• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:f968e7d55b642e50419f987f2acab228' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><span><span style=\"color: #000000\"></span><o:p><span style=\"color: #000000\"><strong><span><u>ความเป็นมาของถิ่นเดิมของชนชาติไทย<o:p></o:p></u></span></strong><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\">            <span lang=\"TH\">การศึกษาเรื่องถิ่นเดิมของชนชาติไทยเริ่มจากข้อสงสัยของชาวตะวันตก</span>  <span lang=\"TH\">ที่เห็นผู้คนในดินแดนประเทศไทยคนหลายเชื้อชาติ</span>  <span lang=\"TH\">และมีวัฒนธรรมหลากหลาย</span>  <span lang=\"TH\">ทั้งยังมีกลุ่มคนที่พูดภาษาตระกูลภาษาไทอยู่ทั่วไปในอาณาอันกว้างใหญ่โดยรอบ</span><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\">            <span lang=\"TH\">การศึกษาเพื่อค้นหาถิ่นเดิมของชนชาติไทยในอดีตได้เริ่มมีมาตั้งแต่สมัยอยุธยา</span> &amp; nbsp; <span lang=\"TH\">ดังปรากฏหลักฐานในหนังสือ จดหมายเหตุของ ลา ลูเเบร์</span>   <span lang=\"TH\">ซึ่งเป็นบันทึกของ</span>   <strong><span lang=\"TH\">ซิมง</span>  <span lang=\"TH\">เดอ ลา ลูเเบร์</span>  (Simon  de  la  Loubere)</strong><span lang=\"TH\">ราชทูตจากประเทศฝรั่งเศสสมัยพระเจ้าหลุยส์ที่ ๑๔</span>  <span lang=\"TH\">ที่เข้ามาเจริญสัมพันธไมตรีกับไทยสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช</span>  <span lang=\"TH\">ระหว่าง</span>  <span lang=\"TH\">พ.ศ.</span>  <span lang=\"TH\">๒๒๒๙</span> –  <span lang=\"TH\">๑๑๒๑</span>   <span lang=\"TH\">ได้กล่าวถึงความเป็นมาของชนชาติไทยว่า</span>   <span lang=\"TH\">ปฐมบรมกษัตริย์ของชาวสยามนั้นทรงพระนามว่า</span>   <span lang=\"TH\">พระปฐมสุริยเทพนรไทยสุวรรณบพิตร พระมหานครแห่งแรกที่เสด็จขึ้นเถลิงถวัลย์ราชสมบัตินั้นชื่อว่าไชยบุรีมหานคร</span>  <span lang=\"TH\">เมื่อประมาณ พ</span>.<span lang=\"TH\">ศ.</span>  <span lang=\"TH\">๑๓๐๐</span>  <span lang=\"TH\">บันทึกของ</span>  <span lang=\"TH\">ลา</span>  <span lang=\"TH\">ลูเเบร์</span>   <span lang=\"TH\">ยังได้กล่าวถึงการสืบราชสมบัติและการตั้งราชวงศ์ของพระมหากษัตริย์ไทยตั้งแต่</span>  <span lang=\"TH\">พ.ศ. ๑๗๓๑</span>  <span lang=\"TH\">เป็นต้นมา</span>             ;    <span lang=\"TH\">ส่วนเรื่องราวของชนชาติไทยก่อน</span>  <span lang=\"TH\">พ.ศ.</span>  <span lang=\"TH\">๑๓๐๐</span>  <span lang=\"TH\">นั้น</span>  <span lang=\"TH\">ลา</span>  <span lang=\"TH\">ลูเเบร์</span>  <span lang=\"TH\">ไม่ได้เอ่ยถึง</span><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ปัจจุบันยังไม่มีข้อสรุปที่แน่นอนว่าถิ่นเดิมของชนชาติไทยอยู่ที่ไหนแน่</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\">   <span lang=\"TH\">แต่มีแนวคิดเกี่ยวกับเรื่องนี้อยู่</span>  <span lang=\"TH\">๕</span>   <span lang=\"TH\">แนวคิด</span>  <span lang=\"TH\">ได้แก่</span><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">๑.แนวคิดถิ่นเดิมของชนชาติไทยอยู่ในบริเวณตอนกลางของจีน</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">๒.