองจันทบุรี<o:p></o:p></span></span></b><b><span style=\"color: black; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small\">เมื่อเจ้าตากทรงพิจารณาเห็นว่าพระยาจันทบุรีหลงเชื่อคำของขุนรามหมื่นส้อง ไม่ยอมอ่อนน้อมให้แล้ว จึงตรัสให้ทหารทั้งปวง เทอาหารทิ้ง ทุบหม้อทุบต่อยหม้อแกงจนแหลกหมด แล้วจึงตรัสว่า วันนี้เราจะเอาเมืองจันทบุรีให้ได้ ให้ไปหาข้าวของกินกันในเมือง หากไม่ได้ก็จงตายเสียให้สิ้นด้วยกันเถิด<o:p></o:p></span></span></b><b><span style=\"color: black; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small\">ครั้นตกดึกประมาณ 3 นาฬิกา เจ้าตากก็สามารถบุกเข้าเมืองได้ ตรงกับวันที่ 14 มิถุนายน พ.ศ. 2310 เจ้าตากจึงสามารถรวบรวมหัวเมืองตะวันออก ได้แก่ </span><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/ชลบุรี\" title=\"ชลบุรี\"><span style=\"color: black\"><u><span style=\"font-size: small\">ชลบุรี</span></u></span></a><span style=\"font-size: small\"> และ </span><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/ระยอง\" title=\"ระยอง\"><span style=\"color: black\"><u><span style=\"font-size: small\">ระยอง</span></u></span></a><span style=\"font-size: small\"> </span><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/จันทบุรี\" title=\"จันทบุรี\"><span style=\"color: black\"><u><span style=\"font-size: small\">จันทบุรี</span></u></span></a><span style=\"font-size: small\">ได้<o:p></o:p></span></span></b><a name=\".E0.B8.81.E0.B8.B2.E0.B8.A3.E0.B8.AA.E0.\" title=\".E0.B8.81.E0.B8.B2.E0.B8.A3.E0.B8.AA.E0.\"></a><b><span style=\"color: black; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small\">การสถาปนากรุงธนบุรี<o:p></o:p></span></span></b><b><span style=\"color: black; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small\">เมื่อพระเจ้าตากทรงขับไล่พม่าออกจากกรุงศรีอยุธยาแล้ว ก็รวบรวมผู้คน ทรัพย์สมบัติ และสิ่งต่างๆ ซึ่งสุกี้พระนายกองยังมิได้นำไปยังพม่า นำกลับมายังค่ายที่เมืองธนบุรี ปรากฏว่าที่เมืองลพบุรี มีพระบรมวงศานุวงศ์ของราชวงศ์อยุธยามาพำนักอยู่เป็นจำนวนมาก พระเจ้าตากจึงสั่งให้คนไปอัญเชิญมายังเมืองธนบุรี พระองค์ทรงขุดพระบรมศพของสมเด็จพระเจ้าเอกทัศน์ขึ้นมาถวายพระเพลิงตามราชประเพณี ต่อจากนั้น พระองค์ก็ทรงคิดที่จะปฏิสังขรณ์</span><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/พระนครศรีอยุธยา\" title=\"พระนครศรีอยุธยา\"><span style=\"color: black\"><u><span style=\"font-size: small\">พระนครศรีอยุธยา</span></u></span></a><span style=\"font-size: small\">ให้กลับคืนเป็นดังเดิม แต่แล้วหลังจากตรวจดูความพินาศของเมือง ก็ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้อพยพผู้คนเคลื่อนลงมาทางใต้ ตั้งราชธานีใหม่ขึ้นที่เมืองธนบุรี เรียกนามว่า กรุงธนบุรีศรีมหาสมุทร<o:p></o:p></span></span></b><b><span style=\"color: black; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small\">เหตุผลที่ทรงย้ายราชธานี<o:p></o:p></span></span></b> </p>\n<ol type=\"1\">\n<li style=\"background: #f8fcff; margin: 0cm 0cm 0pt; color: black; tab-stops: list 36.0pt\" class=\"MsoNormal\"><b><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small\">ถึงแม้ว่ากรุงศรีอยุธยาจะเป็นราชธานีที่มีชัยภูมิดี มีแม่น้ำล้อมรอบ แต่พระเจ้าตากไม่มีทหารเพียงพอที่จะปกป้องพระนครได้ จึงอาจจะทำให้ข้าศึก บุกเข้ามาโดยง่าย <o:p></o:p></span></span></b></li>\n<li style=\"background: #f8fcff; margin: 0cm 0cm 0pt; color: black; tab-stops: list 36.0pt\" class=\"MsoNormal\"><b><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small\">กรุงศรีอยุธยาอยู่ในทำเลที่ข้าศึกเข้ามาสะดวก พม่ารู้ประตูทางเข้าออกและจุดอ่อนของกรุงศรีแล้ว จึงทำให้เสียเปรียบต่อการป้องกันพระนคร <o:p></o:p></span></span></b></li>\n<li style=\"background: #f8fcff; margin: 0cm 0cm 0pt; color: black; tab-stops: list 36.0pt\" class=\"MsoNormal\"><b><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small\">กรุงศรีอยุธยาทรุดโทรมมาก ยากแก่การบูรณะสังขร <o:p></o:p></span></span></b></li>\n<li style=\"background: #f8fcff; margin: 0cm 0cm 0pt; color: black; tab-stops: list 36.0pt\" class=\"MsoNormal\"><b><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small\">อยุธยาอยู่ไกลจากทะเล ซึ่งไม่สะดวกในการค้าขาย <o:p></o:p></span></span></b></li>\n</ol>\n<p><a name=\".E0.B9.80.E0.B8.AB.E0.B8.95.E0.B8.B8.E0.\" title=\".E0.B9.80.E0.B8.AB.E0.B8.95.E0.B8.B8.E0.\"></a><b><span style=\"color: black; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small\">เหตุผลทีทรงเลือกเมืองธนบุรี<o:p></o:p></span></span></b> </p>\n<ol type=\"1\">\n<li style=\"background: #f8fcff; margin: 0cm 0cm 0pt; color: black; tab-stops: list 36.0pt\" class=\"MsoNormal\"><b><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small\">ธนบุรีมีแม่น้ำใหญ่กว้างไหลผ่าน เมื่อข้าศึกมา จึงสามารถขึ้นเรือหนีไปที่เมืองจันทบุรีได้ <o:p></o:p></span></span></b></li>\n<li style=\"background: #f8fcff; margin: 0cm 0cm 0pt; color: black; tab-stops: list 36.0pt\" class=\"MsoNormal\"><b><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small\">ธนบุรีมีป้อมอยู่ คือ </span><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/ป้อมวิชัยประสิทธิ์\" title=\"ป้อมวิชัยประสิทธิ์\"><span style=\"color: black\"><u><span style=\"font-size: small\">ป้อมวิชัยประสิทธิ์</span></u></span></a><span style=\"font-size: small\"> หรือ </span><a href=\"http://th.wikipedia.org/w/index.php?title=%E0%B8%9B%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B9%84%E0%B8%8A%E0%B9%80%E0%B8%A2%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%A3%E0%B9%8C&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"ป้อมวิไชเยนทร์ (หน้านี้ไม่มี)\"><span style=\"color: black\"><u><span style=\"font-size: small\">ป้อมวิไชเยนทร์</span></u></span></a><span