• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:b72813b55e721601219e68a20fe47088' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><span style=\"font-size: 13.5pt; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #ffffff\"><o:p><span style=\"font-size: 13.5pt; line-height: 115%; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: 14pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><span style=\"font-size: 26pt; color: red; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">การค้าข้าวในสมัย<span>  </span>ร.5 – ก่อนสงครามโลกครั้งที่ 2</span><span style=\"font-size: 26pt; color: red; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-size: 14pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 14pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><o:p></o:p></span> </span></span></span></o:p></span></span></p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 10pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">                 หลังจากสนธิสัญญาเบาว์ริ่งในปี พ.ศ. 2398 ระบบเศรษฐกิจของไทย เปลี่ยนจากระบบเศรษฐกิจ แบบเลี้ยงตัวเอง ไปสู่ระบบเศรษฐกิจแบบการค้า โดยมีกรุงเทพฯ เป็นตลาดค้าข้าวที่ใหญ่ที่สุด พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงสนับสนุนการเพิ่มผลผลิตข้าว โดยเพิ่มพื้นที่การปลูกข้าว และขุดคลองต่างๆ ใช้ในการชลประทาน และการคมนาคม 8 คลอง ที่จังหวัดฉะเชิงเทรา และ ชานเมืองกรุงเทพฯ ส่งผลให้หลายพื้นที่กลายเป็นแหล่งปลูกข้าว               </span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 10pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">                 </span><span style=\"font-size: 14pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">ผลจากการปฏิรูป แนวทางที่ขจัดอุปสรรคต่างๆ ทางการค้า และนโยบายรัฐที่เอื้ออำนวยต่อการค้าข้าว ทำให้เกิดความกระตือรือร้น ในการปรับปรุงการทำนา เพื่อเพิ่มผลผลิตให้มากขึ้นอย่างต่อเนื่อง กอปรกับ ตลาดต่างประเทศ มีความต้องการข้าวมากขึ้น โดยเฉพาะตลาดในจีน ในสมัยนี้ผู้มีอิทธิพล ด้านการค้าข้าว กับต่างประเทศได้เปลี่ยนมือ จากชาวตะวันตก เป็นพ่อค้าชาวจีนเกือบทั้งสิ้น เพราะชาวจีนมีความใกล้ชิด และรู้ขั้นตอนระบบงาน และ การติดต่อกับทางราชการเป็นอย่างดี ดังปรากฏว่าในปี พ.ศ. 2455 โรงสีไฟทั้งหมด ในไทยที่มีประมาณ 50 โรง เป็นของชาวตะวันตก เพียง 3 โรง ที่เหลือเป็นของชาวจีน ซึ่งได้ลงทุน นำเครื่องสีข้าวไอน้ำจากอังกฤษ และ เยอรมนีเข้ามาตั้งเป็นโรงสีไฟ ส่วนพ่อค้าชาว ตะวันตก ได้เปลี่ยนไปเป็นนายหน้าซื้อข้าวสาร จากไทยส่งไปขายยังสิงคโปร์ และมาเลเซีย พ่อค้าจีน จึงกลายมาเป็นกลุ่มที่มีบทบาทสำคัญทางการค้าข้าวของไทย ในระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 (พ.ศ. 2482 - 2488) ข้าวถือเป็นยุทธปัจจัยสำคัญ การค้าข้าวจึงถูกผูกขาดโดยรัฐบาล</span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 10pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: 14pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">                เมื่อสงครามโลกครั้งที่ 2 สิ้นสุดลงในปี พ.