แนวคิดชนชาติไทยเป็นเชื้อสายมองโกลถิ่นเดิมอยู่แถบภูเขาอัลไต</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">๓.แนวคิดถิ่นเดิมของชนชาติไทยอยู่ในบริเวณตอนใต้ของจีน</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">๔.แนวคิดถิ่นเดิมของชนชาติไทยอยู่ในคาบสมุทรมลายูและหมู่เกาะอินโดนีเซีย</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">๕.แนวคิดถิ่นเดิมของชนชาติไทยอยู่ในประเทศไทยปัจจุบัน</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span><span><strong> <span lang=\"TH\">เรื่องความเป็นมาของชนชาติไทย</span><o:p></o:p></strong></span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">พ่อขุนรามคำแหงมหาราชทรงประดิษฐ์อักษรไทยขึ้นพ.ศ. ๑๘๒๖ ประวัติศาสตร์ของไทยในเอเซียอาคเนย์ จึงเริ่มจดบันทึกหลักฐานแน่นอนโดยคนไทยมาแต่ยุคนั้น แม้ตำนานของไทยเผ่าต่าง ๆ จะกล่าวย้อนไป ก่อนตั้งจุลศักราช (พ.ศ. ๑๑๘๒) บ้าง แต่ก็ไม่ยึดถือศักราชเป็นของแน่นอนได้ เรื่องราวของไทยเผ่าต่าง ๆพอเป็นหลักได้ก็ประมาณ พ.ศ. ๑๗๕๐ <span> </span>ฉะนั้น เรื่องของชนชาติไทยก่อนหน้านั้น ยิ่งนานขึ้นไป ก็เป็นเรื่องสันนิษฐานมากขึ้นตามลำดับ การเคลื่อนย้ายของชนชาติไทยมีหลายความเห็นเช่น</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span><span><strong>ความเห็นที่ ๑<o:p></o:p></strong></span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ไทยอพยพจากเหนือลงใต้ มีความเห็นว่าไทยอพยพจากภูเขาอัลไตในใจกลางทวีปเอเชียลงมายังน่านเจ้าแล้วอพยพต่อลงมาประเทศไทยนักประวัติศาสตร์บางคนไม่เชื่อความเห็นนี้</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span><span><strong>ความเห็นที่ ๒<o:p></o:p></strong></span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ไทยพร้อมกับฟิลิปปินส์ มาเลเซีย และอินโดนีเซียอพยพจากเส้นศูนย์สูตรมาประเทศไทย แล้วเลยไปถึงจีน เรื่องนี้มีทฤษฎีภาษาศาสตร์ของ เบเนดิกส์ สนับสนุนอยู่เช่นคำว่าฟิลิปปินส์ ปะตาย แปลว่า ตาย อากู แปลว่า กู คาราบาวแปลว่า กระบือ เป็นต้น นักภาษาศาสตร์ส่วนใหญ่ไม่ยอมรับ วิธีการของเบเนดิกส์ เพราะนำภาษาปัจจุบันของฟิลิปปินส์มาเทียบกับไทย แทนที่จะสานคำกลับไปว่า๑๒๐๐ปีมาแล้วคำไทยควรเป็นอย่างไรและคำฟิลิปปินส์ควรเป็นอย่างไร แล้วจึงนำมาเทียบกันได้</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span><span><strong>ความเห็นที่ ๓<o:p></o:p></strong></span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ไทยอยู่ในประเทศไทยมาหลายพันปีและมีคนไทยกระจายอยู่ทั่วไปในอินเดีย พม่า จีน ไทย ลาว และ เวียดนาม บางคนถือว่าบ้านเชียงก็เป็นคนไทย แต่ยังไม่มีผู้ใดเคยพิสูจน์ว่า วัฒนธรรมของมนุษย์ก่อนประวัติศาสตร์ที่บ้านเชียงเหมือนกับวัฒนธรรม คนไทยในปัจจุบันเหมือนกัน ต่างกันอย่างไร หม่อมเจ้าสุภัทรดิศ ดิศกุลทรงอ้างความเห็นของกอร์แมนว่า โครงกระดูกบ้านเชียงคล้ายกับกระดูกมนุษย์ที่อยู่ตามมหาสมุทรแปซิฟิก อีกประการ จารึกในแหลมทองเป็นอักษรมอญ ภาษามอญมาจนถึงประมาณ พ.ศ.