style=\"font-size: small\"> ที่สร้างไว้ตั้งแต่</span><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/สมเด็จพระนารายณ์มหาราช\" title=\"สมเด็จพระนารายณ์มหาราช\"><span style=\"color: black\"><u><span style=\"font-size: small\">สมเด็จพระนารายณ์มหาราช</span></u></span></a><span style=\"font-size: small\"> หลงเหลืออยู่ พอที่จะใช้ป้องกันข้าศึกได้ <o:p></o:p></span></span></b></li>\n<li style=\"background: #f8fcff; margin: 0cm 0cm 0pt; color: black; tab-stops: list 36.0pt\" class=\"MsoNormal\"><b><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small\">ธนบุรีตั้งอยู่บนเกาะเหมือนอยุธยา <o:p></o:p></span></span></b></li>\n<li style=\"background: #f8fcff; margin: 0cm 0cm 0pt; color: black; tab-stops: list 36.0pt\" class=\"MsoNormal\"><b><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small\">ธนบุรีตั้งอยู่ปาก</span><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/แม่น้ำเจ้าพระยา\" title=\"แม่น้ำเจ้าพระยา\"><span style=\"color: black\"><u><span style=\"font-size: small\">แม่น้ำเจ้าพระยา</span></u></span></a><span style=\"font-size: small\"> เป็นเส้นทางที่เมืองเหนือทั้งปวงจะได้ค้าขาย จึงสามารถกีดกันมิให้หัวเมืองเหล่านั้นตั้งตนเป็นใหญ่ ซื้อหาอาวุธจากต่างประเทศได้ <o:p></o:p></span></span></b></li>\n<li style=\"background: #f8fcff; margin: 0cm 0cm 0pt; color: black; tab-stops: list 36.0pt\" class=\"MsoNormal\"><b><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small\">ธนบุรีตั้งอยู่ใกล้ทะเล สะดวกแก่การค้ามาก ซึ่งต่างจากอยุธยาที่ต้องขนลงเรือเล็กก่อน <o:p></o:p></span></span></b></li>\n<li style=\"background: #f8fcff; margin: 0cm 0cm 0pt; color: black; tab-stops: list 36.0pt\" class=\"MsoNormal\"><b><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small\">ธนบุรีเป็นเมืองเก่า มีวัดเก่าแก่มากมาย ดังนั้นจึงไม่ต้องสร้าง</span><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/วัด\" title=\"วัด\"><span style=\"color: black\"><u><span style=\"font-size: small\">วัด</span></u></span></a><span style=\"font-size: small\">ขึ้นมาใหม่ทั้งหมด <o:p></o:p></span></span></b></li>\n<li style=\"background: #f8fcff; margin: 0cm 0cm 0pt; color: black; tab-stops: list 36.0pt\" class=\"MsoNormal\"><b><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small\">ธนบุรีมี</span><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/คลอง\" title=\"คลอง\"><span style=\"color: black\"><u><span style=\"font-size: small\">คลอง</span></u></span></a><span style=\"font-size: small\">มาก ดินดี น้ำมาก จึงสามารถทำไร่ทำสวนได้ตลอดทั้งปี <o:p></o:p></span></span></b></li>\n</ol>\n<p><b><span style=\"color: black; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small\">การปกครอง<o:p></o:p></span></span></b><b><span style=\"color: black; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small\">การปกครองในสมัยกรุงธนบุรีนั้น ยืดถือแบบการแบบกรุงศรีอยุธยา โดยแบ่งออกเป็น 2 ประเภท ดังนี้<o:p></o:p></span></span></b><b><span style=\"color: black; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small\">การปกครองส่วนกลาง<o:p></o:p></span></span></b><b><span style=\"color: black; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small\">กรุงธนบุรีเป็นศูนย์กลาง มี</span><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/อัครมหาเสนาบดี\" title=\"อัครมหาเสนาบดี\"><span style=\"color: black\"><u><span style=\"font-size: small\">อัครมหาเสนาบดี</span></u></span></a><span style=\"font-size: small\"> 2 ตำแหน่ง<o:p></o:p></span></span></b> </p>\n<ul type=\"disc\">\n<li style=\"background: #f8fcff; margin: 0cm 0cm 0pt; color: black; tab-stops: list 36.0pt\" class=\"MsoNormal\"><b><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/สมุหนายก\" title=\"สมุหนายก\"><span style=\"color: black\"><u><span style=\"font-size: small\">สมุหนายก</span></u></span></a></span></b><b><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'\"><span style=\"font-size: small\">\'<span lang=\"TH\"> <i>เป็นอัครมหาเสนาบดีฝ่ายพลเรือน เป็นผู้ดูแลหัวเมืองฝ่ายเหนือ ทั้งในราชการฝ่ายทหาร และ พลเรือน ในฐานะเจ้าเสนาบดีกรมมหาดไทย ผู้เป็นจะมียศเป็น</i> <i>เจ้าพระยาจักรี</i></span><i>\'<span lang=\"TH\">หรือที่เรียกว่า ออกญาจักรี</span></i><span lang=\"TH\"> <o:p></o:p></span></span></span></b></li>\n</ul>\n<ul type=\"disc\">\n<li style=\"background: #f8fcff; margin: 0cm 0cm 0pt; color: black; tab-stops: list 36.0pt\" class=\"MsoNormal\"><b><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/สมุหพระกลาโหม\" title=\"สมุหพระกลาโหม\"><span style=\"color: black\"><u><span style=\"font-size: small\">สมุหพระกลาโหม</span></u></span></a></span></b><b><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'\"><span style=\"font-size: small\">\'<span lang=\"TH\"> <i>เป็นอัครมหาเสนาบดีฝ่ายทหาร เป็นผู้ดูแลหัวเมืองฝ่ายใต้ทั้งปวง ยศนั้นก็จะมี</i> <i>เจ้าพระยามหาเสนา</i></span><i>\'<span lang=\"TH\">หรือที่เรียกว่า ออกญากลาโหม</span></i><span lang=\"TH\"> <o:p></o:p></span></span></span></b></li>\n</ul>\n<p><b><span style=\"color: black; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small\">ส่วน</span><a href=\"http://th.wikipedia.org/w/index.php?title=%E0%B8%88%E0%B8%95%E0%B8%B8%E0%B8%AA%E0%B8%94%E0%B8%A1%E0%B8%A0%E0%B9%8C&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"จตุสดมภ์ (หน้านี้ไม่มี)\"><span style=\"color: black\"><u><span style=\"font-size: small\">จตุสดมภ์</span></u></span></a><span style=\"font-size: small\">นั้นยังมีไว้เหมือนเดิม มี</span><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/เสนาบดี\" title=\"เสนาบดี\"><span style=\"color: black\"><u><span style=\"font-size: small\">เสนาบดี</span></u></span></a><span style=\"font-size: small\">เป็นผู้ดูแล และมี</span><a href=\"http://th.wikipedia.org/w/index.php?title=%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B9%82%E0%B8%81%E0%B8%A9%E0%B8%B2%E0%B8%98%E0%B8%B4%E0%B8%9A%E0%B8%94%E0%B8%B5&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"พระยาโกษาธิบดี (หน้านี้ไม่มี)\"><span style=\"color: black\"><u><span style=\"font-size: small\">พระยาโกษาธิบดี</span></u></span></a><span style=\"font-size: small\"> เป็นผู้ดูแลอีกทอดหนึ่ง ซึ่งได้แก่ กรมเวียง กรมวัง กรมคลัง และ กรมนา<o:p></o:p></span></span></b><a name=\".E0.B8.81.E0.B8.B2.E0.B8.A3.E0.B8.9B.E0.