ศ. 2489 ประเทศไทยในฐานะพันธมิตรกับญี่ปุ่น ได้กลายเป็นชาติแพ้สงคราม จึงถูกบังคับให้ส่งมอบข้าวจำนวน 1</span><span style=\"font-size: 14pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\">,<span lang=\"TH\">500</span>,<span lang=\"TH\">000 ตัน ชดเชยค่าเสียหายแก่ฝ่ายสัมพันธมิตร ในเวลา 3 ปี ในปี พ.ศ. 2498 รัฐบาลได้อนุญาตให้เอกชนส่งออกข้าว ภายใต้การควบคุมของรัฐบาล โดยใช้ระบบโควตา และอัตราการแลกเปลี่ยน 2 อัตรา เอกชนผู้ที่ส่งข้าวออกไปขายต่างประเทศ ต้องได้รับอนุญาตจาก กระทรวงเกษตรก่อนเพื่อขอโควตา และเมื่อขายข้าวได้ จะต้องนำเงินตราต่างประเทศ มาแลกเปลี่ยนที่ ธนาคารแห่งประเทศไทย ในอัตราต่ำกว่าอัตราตลาด ผลต่างของอัตราแลกเปลี่ยนเป็นรายได้ของ รัฐบาลแทนภาษี ผลกระทบหลังสงครามสิ้นสุดลง คือได้เกิดภาวะขาดแคลนอาหารไปทั่วโลก แต่กลับเป็นผลดีต่ดกิจการค้าข้าวาของไทย ทำให้สามารถฟื้นตัว และขยายตัวได้อย่างรวดเร็ว </span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 14pt; line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><span lang=\"TH\">                 ต่อมา จากภาวะการขาดแคลนข้าว ของโลกที่ส่งผลให้ราคาข้าวสูงขึ้น รัฐบาลเกรงว่าจะกระทบต่อราคาข้าว ในประเทศ จึงเปลี่ยนการเก็บภาษีมาเป็นระบบ การเสียค่าธรรมเนียมส่งออกที่เรียกว่า <span style=\"color: red\">พรีเมียมข้าว</span> การเก็บค่าพรีเมียมข้าว ทำให้รัฐบาล ในขณะนั้นมีรายไดมากขึ้น แต่ต่อมาการค้าข้าว ได้กลายเป็นตลาดของผู้ซื้อ เนื่องจากประเทศต่างๆ ผลิตข้าวมากขึ้นทำให้ปริมาณการส่งออก และราคาในตลาดโลก ได้รับความกระทบกระเทือน เป็นผลให้ระบบพรีเมียมข้าวหมดความหมาย รัฐบาลจึง ประกาศยกเลิกระบบพรีเมียมข้าว อย่างเป็นทางการเมื่อปี<span>  </span>พ.ศ.2529<span>  </span>ในยุคการปฏิวัติเขียว ช่วงปี พ.ศ. 2509 ผลสำเร็จจากการวิจัยพันธุ์ข้าว ของสถาบันวิจัยข้าวนานาชาติ (</span>IRRI) <span lang=\"TH\">ได้ส่งผลให้กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สามารถพัฒนาพันธุ์ข้าวนาปรัง ที่ปลูกในเขตชลประทานได้ปีละ 2<span>  </span>ครั้งเป็นพันธุ์ข้าวที่ให้ผลผลิตสูง ทำให้ผลิตข้าวได้ปริมาณมาก และส่งออกไปจำหน่ายต่างประเทศมีการตื่นตัว มีการก่อสร้างโรงสีใหม่ และขยายกำลังการผลิต เพื่อรองรับปริมาณข้าวเปลือก ที่ผลิตได้มากขึ้น จนในปี พ.ศ. 2518 โรงสีต่างๆ ได้เปลี่ยนมาใช้เครื่องสีข้าวประเภทมอเตอร์แทนเครื่องยนต์ดีเซล ทำให้ได้ข้าวที่มีคุณภาพดีกว่าเดิมหลังเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516 รัฐบาลของ ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช ได้เริ่มนโยบายพยุงราคาข้าวเปลือก ซึ่งได้พัฒนามาเป็นโครงการ รับจำนำข้าวเปลือกในปัจจุบัน</span><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 13.5pt; color: yellow; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'\"></span><span style=\"font-size: 13.5pt; color: yellow; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'\" lang=\"TH\"><o:p></o:p></span>  </p>\n', created = 1727515355, expire = 1727601755, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:b72813b55e721601219e68a20fe47088' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