๑๗๓๐ ไม่เคยมีจารึกภาษาไทยเขียนด้วยอักษรใดก่อนจารึกพ่อขุนรามคำแหงเลย</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span><span><strong>ความเห็นที่ ๔<o:p></o:p></strong></span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ปัจจุบันนักภาษาศาสตร์นักประวัติศาสตร์ นานาชาติส่วนใหญ่สนับสนุนความเห็นของศาสตราจารย์ เก็ดนีย์ว่า ถิ่นกำเนิดของภาษาไทยอาจอยู่ตามเส้นเขตแดนมณฑลกวางสีของจีนกับ เมืองแถงหรือเดียนเบียนฟูในเวียดนามไม่ก็อยู่ ข้างบนหรือข้างล่างใกล้เส้นแบ่งเขตแดนศาสตราจารย์เก็ดนีย์อาศัยทฤษฎีว่า ภาษาเกิดที่ใด จะมีภาษาท้องถิ่นมากหลายชนิดเกิดขึ้นบริเวณนั้น เพราะอยู่มานานจนแตกต่างออกไป พวกจ้วงที่อยู่ในกวางสีห่างกันเพียง๒๐กิโลเมตรยังพูดกันไม่รู้เรื่อง แต่ภาษาถิ่นต่างๆของลาวไทยและพม่าไม่ค่อยต่างกัน</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"> <span lang=\"TH\">ยังฟังกันรู้เรื่องภาษาอังกฤษ</span><o:p></o:p></span><span><strong>งานค้นคว้าเรื่องชนชาติไทย<o:p></o:p></strong></span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\">            <span lang=\"TH\">งานค้นคว้าเรื่องชนชาติไทยอาจทำได้ ๒ วิธี</span>  <span lang=\"TH\">วิธีหนึ่ง ใช้วิธีเดินทางท่องเที่ยวไปในหมู่ชนชาติไทย ที่ยังคงมีถิ่นฐานกระจัดกระจายอยู่ในประเทศจีนตอนใต้ ตังเกี๋ย ลาวพม่าและอินเดียทำการสอบสวนค้นคว้าทางภาษาบ้านเรือน การแต่งกาย ความเป็นอยู่ อาหารการกินอาชีพขนบธรรมเนียมประเพณีศิลปกรรม อื่นๆ วิธีนี้ต้องใช้เวลามาก วิธีนี้ได้มีชาวยุโรป และชาวไทยบางท่านได้ทำไว้แล้ว เช่นหมอวิลเลียมคลิฟตัน ดอดด์ ซึ่งเป็นหมอสอนศาสนาชาวอเมริกันใช้เวลา ๒๕ ปี เดินทางท่องเที่ยวไปพำนักอยู่กับคนไทยถิ่นประเทศต่าง ๆ เพื่อเผยแพร่ศาสนาคริสต์ และใช้โอกาสศึกษาค้นคว้าเรื่องชนชาติไทยไปด้วย และได้เขียนเอกสารเกี่ยวกับเรื่องนี้ไว้อย่างยากจะผู้ใดเสมอเหมือนได้</span><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\">           <span lang=\"TH\">ยังมีชาวอังกฤษและชาวฝรั่งเศส ซึ่งมามีเมืองขึ้นอยู่ในดินแดนที่ชนชาติไทยมีถิ่นฐานกระจายอยู่อย่างกว้างขวาง ได้ค้นคว้าศึกษาเกี่ยวกับชนชาติไทยไว้</span>  <span lang=\"TH\">ประกอบกับเอกสารวรรณคดีโบราณของจีนก็มีเรื่องของไทยเรา แทรกอยู่เป็นเครื่องช่วยสำคัญ สำหรับนักค้นคว้ารุ่นหลังต่อมา สำหรับคนไทยเรามีนักวิชาการบางท่าน ได้ออกสำรวจถิ่นฐานของชนชาติไทยในดินแดนเหนือประเทศไทย</span><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ปัจจุบันเข้าไปจนถึงดินแดนจีนทางตอนใต้ ได้ประมวลเรื่องที่ได้พบเห็นในหนังสือเรื่อง กาเลหม่านไต</span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"> (<span lang=\"TH\">ท่องเที่ยวไปยังบ้านคนไทย) เป็นข้อมูลค่อนข้างใหม่กว่าข้อมูลที่ชาวตะวันตกได้ค้นคว้าไว้ เป็นข้อมูลประมาณหลังสงครามมหาเอเซียบูรพาสิ้นสุดลงใหม่ ๆ ซึ่งสอดคล้องที่ชาวตะวันตกหลายชาติที่เขียนเอาไว้ก่อนหน้านั้น</span><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\">            <span lang=\"TH\">จากการค้นคว้าดังกล่าว ทำให้ได้ความรู้อันแน่ชัดว่า ไทยเราเป็นเชื้อชาติที่สำคัญยิ่งมาแต่โบราณกาล มีอารยธรรม มีความรู้ทางการปกครอง และมีสิ่งดีหลายอย่างมาพร้อมกับชาติโบราณทั้งหลาย บรรดาผู้ทำการค้นคว้าชาวตะวันตกหลายชาติทั้ง อังกฤษ ฝรั่งเศส และ อเมริกา ต่างยืนยันว่า ชนชาติไทยเจริญมารุ่นราวคราวเดียวกันกับชาติโบราณอื่น ๆ เช่น</span>  <span