\" title=\".E0.B8.81.E0.B8.B2.E0.B8.A3.E0.B8.9B.E0.\"></a><b><span style=\"color: black; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small\">การปกครองส่วนภูมิภาค<o:p></o:p></span></span></b> </p>\n<ul type=\"disc\">\n<li style=\"background: #f8fcff; margin: 0cm 0cm 0pt; color: black; tab-stops: list 36.0pt\" class=\"MsoNormal\"><b><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small\">หัวเมืองชั้นใน จะมีผู้รั้งเมือง เป็นผู้ปกครอง จะอยู่รอบๆไม่ไกลจากราชธานี <o:p></o:p></span></span></b></li>\n</ul>\n<ul type=\"disc\">\n<li style=\"background: #f8fcff; margin: 0cm 0cm 0pt; color: black; tab-stops: list 36.0pt\" class=\"MsoNormal\"><b><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small\">เมืองพระยามหานคร จะแบ่งออกได้เป็น เมืองเอก โท ตรี จัตวา มีเจ้าเมืองเป็นผู้ปกครอง <o:p></o:p></span></span></b></li>\n</ul>\n<ul type=\"disc\">\n<li style=\"background: #f8fcff; margin: 0cm 0cm 0pt; color: black; tab-stops: list 36.0pt\" class=\"MsoNormal\"><b><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small\">เมืองประเทศราช คือเมืองที่จะต้องส่งเครื่องราชบรรณาการมาให้กรุงธนบุรี ซึ่งในขณะนั้น จะมี </span><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/นครศรีธรรมราช\" title=\"นครศรีธรรมราช\"><span style=\"color: black\"><u><span style=\"font-size: small\">นครศรีธรรมราช</span></u></span></a><span style=\"font-size: small\"> </span><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/เชียงแสน\" title=\"เชียงแสน\"><span style=\"color: black\"><u><span style=\"font-size: small\">เชียงแสน</span></u></span></a><span style=\"font-size: small\"> </span><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/เชียงใหม่\" title=\"เชียงใหม่\"><span style=\"color: black\"><u><span style=\"font-size: small\">เชียงใหม่</span></u></span></a><span style=\"font-size: small\"> </span><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/ลำปาง\" title=\"ลำปาง\"><span style=\"color: black\"><u><span style=\"font-size: small\">ลำปาง</span></u></span></a><span style=\"font-size: small\"> </span><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/ลำพูน\" title=\"ลำพูน\"><span style=\"color: black\"><u><span style=\"font-size: small\">ลำพูน</span></u></span></a><span style=\"font-size: small\"> </span><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/พะเยา\" title=\"พะเยา\"><span style=\"color: black\"><u><span style=\"font-size: small\">พะเยา</span></u></span></a><span style=\"font-size: small\"> </span><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/แพร่\" title=\"แพร่\"><span style=\"color: black\"><u><span style=\"font-size: small\">แพร่</span></u></span></a><span style=\"font-size: small\"> </span><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/น่าน\" title=\"น่าน\"><span style=\"color: black\"><u><span style=\"font-size: small\">น่าน</span></u></span></a><span style=\"font-size: small\"> </span><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/ปัตตานี\" title=\"ปัตตานี\"><span style=\"color: black\"><u><span style=\"font-size: small\">ปัตตานี</span></u></span></a><span style=\"font-size: small\"> </span><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/ไทรบุรี\" title=\"ไทรบุรี\"><span style=\"color: black\"><u><span style=\"font-size: small\">ไทรบุรี</span></u></span></a><span style=\"font-size: small\"> </span><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/ตรังกานู\" title=\"ตรังกานู\"><span style=\"color: black\"><u><span style=\"font-size: small\">ตรังกานู</span></u></span></a><span style=\"font-size: small\"> </span><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/มะริด\" title=\"มะริด\"><span style=\"color: black\"><u><span style=\"font-size: small\">มะริด</span></u></span></a><span style=\"font-size: small\"> </span><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/ตะนาวศรี\" title=\"ตะนาวศรี\"><span style=\"color: black\"><u><span style=\"font-size: small\">ตะนาวศรี</span></u></span></a><span style=\"font-size: small\"> </span><a href=\"http://th.wikipedia.org/w/index.php?title=%E0%B8%9E%E0%B8%B8%E0%B8%97%E0%B9%84%E0%B8%98%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8%A8&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"พุทไธมาศ (หน้านี้ไม่มี)\"><span style=\"color: black\"><u><span style=\"font-size: small\">พุทไธมาศ</span></u></span></a><span style=\"font-size: small\"> </span><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/พนมเปญ\" title=\"พนมเปญ\"><span style=\"color: black\"><u><span style=\"font-size: small\">พนมเปญ</span></u></span></a><span style=\"font-size: small\"> </span><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/จำปาศักดิ์\" title=\"จำปาศักดิ์\"><span style=\"color: black\"><u><span style=\"font-size: small\">จำปาศักดิ์</span></u></span></a><span style=\"font-size: small\"> </span><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/หลวงพระบาง\" title=\"หลวงพระบาง\"><span style=\"color: black\"><u><span style=\"font-size: small\">หลวงพระบาง</span></u></span></a><span style=\"font-size: small\"> และ </span><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/เวียงจันทน์\" title=\"เวียงจันทน์\"><span style=\"color: black\"><u><span style=\"font-size: small\">เวียงจันทน์</span></u></span></a><span style=\"font-size: small\"> ฯลฯ <o:p></o:p></span></span></b></li>\n</ul>\n<p><a name=\".E0.B9.80.E0.B8.A8.E0.B8.A3.E0.B8.A9.E0.\" title=\".E0.B9.80.E0.B8.A8.E0.B8.A3.E0.B8.A9.E0.\"></a><b><span style=\"color: black; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small\">เศรษฐกิจ<o:p></o:p></span></span></b><b><span style=\"color: black; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small\">ในช่วงแรกๆ ค่อนข้างที่จะมีปัญหาด้านเศรษฐกิจเพราะเกิดปัญหาข้าวยากหมากแพงไม่เพียงพอกับความต้องการของประชาชน วิธีแก้แรกๆ พระเจ้าตากสินได้สละทรัพย์ส่วนพระองค์ให้ซื้อข้าวแจกกับประชาชน แต่ก็ยังไม่พออยู่ดี จนภายหลังพระองค์จึงให้ราษฎรทุกคนช่วยกันปลูกข้าวในบริเวณรอบๆ พระบรมมหาราชวังเพราะมีดินที่อุดมสมบูรณ์ และทำทั้งนาปรังและนาปีเพื่อให้ข้าวเพียงกับความต้องการของราษฎร ส่วนเรื่องค้าขายคาดว่าน่าจะมีการค้าขายกับชาวจีนบ้างบางส่วน และเราเองก็ได้รับความช่วยเหลือจากคนจีนในบางส่วน สินค้าที่ขายคงเป็นข้าว สภาพเศรษฐกิจของกรุงธนบุรีไม่ค่อยดี เพราะยังมีปัญหาพวกพ่อค้าจากต่างถิ่นไม่ค่อยกล้าเข้ามาทำการค้าขาย เนื่องจากกลัวภัยสงครามในเมืองธนบุรี เนื่องจากกรุงธนบุรีมีการต่อสู้และทำสงครามกับพม่าอยู่ตลอดเวลา<o:p></o:p></span></span></b><a name=\".E0.B8.AA.E0.B8.B1.E0.B8.87.E0.B8.84.E0.\" title=\".E0.B8.AA.E0.B8.B1.E0.B8.87.E0.B8.84.E0.\"></a><b><span style=\"color: black; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small\">สังคม<o:p></o:p></span></span></b><b><span style=\"color: black; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small\">เป็นสังคมเล็กๆ เพราะมีประชากรไม่มากนัก<o:p></o:p></span></span></b><a name=\".E0.B8.A7.E0.B8.B1.E0.B8.92.E0.B8.99.E0.\" title=\".E0.B8.A7.E0.B8.B1.E0.B8.92.E0.B8.99.E0.\"></a><b><span style=\"color: black; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small\">วัฒนธรรม<o:p></o:p></span></span></b><b><span style=\"color: black; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small\">รัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชแม้จะไม่ยาวนานนักได้ฟื้นฟูปรับปรุงบ้านเมืองในด้านวัฒนธรรมอย่างมากเช่น ด้านศาสนาได้แต่งตั้งพระสังฆราช ด้านศิลปะผลงานไม่เด่นชัด ด้านการศึกษาเด็กผู้ชายจะมีโอกาสได้เรียนเท่านั้น<o:p></o:p></span></span></b><a name=\".E0.B8.A7.E0.B8.A3.E0.B8.A3.E0.B8.93.E0.\" title=\".E0.B8.A7.E0.B8.A3.E0.B8.A3.E0.B8.93.E0.\"></a><b><span style=\"color: black; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small\">วรรณกรรม<o:p></o:p></span></span></b><b><span style=\"color: black; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small\">ถึงแม้ว่ากรุงธนบุรีจะดำรงอยู่เป็นเวลาอันสั้น </span><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/วรรณกรรม\" title=\"วรรณกรรม\"><span style=\"color: black\"><u><span style=\"font-size: small\">วรรณกรรม</span></u></span></a><span style=\"font-size: small\"> </span><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/วรรณคดี\" title=\"วรรณคดี\"><span style=\"color: black\"><u><span style=\"font-size: small\">วรรณคดี</span></u></span></a><span style=\"font-size: small\">ทั้งหลายถูกทำลายลง แต่ก็มีเวลาที่จะมาฟื้นฟูศิลปวัฒนธรรม<o:p></o:p></span></span></b> </p>\n<ul type=\"disc\">\n<li style=\"background: #f8fcff; margin: 0cm 0cm 0pt; color: black; tab-stops: list 36.0pt\" class=\"MsoNormal\"><b><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small\">สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี <o:p></o:p></span></span></b></li>\n</ul>\n<p><b><span style=\"color: black; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><a href=\"http://th.wikipedia.org/w/index.php?title=%E0%B8%9A%E0%B8%97%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%A3%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B9%8C&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"บทละครเรื่องรามเกียรติ์ (หน้านี้ไม่มี)\"><span style=\"color: black\"><u><span style=\"font-size: small\">บทละครเรื่องรามเกียรติ์</span></u></span></a><span style=\"font-size: small\"> พระราชทานเมื่อปี </span><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/พ.ศ._2313\" title=\"พ.ศ. 2313\"><span style=\"color: black\"><u><span style=\"font-size: small\">พ.ศ. 2313</span></u></span></a><span style=\"font-size: small\"> อันเป็นปีที่ 3 ในรัชกาลพระองค์ บทละครเรื่อง</span><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/รามเกียรติ์\" title=\"รามเกียรติ์\"><span style=\"color: black\"><u><span style=\"font-size: small\">รามเกียรติ์</span></u></span></a><span style=\"font-size: small\">ฉบับนี้มี 4 ตอน แบ่งออกเป็น 4 เล่ม <o:p></o:p></span></span></b></p>\n<ul type=\"disc\">\n<li style=\"background: #f8fcff; margin: 0cm 0cm 0pt; color: black; tab-stops: list 36.0pt\" class=\"MsoNormal\"><b><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/หลวงสรวิชิต_(หน)\" title=\"หลวงสรวิชิต (หน)\"><span style=\"color: black\"><u><span style=\"font-size: small\">หลวงสรวิชิต (หน)</span></u></span></a><span style=\"font-size: small\"> หรือ </span><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/เจ้าพระยาพระคลัง_(หน)\" title=\"เจ้าพระยาพระคลัง (หน)\"><span style=\"color: black\"><u><span style=\"font-size: small\">เจ้าพระยาพระคลัง (หน)</span></u></span></a><span style=\"font-size: small\"> <o:p></o:p></span></span></b></li>\n</ul>\n<p><b><span style=\"color: black; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small\">หลวงสรวิชิต (หน) แต่งไว้ทั้งหมด 2 เรื่อง ในสมัยกรุงธนบุรี<o:p></o:p></span></span></b><b><span style=\"color: black; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><a href=\"http://th.wikipedia.org/w/index.php?title=%E0%B8%A5%E0%B8%B4%E0%B8%A5%E0%B8%B4%E0%B8%95%E0%B9%80%E0%B8%9E%E0%B8%8A%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B8%B8%E0%B8%8E&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"ลิลิตเพชรมงกุฎ (หน้านี้ไม่มี)\"><span style=\"color: black\"><u><span style=\"font-size: small\">ลิลิตเพชรมงกุฎ</span></u></span></a><span style=\"font-size: small\"> แต่งระหว่างปี พ.ศ. 2310 -2322 <o:p></o:p></span></span></b><b><span style=\"color: black; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><a href=\"http://th.wikipedia.org/w/index.php?title=%E0%B8%AD%E0%B8%B4%E0%B9%80%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%84%E0%B8%B3%E0%B8%89%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B9%8C&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"อิเหนาคำฉันท์ (หน้านี้ไม่มี)\"><span style=\"color: black\"><u><span style=\"font-size: small\">อิเหนาคำฉันท์</span></u></span></a><span style=\"font-size: small\"> แต่งปี </span><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/พ.ศ._2322\" title=\"พ.ศ. 2322\"><span style=\"color: black\"><u><span style=\"font-size: small\">พ.ศ. 2322</span></u></span></a><span style=\"font-size: small\"> <o:p></o:p></span></span></b></p>\n<ul type=\"disc\">\n<li style=\"background: #f8fcff; margin: 0cm 0cm 0pt; color: black; tab-stops: list 36.0pt\" class=\"MsoNormal\"><b><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: small\">นายสวน มหาดเล็ก <o:p></o:p></span></span></b></li>\n</ul>\n<p><b><span style=\"color: black; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><a href=\"http://th.wikipedia.org/w/index.php?title=%E0%B9%82%E0%B8%84%E0%B8%A5%E0%B8%87%E0%B8%A2%E0%B8%AD%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%A3%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%AA%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B9%87%E0%B8%88%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%88%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%B8%E0%B8%87%E0%B8%98%E0%B8%99%E0%B8%9A%E0%B8%B8%E0%B8%A3%E0%B8%B5&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"โคลงยอพระเกียรติสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี (หน้านี้ไม่มี)\"><span style=\"color: black\"><u><span style=\"font-size: small\">โคลงยอพระเกียรติสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี</span></u></span></a><span style=\"font-size: small\"> แต่งเมื่อ </span><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/พ.ศ._2314\" title=\"พ.ศ. 2314\"><span style=\"color: black\"><u><span style=\"font-size: small\">พ.ศ. 2314</span></u></span></a><span style=\"font-size: small\"> <o:p></o:p></span></span></b></p>\n<ul type=\"disc\">\n<li style=\"background: #f8fcff; margin: 0cm 0cm 0pt; color: black; tab-stops: list 36.0pt\" class=\"MsoNormal\"><b><span style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/พระยามหานุภาพ\" title=\"พระยามหานุภาพ\"><span style=\"color: black\"><u><span style=\"font-size: small\">พระยามหานุภาพ</span></u></span></a><span style=\"font-size: small\"> <o:p></o:p></span></span></b></li>\n</ul>\n<p><b><span style=\"color: black; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><a href=\"http://th.wikipedia.org/w/index.php?title=%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%A8%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%B8%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%9E%E0%B9%84%E0%B8%9B%E0%B9%80%E0%B8%A1%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%88%E0%B8%B5%E0%B8%99&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"นิราศพระยามหานุภาพไปเมืองจีน (หน้านี้ไม่มี)\"><span style=\"color: black\"><u><span style=\"font-size: small\">นิราศพระยามหานุภาพไปเมืองจีน</span></u></span></a><span style=\"font-size: small\"> หรือ </span><a href=\"http://th.wikipedia.org/w/index.php?title=%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%A8%E0%B8%81%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%95%E0%B8%B8%E0%B9%89%E0%B8%87&amp;action=edit&amp;redlink=1\" title=\"นิราศกวางตุ้ง (หน้านี้ไม่มี)\"><span style=\"color: black\"><u><span style=\"font-size: small\">นิราศกวางตุ้ง</span></u></span></a><span style=\"font-size: small\"> แต่งเมื่อปี </span><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/พ.ศ._2324\" title=\"พ.ศ. 2324\"><span style=\"color: black\"><u><span style=\"font-size: small\">พ.ศ. 2324</span></u></span></a><span style=\"font-size: small\"> <o:p></o:p></span></span></b><b><span style=\"color: black\"><o:p><span style=\"font-size: small\"> </span></o:p></span></b><b><span style=\"color: black\" lang=\"TH\"><o:p><span style=\"font-size: small\"> </span></o:p></span></b><b><span style=\"color: black\"><o:p><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\"> </span></o:p></span></b> </p>\n', created = 1727522192, expire = 1727608592, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:4a1b7acfad1d3f776621c04084d283ea' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ประวัติศาสตร์สมัยธนบุรี