lang=\"TH\">คาลเดีย และบาบิโลน และว่าชนชาติไทยเป็นพี่ชายของชนชาติจีน เช่น หนังสือที่หมอดอดต์แต่งชื่อ </span>The Tai Race <span lang=\"TH\">มีชื่อเพิ่มเติมว่า </span>Elder brother of the chinese<o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\">            <span lang=\"TH\">ชาวตะวันตกรู้จักประเทศไทยมาช้านาน ตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา มีหนังสือตำนานพิมพ์ออกมาแพร่หลาย</span>  <span lang=\"TH\">โดยเฉพาะอย่างยิ่งในภาษาฝรั่งเศส ตั้งแต่รัชสมัยพระเจ้าหลุยที่ ๑๔</span>  <span lang=\"TH\">ต่อมาเมื่ออังกฤษ และฝรั่งเศสมาได้เมืองขึ้นในดินแดนเอเซียตะวันออก</span>  <span lang=\"TH\">อังกฤษก็ได้พบคนไทยใหญ่ และไทยอาหมที่พูดภาษาไทย</span>  <span lang=\"TH\">ฝรั่งเศสพบลาวและชนชาติไทยในภาคเหนือของตังเกี๋ย ซึ่งพูดภาษาไทย และมีรูปร่างลักษณะเป็นคนไทย นอกจากนั้นเข้าไปในมณฑลยูนนาน และกวางสีของจีน ก็ได้พบคนที่พูดภาษาไทยอีกเป็นจำนวนมาก</span><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\">            <span lang=\"TH\">หมอวิลเลียมคลิฟตัน ดอดด์ ซึ่งเป็นมิชชันนารีสอนคริสตศาสนาอยู่ทางเชียงใหม่</span>  <span lang=\"TH\">ได้เรียนรู้ภาษาไทยเหนือใช้การได้ดี ได้เขียนไว้ว่า</span>  <span lang=\"TH\">เขาสามารถเดินทางไปในมณฑลต่าง ๆ ทางภาคใต้ของจีนโดยไม่มีล่ามเลย</span>  <span lang=\"TH\">คงใช้ภาษาลาวของไทยภาคเหนือเท่านั้น</span>  <span lang=\"TH\">พบว่าภาษาลาวนั้นใช้ได้ทั่วไป แม้ดินแดนทางตะวันตกสุดของมณฑลยูนนาน เมื่อลองประมวลคำพูด สองพันคำ ก็ได้พบเพียง ๑ ใน ๑๔ คำเท่านั้น ที่แตกต่างกับภาษาพูดทางเชียงใหม่ และถ้าไปทางภาคตะวันออกของยูนนาน ก็จะได้พบ ๑ ใน ๘ คำที่ผิดไป ส่วนในมณฑลชานสีจะมีผิดกันมากขึ้นไปเล็กน้อย คือ ๑ ใน ๖ คำ</span><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\">            <span lang=\"TH\">จากจดหมายเหตุของจีนได้เขียนไว้ว่า พวกที่มาตั้งอาณาจักรน่านเจ้านั้น เป็นพวกตระกูลมุง พวกเดียวกับพวก มุง ลุง ปา แคว้นต่าง ๆ ในอาณาจักรน่านเจ้า เริ่มต้นพยางค์ต้นว่าต้า จึงทำให้เข้าใจได้ต่อไปว่า พวกที่มาตั้งอาณาจักรน่านเจ้าเป็นพวกต้ามุง และได้พบต่อไปอีกว่า คำว่า &quot;ต้า&quot; นั้น ในภาษายูนนานหมายความว่า &quot;ใหญ่&quot; คำนี้เมื่อเป็นภาษากวางตุ้งกลายเป็น &quot;ไต&quot; ซึ่งก็แปลว่าใหญ่อีกเช่นกัน</span><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\">            <span lang=\"TH\">จากเอกสารตำนานจึนได้พบว่าในรัชสมัย พระเจ้ายู้ ของจีน ซึ่งเริ่มรัชสมัย เมื่อ ๑๖๖๕ ปี ก่อนพุทธศักราช หรือประมาณกว่าสี่พันปีมาแล้ว ได้มีการสำรวจเขตแดนจีน ปรากฎว่าทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของมณฑลเสฉวนปัจจุบัน เขตแดนจีนในครั้งนั้น ไปจดอาณาเขตของอาณาจักรใหญ่อาณาจักรหนึ่ง ซึ่งชื่อว่าต้ามุง ซึ่งแน่ชัดว่าพวกต้ามุงเป็นพวกเดียวกับพวกที่มาตั้ง อาณาจักรน่านเจ้า เมื่อปี พ.