ประวัติศาสตร์สมัยธนบุรีกรุงธนบุรี เป็นราชธานีของไทย ในช่วง พ.ศ. 2310 - 2325 มีที่ตั้ง ณ ฝั่งตะวันตกของแม่น้ำเจ้าพระยา ที่เมืองธนบุรีเดิมหลังจากกรุงศรีอยุธยาต้องเสียแก่พม่า เมื่อ พ.ศ. 2310 แล้ว สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ก็ได้ทรงสถาปนาราชธานีแห่งใหม่ขึ้น พระราชทานนามว่า "กรุงธนบุรีศรีมหาสมุทร" เมื่อจุลศักราช 1130 ปีชวด สัมฤทธิศก ตรงกับ พ.ศ. 2310 จวบจนถึง พ.ศ. 2325 นับเป็นเวลาแห่งราชธานีเพียง 15 ปีเท่านั้นแม้กรุงศรีอยุธยา จะถูกทำลายย่อยยับ พม่าก็มิได้รุกรานดินแดนสยามทั้งหมด ทหารพม่ามีกำลังเพียงควบคุมในเมืองหลวง และ เมืองใกล้เคียงเท่านั้น หลังจากเสด็จสิ้นการปล้นสะดม พม่ายกเลิกทัพกลับไป เหลือไว้แต่เพียงกองทัพเล็กๆ ประมาณ 3,000 คน มีสุกี้พระนายกอง เป็นผู้ดูแลรักษากรุงศรีอยุธยา ตั้งค่ายอยู่ที่บ้านโพธิ์สามต้น พร้อมกันนั้น พม่าได้ตั้ง นายทองอิน ซึ่งเป็นคนไทย ให้ไปเป็นผู้ดูแลรักษาเมืองธนบุรีไว้แทนพม่า ดังนั้นหัวเมืองอื่นๆ ที่ปลอดจากการรุกรานของพม่า จึงตั้งตนเป็นใหญ่ไม่ขึ้นต่อใคร เรียกว่าชุมนุม โดยทั้งหมดมีทั้งหมด 5 ชุมนุม ได้แก่ ชุมนุมพระเจ้าตาก (ตั้งหลังสุด) ชุมนุมเจ้าพระยาพิษณุโลก ชุมนุมเจ้านครศรีธรรมราช ชุมนุมเจ้าพิมาย และ ชุมนุมพระเจ้าฝางการตั้งตัว สาเหตุของการหลบหนีขณะที่กรุงศรีอยุธยาทำสงครามกับพม่าอยู่นั้น พระยาตากได้เห็นความอ่อนแอของสมเด็จพระเจ้าเอกทัศน์ และมองไม่เห็นหนทางที่จะเอาชนะข้าศึกได้ จึงไม่อยากอยู่ร่วมปฏิบัติหน้าที่ราชการต่อไปบังเกิดขึ้นหลายครั้ง ดังนี้