ศ. ๑๑๗๒</span><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\">            <span lang=\"TH\">จากผลการค้นคว้าพบว่า หมู่ชนที่เชื่อกันว่าเป็นชนชาติไทยนั้น ได้ตั้งถิ่นฐานเป็นรัฐอยู่แว่นแคว้นอยู่ในประเทศจีนแล้ว ก่อนที่จีนจะอพยพลงมา เนื่องจากประวัติศาสตร์ของจีนเริ่มต้นที่พระเจ้าวั่งตี่ เมื่อ ๒๐๙๔ ปี ก่อนพุทธศักราชนั้นจีนยังอยู่ทางทะเลแคสเบี้ยน หรืออยู่ระหว่างการเคลื่อนย้ายมุ่งสู่ตะวันออก ยังไม่ได้ตั้งอาณาจักรลงในดินแดนที่เป็นประเทศจีนเวลานี้</span>  <span lang=\"TH\">ประวัติศาสตร์ที่ขงจื้อ เขียนเอง เริ่มต้นที่พระเจ้าเย้า เมื่อ ๑๘๑๔ ปี ก่อนพุทธศักราช ก็ยังเป็นระยะเวลาที่อาณาจักรจีนยังไม่ได้ตั้งถิ่นฐานมั่นคง</span>  <span lang=\"TH\">การสำรวจดินแดนซึ่งกระทำในรัชสมัย พระเจ้ายู้ เมื่อประมาณ ๑๕๐ ปี หลังจากนั้น</span><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\">            <span lang=\"TH\">เมื่อประมาณ ปี พ.ศ. ๒๔๓๑</span>  <span lang=\"TH\">มีรายงานของผู้แทนกงสุลอังกฤษ ประจำเมืองจุงกิง ประเทศจีน ได้ทำรายงานเสนอรัฐสภาอังกฤษ มีความตอนหนึ่งว่า แม้ในเวลานี้ เก้าในสิบของพลเมืองของเมืองนานกิง (อยู่ในมณฑลกวางสีใกล้แคว้นตังเกี๋ย) เป็นคนไทย ไม่มีผู้หญิงคนใดในหมู่ชนพวกนี้ที่จะพูดภาษาจีนได้</span>  <span lang=\"TH\">ชาวโลโล้เป็นแต่พวกคนพเนจรเข้ามาปะปนอยู่ในหมู่คนไทย หัวหน้าปกครองเขตแขวงส่วนมากที่สุดในกวางสีเป็นคนไทย ตั้งแต่ปองไกลงไปถึงนานนิงฟู พลเมืองเป็นไทยทั้งหมด พูดภาษาของตนเอง และส่วนมากที่สุดปกครองโดยหัวหน้าสืบสาย</span><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 14pt; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p> </o:p></span><span style=\"font-size: 14pt; color: red; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\'\"><u><o:p></o:p></u></span>  </span></o:p></span></p>\n<p align=\"center\" style=\"margin: 0cm 0cm 10pt; line-height: normal; text-align: center\" class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p></p>\n', created = 1726719580, expire = 1726805980, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:f968e7d55b642e50419f987f2acab228' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:e373864b96b69c7e815585cb9650dd7b' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><img border=\"0\" src=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-innocent.gif\" alt=\"Innocent\" title=\"Innocent\" /> กว่าจะหาอ่านได้แทบตาย เลย กรุณาบอกแหล่งอ้างอิง และชื่อผู้สร้างด้วยนะคะ</p>\n', created = 1726719580, expire = 1726805980, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:e373864b96b69c7e815585cb9650dd7b' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:68be7421987d70390c4bc47e4f750c3f' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\nส่งงานครูวัชรี \n</p>\n<p>\nเรื่องความเป็นมาของถิ่นเดิมของชนชาติไทย\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\nพรรณชิตา เกิเมืองบัว ม.4/3\n</p>\n', created = 1726719580, expire = 1726805980, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:68be7421987d70390c4bc47e4f750c3f' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ความเป็นมาของถิ่นเดิมของชนชาติไทย

ความเป็นมาของถิ่นเดิมของชนชาติไทย            การศึกษาเรื่องถิ่นเดิมของชนชาติไทยเริ่มจากข้อสงสัยของชาวตะวันตก  ที่เห็นผู้คนในดินแดนประเทศไทยคนหลายเชื้อชาติ  และมีวัฒนธรรมหลากหลาย  ทั้งยังมีกลุ่มคนที่พูดภาษาตระกูลภาษาไทอยู่ทั่วไปในอาณาอันกว้างใหญ่โดยรอบ            การศึกษาเพื่อค้นหาถิ่นเดิมของชนชาติไทยในอดีตได้เริ่มมีมาตั้งแต่สมัยอยุธยา & nbsp; ดังปรากฏหลักฐานในหนังสือ จดหมายเหตุของ ลา ลูเเบร์   ซึ่งเป็นบันทึกของ   ซิมง  เดอ ลา ลูเเบร์  (Simon  de  la  Loubere)ราชทูตจากประเทศฝรั่งเศสสมัยพระเจ้าหลุยส์ที่ ๑๔  ที่เข้ามาเจริญสัมพันธไมตรีกับไทยสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช  ระหว่าง  พ.ศ.  ๒๒๒๙ –  ๑๑๒๑   ได้กล่าวถึงความเป็นมาของชนชาติไทยว่า   ปฐมบรมกษัตริย์ของชาวสยามนั้นทรงพระนามว่า   พระปฐมสุริยเทพนรไทยสุวรรณบพิตร พระมหานครแห่งแรกที่เสด็จขึ้นเถลิงถวัลย์ราชสมบัตินั้นชื่อว่าไชยบุรีมหานคร  เมื่อประมาณ พ.ศ.  ๑๓๐๐  บันทึกของ  ลา  ลูเเบร์   ยังได้กล่าวถึงการสืบราชสมบัติและการตั้งราชวงศ์ของพระมหากษัตริย์ไทยตั้งแต่  พ.ศ. ๑๗๓๑  เป็นต้นมา             ;    ส่วนเรื่องราวของชนชาติไทยก่อน  พ.ศ.  ๑๓๐๐  นั้น  ลา  ลูเเบร์  ไม่ได้เอ่ยถึงปัจจุบันยังไม่มีข้อสรุปที่แน่นอนว่าถิ่นเดิมของชนชาติไทยอยู่ที่ไหนแน่   แต่มีแนวคิดเกี่ยวกับเรื่องนี้อยู่     แนวคิด  ได้แก่๑.แนวคิดถิ่นเดิมของชนชาติไทยอยู่ในบริเวณตอนกลางของจีน๒.แนวคิดชนชาติไทยเป็นเชื้อสายมองโกลถิ่นเดิมอยู่แถบภูเขาอัลไต๓.แนวคิดถิ่นเดิมของชนชาติไทยอยู่ในบริเวณตอนใต้ของจีน๔.แนวคิดถิ่นเดิมของชนชาติไทยอยู่ในคาบสมุทรมลายูและหมู่เกาะอินโดนีเซีย๕.แนวคิดถิ่นเดิมของชนชาติไทยอยู่ในประเทศไทยปัจจุบัน เรื่องความเป็นมาของชนชาติไทยพ่อขุนรามคำแหงมหาราชทรงประดิษฐ์อักษรไทยขึ้นพ.ศ. ๑๘๒๖ ประวัติศาสตร์ของไทยในเอเซียอาคเนย์ จึงเริ่มจดบันทึกหลักฐานแน่นอนโดยคนไทยมาแต่ยุคนั้น แม้ตำนานของไทยเผ่าต่าง ๆ จะกล่าวย้อนไป ก่อนตั้งจุลศักราช (พ.ศ. ๑๑๘๒) บ้าง แต่ก็ไม่ยึดถือศักราชเป็นของแน่นอนได้ เรื่องราวของไทยเผ่าต่าง ๆพอเป็นหลักได้ก็ประมาณ พ.ศ. ๑๗๕๐  ฉะนั้น เรื่องของชนชาติไทยก่อนหน้านั้น ยิ่งนานขึ้นไป ก็เป็นเรื่องสันนิษฐานมากขึ้นตามลำดับ การเคลื่อนย้ายของชนชาติไทยมีหลายความเห็นเช่นความเห็นที่ ๑ไทยอพยพจากเหนือลงใต้ มีความเห็นว่าไทยอพยพจากภูเขาอัลไตในใจกลางทวีปเอเชียลงมายังน่านเจ้าแล้วอพยพต่อลงมาประเทศไทยนักประวัติศาสตร์บางคนไม่เชื่อความเห็นนี้ความเห็นที่ ๒ไทยพร้อมกับฟิลิปปินส์ มาเลเซีย และอินโดนีเซียอพยพจากเส้นศูนย์สูตรมาประเทศไทย แล้วเลยไปถึงจีน เรื่องนี้มีทฤษฎีภาษาศาสตร์ของ เบเนดิกส์ สนับสนุนอยู่เช่นคำว่าฟิลิปปินส์ ปะตาย แปลว่า ตาย อากู แปลว่า กู คาราบาวแปลว่า กระบือ เป็นต้น นักภาษาศาสตร์ส่วนใหญ่ไม่ยอมรับ วิธีการของเบเนดิกส์ เพราะนำภาษาปัจจุบันของฟิลิปปินส์มาเทียบกับไทย แทนที่จะสานคำกลับไปว่า๑๒๐๐ปีมาแล้วคำไทยควรเป็นอย่างไรและคำฟิลิปปินส์ควรเป็นอย่างไร แล้วจึงนำมาเทียบกันได้ความเห็นที่ ๓ไทยอยู่ในประเทศไทยมาหลายพันปีและมีคนไทยกระจายอยู่ทั่วไปในอินเดีย พม่า จีน ไทย ลาว และ เวียดนาม บางคนถือว่าบ้านเชียงก็เป็นคนไทย แต่ยังไม่มีผู้ใดเคยพิสูจน์ว่า วัฒนธรรมของมนุษย์ก่อนประวัติศาสตร์ที่บ้านเชียงเหมือนกับวัฒนธรรม คนไทยในปัจจุบันเหมือนกัน ต่างกันอย่างไร หม่อมเจ้าสุภัทรดิศ ดิศกุลทรงอ้างความเห็นของกอร์แมนว่า โครงกระดูกบ้านเชียงคล้ายกับกระดูกมนุษย์ที่อยู่ตามมหาสมุทรแปซิฟิก อีกประการ จารึกในแหลมทองเป็นอักษรมอญ ภาษามอญมาจนถึงประมาณ พ.