  • พระยาตากคุมทหารออกไปรบนอกเมือง และสามารถรบชนะข้าศึกได้ แต่ทางการไม่ส่งทหารมาเพิ่ม จึงต้องเสียค่ายนั้นไปอีก
  • พระยาตากได้รับบัญชาให้ยกกองทัพเรือออกไปรบพร้อมกับพระยาเพชรบุรี แต่พระยาตากเห็นว่าพม่ามีพลที่มากกว่า จึงห้ามไม่ให้พระยาเพชรบุรีไปออกรบ แต่พระยาเพชรบุรีไม่เชื่อฟัง จึงออกไปรบ และเสียชีวิตในสนามรบ ทำให้พระยาตากถูกกล่าวหาว่าทิ้งให้พระยาเพชรบุรีเป็นอันตราย
  • 3 เดือนก่อนกรุงแตก พม่ายกกองมาปล้นทางเหนือของพระนคร พระเจ้าตากเห็นการ จึงจำเป็นต้องขออนุญาตจากกรุงให้ใช่ปืนใหญ่ แต่ทางกรุงไม่อนุญาต

พระยาตากจึงคิดว่าถ้ายังเป็นอย่างนี้ กรุงศรีอยุธยาจะต้องแตก พระยาตากจึงตัดสินใจตีฝ่าวงล้อมของพม่าออกไป พร้อมกับขุนนางนายทหารผู้ใหญ่ตีฝ่าวงล้อมพม่า โดยนายทหารและขุนนางผู้ใหญ่มี พระเชียงเงิน หลวงพรหมเสนา หลวงพิชัยราชา หลวงราชเสนา ขุนอภัยภักดี และ หมื่นราชเสน่หา ออกไปตั้งค่ายที่ วัดพิชัย เมื่อเสาร์ เดือนยี่ ขึ้น 4 ค่ำ ปีจอ จุลศักราช 1128 ตรงกับวันที่ 3 มกราคม พ.ศ. 2310 พอไปถึงบ้านสำบัณฑิตเวลาเที่ยงคืนเศษ ก็แลเห็นแสงเพลิงไหม้จากพระนครการเดินทางไปยังเมืองจันทบุรี เมืองระยองพระยาตากได้นำทัพผ่านบ้านโพสามหาร บ้านบางดง ซึ่งมีแต่ทหารพม่า ผ่าน หนองไม้ทรุง เมืองนครนายก เมืองปราจีนบุรี ลงใต้ผ่านพัทยา สัตหีบ ตลอดทางมีคนอ้อมน้อมเป็นพรรคพวกจำนวนมาก พระยาตากนำทัพเลียบชายฝั่ง จนมาถึงเขตเมืองระยอง ผู้รั้งเมืองระยองเห็นว่า ทัพพระยาตากเป็นทัพใหญ่ จึงพากรมการเมืองไปต้อนรับนอบน้อมและที่เมืองระยองนี้เอง ที่พระยาตากได้ตั้งตนเป็นเจ้าด้วยความเห็นชอบของบรรดาขุนนาง และ กลุ่มชน แต่ต่อมา นายบุญรอด แขนอ่อน นายบุญมาซึ่งเป็นน้องภริยาของพระยาจันทบุรี ที่ได้เข้ามาถวายตัวเข้ารับราชการ ได้กราบทูลความรับให้ทรงทราบว่าขุนรามหมื่นส้อง นายทองอยู่ นกเล็ก และ พรรคพวกการเมืองระยองคิดร้าย เจ้าตากจึงทรงวางแผนซ้อนตีต้อนพวกคิดร้ายแตกพ่ายไป เมื่อเจ้าตากได้เมืองระยองแล้ว ทรงส่งคนไปเกลี้ยกล่อมพระยาจันทบุรี แล้วออกตามจับขุนรามหมื่นส้อง กับ นายทองอยู่ นกเล็ก ต่อไป และในที่สุด นายทองอยู่ นกเล็ก ก็ได้มาอ่อนน้อม พระยาตากจึงทรงแต่งตั้งให้ นายทองอยู่ นกเล็ก เป็น พระยาอนุราชบุรีศรีมหาสมุทร ปกครองเมืองชลบุรีต่อไปเมืองจันทบุรีเจ้าตากทรงพิจารณาเห็นว่า เมืองจันทบุรีเป็นเมืองที่ใหญ่ และยังอุดมสมบูรณ์ บ้านเรือนเป็นปกติสุขอยู่ เจ้าตากจึงทรงเกลี้ยกล่อมเมืองจันทบุรีให้มาช่วยกู้เอกราชพระยาจันทบุรีรับคำไมตรีในช่วงแรก แต่แล้วพระยาจันทบุรีกลับไปร่วมมือกับขุนรามหมื่นส้อง วางแผนลวงให้เจ้าตากยกกองทัพเข้าไปตีเมืองจันทบุรี แล้วค่อยกำจัดเสียในภายหลัง แต่พระยาตากทรงรู้ทัน จึงทรงหยุดยั้งอยู่หน้าเมืองในขณะนั้นหลวงนายศักดิ์ (หมุด) ถูกเจ้าเมืองจันทบุรีคุมขังอยู่ ได้หนีออกมาสมทบเจ้าตาก เพราะรู้จักคุ้นเคยกันมาก่อน หลวงนายศักดิ์ได้มอบจีนพรรคพวกให้ 500 คน กับเงินส่วยสาอากร 300 ชั่งที่เก็บจากเจ้าเมืองจันทบุรีเมื่อเจ้าตากทรงพิจารณาเห็นว่าพระยาจันทบุรีหลงเชื่อคำของขุนรามหมื่นส้อง ไม่ยอมอ่อนน้อมให้แล้ว จึงตรัสให้ทหารทั้งปวง เทอาหารทิ้ง ทุบหม้อทุบต่อยหม้อแกงจนแหลกหมด แล้วจึงตรัสว่า วันนี้เราจะเอาเมืองจันทบุรีให้ได้ ให้ไปหาข้าวของกินกันในเมือง หากไม่ได้ก็จงตายเสียให้สิ้นด้วยกันเถิดครั้นตกดึกประมาณ 3 นาฬิกา เจ้าตากก็สามารถบุกเข้าเมืองได้ ตรงกับวันที่ 14 มิถุนายน พ.ศ. 2310 เจ้าตากจึงสามารถรวบรวมหัวเมืองตะวันออก ได้แก่ ชลบุรี และ ระยอง จันทบุรีได้การสถาปนากรุงธนบุรีเมื่อพระเจ้าตากทรงขับไล่พม่าออกจากกรุงศรีอยุธยาแล้ว ก็รวบรวมผู้คน ทรัพย์สมบัติ และสิ่งต่างๆ ซึ่งสุกี้พระนายกองยังมิได้นำไปยังพม่า นำกลับมายังค่ายที่เมืองธนบุรี ปรากฏว่าที่เมืองลพบุรี มีพระบรมวงศานุวงศ์ของราชวงศ์อยุธยามาพำนักอยู่เป็นจำนวนมาก พระเจ้าตากจึงสั่งให้คนไปอัญเชิญมายังเมืองธนบุรี พระองค์ทรงขุดพระบรมศพของสมเด็จพระเจ้าเอกทัศน์ขึ้นมาถวายพระเพลิงตามราชประเพณี ต่อจากนั้น พระองค์ก็ทรงคิดที่จะปฏิสังขรณ์พระนครศรีอยุธยาให้กลับคืนเป็นดังเดิม แต่แล้วหลังจากตรวจดูความพินาศของเมือง ก็ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้อพยพผู้คนเคลื่อนลงมาทางใต้ ตั้งราชธานีใหม่ขึ้นที่เมืองธนบุรี เรียกนามว่า กรุงธนบุรีศรีมหาสมุทรเหตุผลที่ทรงย้ายราชธานี