ศ.๑๗๓๐ ไม่เคยมีจารึกภาษาไทยเขียนด้วยอักษรใดก่อนจารึกพ่อขุนรามคำแหงเลยความเห็นที่ ๔ปัจจุบันนักภาษาศาสตร์นักประวัติศาสตร์ นานาชาติส่วนใหญ่สนับสนุนความเห็นของศาสตราจารย์ เก็ดนีย์ว่า ถิ่นกำเนิดของภาษาไทยอาจอยู่ตามเส้นเขตแดนมณฑลกวางสีของจีนกับ เมืองแถงหรือเดียนเบียนฟูในเวียดนามไม่ก็อยู่ ข้างบนหรือข้างล่างใกล้เส้นแบ่งเขตแดนศาสตราจารย์เก็ดนีย์อาศัยทฤษฎีว่า ภาษาเกิดที่ใด จะมีภาษาท้องถิ่นมากหลายชนิดเกิดขึ้นบริเวณนั้น เพราะอยู่มานานจนแตกต่างออกไป พวกจ้วงที่อยู่ในกวางสีห่างกันเพียง๒๐กิโลเมตรยังพูดกันไม่รู้เรื่อง แต่ภาษาถิ่นต่างๆของลาวไทยและพม่าไม่ค่อยต่างกัน ยังฟังกันรู้เรื่องภาษาอังกฤษงานค้นคว้าเรื่องชนชาติไทย            งานค้นคว้าเรื่องชนชาติไทยอาจทำได้ ๒ วิธี  วิธีหนึ่ง ใช้วิธีเดินทางท่องเที่ยวไปในหมู่ชนชาติไทย ที่ยังคงมีถิ่นฐานกระจัดกระจายอยู่ในประเทศจีนตอนใต้ ตังเกี๋ย ลาวพม่าและอินเดียทำการสอบสวนค้นคว้าทางภาษาบ้านเรือน การแต่งกาย ความเป็นอยู่ อาหารการกินอาชีพขนบธรรมเนียมประเพณีศิลปกรรม อื่นๆ วิธีนี้ต้องใช้เวลามาก วิธีนี้ได้มีชาวยุโรป และชาวไทยบางท่านได้ทำไว้แล้ว เช่นหมอวิลเลียมคลิฟตัน ดอดด์ ซึ่งเป็นหมอสอนศาสนาชาวอเมริกันใช้เวลา ๒๕ ปี เดินทางท่องเที่ยวไปพำนักอยู่กับคนไทยถิ่นประเทศต่าง ๆ เพื่อเผยแพร่ศาสนาคริสต์ และใช้โอกาสศึกษาค้นคว้าเรื่องชนชาติไทยไปด้วย และได้เขียนเอกสารเกี่ยวกับเรื่องนี้ไว้อย่างยากจะผู้ใดเสมอเหมือนได้           ยังมีชาวอังกฤษและชาวฝรั่งเศส ซึ่งมามีเมืองขึ้นอยู่ในดินแดนที่ชนชาติไทยมีถิ่นฐานกระจายอยู่อย่างกว้างขวาง ได้ค้นคว้าศึกษาเกี่ยวกับชนชาติไทยไว้  ประกอบกับเอกสารวรรณคดีโบราณของจีนก็มีเรื่องของไทยเรา แทรกอยู่เป็นเครื่องช่วยสำคัญ สำหรับนักค้นคว้ารุ่นหลังต่อมา สำหรับคนไทยเรามีนักวิชาการบางท่าน ได้ออกสำรวจถิ่นฐานของชนชาติไทยในดินแดนเหนือประเทศไทยปัจจุบันเข้าไปจนถึงดินแดนจีนทางตอนใต้ ได้ประมวลเรื่องที่ได้พบเห็นในหนังสือเรื่อง กาเลหม่านไต (ท่องเที่ยวไปยังบ้านคนไทย) เป็นข้อมูลค่อนข้างใหม่กว่าข้อมูลที่ชาวตะวันตกได้ค้นคว้าไว้ เป็นข้อมูลประมาณหลังสงครามมหาเอเซียบูรพาสิ้นสุดลงใหม่ ๆ ซึ่งสอดคล้องที่ชาวตะวันตกหลายชาติที่เขียนเอาไว้ก่อนหน้านั้น            จากการค้นคว้าดังกล่าว ทำให้ได้ความรู้อันแน่ชัดว่า ไทยเราเป็นเชื้อชาติที่สำคัญยิ่งมาแต่โบราณกาล มีอารยธรรม มีความรู้ทางการปกครอง และมีสิ่งดีหลายอย่างมาพร้อมกับชาติโบราณทั้งหลาย บรรดาผู้ทำการค้นคว้าชาวตะวันตกหลายชาติทั้ง อังกฤษ ฝรั่งเศส และ อเมริกา ต่างยืนยันว่า ชนชาติไทยเจริญมารุ่นราวคราวเดียวกันกับชาติโบราณอื่น ๆ เช่น  คาลเดีย และบาบิโลน และว่าชนชาติไทยเป็นพี่ชายของชนชาติจีน เช่น หนังสือที่หมอดอดต์แต่งชื่อ The Tai Race มีชื่อเพิ่มเติมว่า Elder brother of the chinese            ชาวตะวันตกรู้จักประเทศไทยมาช้านาน ตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา มีหนังสือตำนานพิมพ์ออกมาแพร่หลาย  โดยเฉพาะอย่างยิ่งในภาษาฝรั่งเศส ตั้งแต่รัชสมัยพระเจ้าหลุยที่ ๑๔  ต่อมาเมื่ออังกฤษ และฝรั่งเศสมาได้เมืองขึ้นในดินแดนเอเซียตะวันออก  อังกฤษก็ได้พบคนไทยใหญ่ และไทยอาหมที่พูดภาษาไทย  ฝรั่งเศสพบลาวและชนชาติไทยในภาคเหนือของตังเกี๋ย ซึ่งพูดภาษาไทย และมีรูปร่างลักษณะเป็นคนไทย นอกจากนั้นเข้าไปในมณฑลยูนนาน และกวางสีของจีน ก็ได้พบคนที่พูดภาษาไทยอีกเป็นจำนวนมาก            หมอวิลเลียมคลิฟตัน ดอดด์ ซึ่งเป็นมิชชันนารีสอนคริสตศาสนาอยู่ทางเชียงใหม่  ได้เรียนรู้ภาษาไทยเหนือใช้การได้ดี ได้เขียนไว้ว่า  เขาสามารถเดินทางไปในมณฑลต่าง ๆ ทางภาคใต้ของจีนโดยไม่มีล่ามเลย  คงใช้ภาษาลาวของไทยภาคเหนือเท่านั้น  พบว่าภาษาลาวนั้นใช้ได้ทั่วไป แม้ดินแดนทางตะวันตกสุดของมณฑลยูนนาน เมื่อลองประมวลคำพูด สองพันคำ ก็ได้พบเพียง ๑ ใน ๑๔ คำเท่านั้น ที่แตกต่างกับภาษาพูดทางเชียงใหม่ และถ้าไปทางภาคตะวันออกของยูนนาน ก็จะได้พบ ๑ ใน ๘ คำที่ผิดไป ส่วนในมณฑลชานสีจะมีผิดกันมากขึ้นไปเล็กน้อย คือ ๑ ใน ๖ คำ            จากจดหมายเหตุของจีนได้เขียนไว้ว่า พวกที่มาตั้งอาณาจักรน่านเจ้านั้น เป็นพวกตระกูลมุง พวกเดียวกับพวก มุง ลุง ปา แคว้นต่าง ๆ ในอาณาจักรน่านเจ้า เริ่มต้นพยางค์ต้นว่าต้า จึงทำให้เข้าใจได้ต่อไปว่า พวกที่มาตั้งอาณาจักรน่านเจ้าเป็นพวกต้ามุง และได้พบต่อไปอีกว่า คำว่า "ต้า" นั้น ในภาษายูนนานหมายความว่า "ใหญ่" คำนี้เมื่อเป็นภาษากวางตุ้งกลายเป็น "ไต" ซึ่งก็แปลว่าใหญ่อีกเช่นกัน            จากเอกสารตำนานจึนได้พบว่าในรัชสมัย พระเจ้ายู้ ของจีน ซึ่งเริ่มรัชสมัย เมื่อ ๑๖๖๕ ปี ก่อนพุทธศักราช หรือประมาณกว่าสี่พันปีมาแล้ว ได้มีการสำรวจเขตแดนจีน ปรากฎว่าทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของมณฑลเสฉวนปัจจุบัน เขตแดนจีนในครั้งนั้น ไปจดอาณาเขตของอาณาจักรใหญ่อาณาจักรหนึ่ง ซึ่งชื่อว่าต้ามุง ซึ่งแน่ชัดว่าพวกต้ามุงเป็นพวกเดียวกับพวกที่มาตั้ง อาณาจักรน่านเจ้า เมื่อปี พ.ศ. ๑๑๗๒            จากผลการค้นคว้าพบว่า หมู่ชนที่เชื่อกันว่าเป็นชนชาติไทยนั้น ได้ตั้งถิ่นฐานเป็นรัฐอยู่แว่นแคว้นอยู่ในประเทศจีนแล้ว ก่อนที่จีนจะอพยพลงมา เนื่องจากประวัติศาสตร์ของจีนเริ่มต้นที่พระเจ้าวั่งตี่ เมื่อ ๒๐๙๔ ปี ก่อนพุทธศักราชนั้นจีนยังอยู่ทางทะเลแคสเบี้ยน หรืออยู่ระหว่างการเคลื่อนย้ายมุ่งสู่ตะวันออก ยังไม่ได้ตั้งอาณาจักรลงในดินแดนที่เป็นประเทศจีนเวลานี้  ประวัติศาสตร์ที่ขงจื้อ เขียนเอง เริ่มต้นที่พระเจ้าเย้า เมื่อ ๑๘๑๔ ปี ก่อนพุทธศักราช ก็ยังเป็นระยะเวลาที่อาณาจักรจีนยังไม่ได้ตั้งถิ่นฐานมั่นคง  การสำรวจดินแดนซึ่งกระทำในรัชสมัย พระเจ้ายู้ เมื่อประมาณ ๑๕๐ ปี หลังจากนั้น            เมื่อประมาณ ปี พ.ศ. ๒๔๓๑  มีรายงานของผู้แทนกงสุลอังกฤษ ประจำเมืองจุงกิง ประเทศจีน ได้ทำรายงานเสนอรัฐสภาอังกฤษ มีความตอนหนึ่งว่า แม้ในเวลานี้ เก้าในสิบของพลเมืองของเมืองนานกิง (อยู่ในมณฑลกวางสีใกล้แคว้นตังเกี๋ย) เป็นคนไทย ไม่มีผู้หญิงคนใดในหมู่ชนพวกนี้ที่จะพูดภาษาจีนได้  ชาวโลโล้เป็นแต่พวกคนพเนจรเข้ามาปะปนอยู่ในหมู่คนไทย หัวหน้าปกครองเขตแขวงส่วนมากที่สุดในกวางสีเป็นคนไทย ตั้งแต่ปองไกลงไปถึงนานนิงฟู พลเมืองเป็นไทยทั้งหมด พูดภาษาของตนเอง และส่วนมากที่สุดปกครองโดยหัวหน้าสืบสาย  

 

รูปภาพของ silavacharee

Innocent กว่าจะหาอ่านได้แทบตาย เลย กรุณาบอกแหล่งอ้างอิง และชื่อผู้สร้างด้วยนะคะ

ส่งงานครูวัชรี 

เรื่องความเป็นมาของถิ่นเดิมของชนชาติไทย

 

พรรณชิตา เกิเมืองบัว ม.4/3

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 721 คน กำลังออนไลน์