  1. ถึงแม้ว่ากรุงศรีอยุธยาจะเป็นราชธานีที่มีชัยภูมิดี มีแม่น้ำล้อมรอบ แต่พระเจ้าตากไม่มีทหารเพียงพอที่จะปกป้องพระนครได้ จึงอาจจะทำให้ข้าศึก บุกเข้ามาโดยง่าย
  2. กรุงศรีอยุธยาอยู่ในทำเลที่ข้าศึกเข้ามาสะดวก พม่ารู้ประตูทางเข้าออกและจุดอ่อนของกรุงศรีแล้ว จึงทำให้เสียเปรียบต่อการป้องกันพระนคร
  3. กรุงศรีอยุธยาทรุดโทรมมาก ยากแก่การบูรณะสังขร
  4. อยุธยาอยู่ไกลจากทะเล ซึ่งไม่สะดวกในการค้าขาย

เหตุผลทีทรงเลือกเมืองธนบุรี

  1. ธนบุรีมีแม่น้ำใหญ่กว้างไหลผ่าน เมื่อข้าศึกมา จึงสามารถขึ้นเรือหนีไปที่เมืองจันทบุรีได้
  2. ธนบุรีมีป้อมอยู่ คือ ป้อมวิชัยประสิทธิ์ หรือ ป้อมวิไชเยนทร์ ที่สร้างไว้ตั้งแต่สมเด็จพระนารายณ์มหาราช หลงเหลืออยู่ พอที่จะใช้ป้องกันข้าศึกได้
  3. ธนบุรีตั้งอยู่บนเกาะเหมือนอยุธยา
  4. ธนบุรีตั้งอยู่ปากแม่น้ำเจ้าพระยา เป็นเส้นทางที่เมืองเหนือทั้งปวงจะได้ค้าขาย จึงสามารถกีดกันมิให้หัวเมืองเหล่านั้นตั้งตนเป็นใหญ่ ซื้อหาอาวุธจากต่างประเทศได้
  5. ธนบุรีตั้งอยู่ใกล้ทะเล สะดวกแก่การค้ามาก ซึ่งต่างจากอยุธยาที่ต้องขนลงเรือเล็กก่อน
  6. ธนบุรีเป็นเมืองเก่า มีวัดเก่าแก่มากมาย ดังนั้นจึงไม่ต้องสร้างวัดขึ้นมาใหม่ทั้งหมด
  7. ธนบุรีมีคลองมาก ดินดี น้ำมาก จึงสามารถทำไร่ทำสวนได้ตลอดทั้งปี

การปกครองการปกครองในสมัยกรุงธนบุรีนั้น ยืดถือแบบการแบบกรุงศรีอยุธยา โดยแบ่งออกเป็น 2 ประเภท ดังนี้การปกครองส่วนกลางกรุงธนบุรีเป็นศูนย์กลาง มีอัครมหาเสนาบดี 2 ตำแหน่ง

  • สมุหนายก' เป็นอัครมหาเสนาบดีฝ่ายพลเรือน เป็นผู้ดูแลหัวเมืองฝ่ายเหนือ ทั้งในราชการฝ่ายทหาร และ พลเรือน ในฐานะเจ้าเสนาบดีกรมมหาดไทย ผู้เป็นจะมียศเป็น เจ้าพระยาจักรี'หรือที่เรียกว่า ออกญาจักรี
  • สมุหพระกลาโหม' เป็นอัครมหาเสนาบดีฝ่ายทหาร เป็นผู้ดูแลหัวเมืองฝ่ายใต้ทั้งปวง ยศนั้นก็จะมี เจ้าพระยามหาเสนา'หรือที่เรียกว่า ออกญากลาโหม

ส่วนจตุสดมภ์นั้นยังมีไว้เหมือนเดิม มีเสนาบดีเป็นผู้ดูแล และมีพระยาโกษาธิบดี เป็นผู้ดูแลอีกทอดหนึ่ง ซึ่งได้แก่ กรมเวียง กรมวัง กรมคลัง และ กรมนาการปกครองส่วนภูมิภาค

  • หัวเมืองชั้นใน จะมีผู้รั้งเมือง เป็นผู้ปกครอง จะอยู่รอบๆไม่ไกลจากราชธานี
  • เมืองพระยามหานคร จะแบ่งออกได้เป็น เมืองเอก โท ตรี จัตวา มีเจ้าเมืองเป็นผู้ปกครอง

เศรษฐกิจในช่วงแรกๆ ค่อนข้างที่จะมีปัญหาด้านเศรษฐกิจเพราะเกิดปัญหาข้าวยากหมากแพงไม่เพียงพอกับความต้องการของประชาชน วิธีแก้แรกๆ พระเจ้าตากสินได้สละทรัพย์ส่วนพระองค์ให้ซื้อข้าวแจกกับประชาชน แต่ก็ยังไม่พออยู่ดี จนภายหลังพระองค์จึงให้ราษฎรทุกคนช่วยกันปลูกข้าวในบริเวณรอบๆ พระบรมมหาราชวังเพราะมีดินที่อุดมสมบูรณ์ และทำทั้งนาปรังและนาปีเพื่อให้ข้าวเพียงกับความต้องการของราษฎร ส่วนเรื่องค้าขายคาดว่าน่าจะมีการค้าขายกับชาวจีนบ้างบางส่วน และเราเองก็ได้รับความช่วยเหลือจากคนจีนในบางส่วน สินค้าที่ขายคงเป็นข้าว สภาพเศรษฐกิจของกรุงธนบุรีไม่ค่อยดี เพราะยังมีปัญหาพวกพ่อค้าจากต่างถิ่นไม่ค่อยกล้าเข้ามาทำการค้าขาย เนื่องจากกลัวภัยสงครามในเมืองธนบุรี เนื่องจากกรุงธนบุรีมีการต่อสู้และทำสงครามกับพม่าอยู่ตลอดเวลาสังคมเป็นสังคมเล็กๆ เพราะมีประชากรไม่มากนักวัฒนธรรมรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชแม้จะไม่ยาวนานนักได้ฟื้นฟูปรับปรุงบ้านเมืองในด้านวัฒนธรรมอย่างมากเช่น ด้านศาสนาได้แต่งตั้งพระสังฆราช ด้านศิลปะผลงานไม่เด่นชัด ด้านการศึกษาเด็กผู้ชายจะมีโอกาสได้เรียนเท่านั้นวรรณกรรมถึงแม้ว่ากรุงธนบุรีจะดำรงอยู่เป็นเวลาอันสั้น วรรณกรรม วรรณคดีทั้งหลายถูกทำลายลง แต่ก็มีเวลาที่จะมาฟื้นฟูศิลปวัฒนธรรม

  • สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี

บทละครเรื่องรามเกียรติ์ พระราชทานเมื่อปี พ.ศ. 2313 อันเป็นปีที่ 3 ในรัชกาลพระองค์ บทละครเรื่องรามเกียรติ์ฉบับนี้มี 4 ตอน แบ่งออกเป็น 4 เล่ม

หลวงสรวิชิต (หน) แต่งไว้ทั้งหมด 2 เรื่อง ในสมัยกรุงธนบุรีลิลิตเพชรมงกุฎ แต่งระหว่างปี พ.ศ. 2310 -2322 อิเหนาคำฉันท์ แต่งปี พ.ศ. 2322

  • นายสวน มหาดเล็ก

โคลงยอพระเกียรติสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี แต่งเมื่อ พ.ศ. 2314

นิราศพระยามหานุภาพไปเมืองจีน หรือ นิราศกวางตุ้ง แต่งเมื่อปี พ.ศ. 2324    

รูปภาพของ silavacharee

Innocent ผู้สร้างเป็นใคร อ้างอิงก็ไม่มี อ่านแล้ว งง

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 283 คน กำลังออนไลน์