การค้าข้าวในสมัย ร.5 - ก่อนสงครามโลกครั้งที่ 2

การค้าข้าวในสมัย  ร.5 – ก่อนสงครามโลกครั้งที่ 2

                 หลังจากสนธิสัญญาเบาว์ริ่งในปี พ.ศ. 2398 ระบบเศรษฐกิจของไทย เปลี่ยนจากระบบเศรษฐกิจ แบบเลี้ยงตัวเอง ไปสู่ระบบเศรษฐกิจแบบการค้า โดยมีกรุงเทพฯ เป็นตลาดค้าข้าวที่ใหญ่ที่สุด พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงสนับสนุนการเพิ่มผลผลิตข้าว โดยเพิ่มพื้นที่การปลูกข้าว และขุดคลองต่างๆ ใช้ในการชลประทาน และการคมนาคม 8 คลอง ที่จังหวัดฉะเชิงเทรา และ ชานเมืองกรุงเทพฯ ส่งผลให้หลายพื้นที่กลายเป็นแหล่งปลูกข้าว              

                 ผลจากการปฏิรูป แนวทางที่ขจัดอุปสรรคต่างๆ ทางการค้า และนโยบายรัฐที่เอื้ออำนวยต่อการค้าข้าว ทำให้เกิดความกระตือรือร้น ในการปรับปรุงการทำนา เพื่อเพิ่มผลผลิตให้มากขึ้นอย่างต่อเนื่อง กอปรกับ ตลาดต่างประเทศ มีความต้องการข้าวมากขึ้น โดยเฉพาะตลาดในจีน ในสมัยนี้ผู้มีอิทธิพล ด้านการค้าข้าว กับต่างประเทศได้เปลี่ยนมือ จากชาวตะวันตก เป็นพ่อค้าชาวจีนเกือบทั้งสิ้น เพราะชาวจีนมีความใกล้ชิด และรู้ขั้นตอนระบบงาน และ การติดต่อกับทางราชการเป็นอย่างดี ดังปรากฏว่าในปี พ.ศ. 2455 โรงสีไฟทั้งหมด ในไทยที่มีประมาณ 50 โรง เป็นของชาวตะวันตก เพียง 3 โรง ที่เหลือเป็นของชาวจีน ซึ่งได้ลงทุน นำเครื่องสีข้าวไอน้ำจากอังกฤษ และ เยอรมนีเข้ามาตั้งเป็นโรงสีไฟ ส่วนพ่อค้าชาว ตะวันตก ได้เปลี่ยนไปเป็นนายหน้าซื้อข้าวสาร จากไทยส่งไปขายยังสิงคโปร์ และมาเลเซีย พ่อค้าจีน จึงกลายมาเป็นกลุ่มที่มีบทบาทสำคัญทางการค้าข้าวของไทย ในระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 (พ.ศ. 2482 - 2488) ข้าวถือเป็นยุทธปัจจัยสำคัญ การค้าข้าวจึงถูกผูกขาดโดยรัฐบาล

                เมื่อสงครามโลกครั้งที่ 2 สิ้นสุดลงในปี พ.ศ. 2489 ประเทศไทยในฐานะพันธมิตรกับญี่ปุ่น ได้กลายเป็นชาติแพ้สงคราม จึงถูกบังคับให้ส่งมอบข้าวจำนวน 1,500,000 ตัน ชดเชยค่าเสียหายแก่ฝ่ายสัมพันธมิตร ในเวลา 3 ปี ในปี พ.ศ. 2498 รัฐบาลได้อนุญาตให้เอกชนส่งออกข้าว ภายใต้การควบคุมของรัฐบาล โดยใช้ระบบโควตา และอัตราการแลกเปลี่ยน 2 อัตรา เอกชนผู้ที่ส่งข้าวออกไปขายต่างประเทศ ต้องได้รับอนุญาตจาก กระทรวงเกษตรก่อนเพื่อขอโควตา และเมื่อขายข้าวได้ จะต้องนำเงินตราต่างประเทศ มาแลกเปลี่ยนที่ ธนาคารแห่งประเทศไทย ในอัตราต่ำกว่าอัตราตลาด ผลต่างของอัตราแลกเปลี่ยนเป็นรายได้ของ รัฐบาลแทนภาษี ผลกระทบหลังสงครามสิ้นสุดลง คือได้เกิดภาวะขาดแคลนอาหารไปทั่วโลก แต่กลับเป็นผลดีต่ดกิจการค้าข้าวาของไทย ทำให้สามารถฟื้นตัว และขยายตัวได้อย่างรวดเร็ว

                 ต่อมา จากภาวะการขาดแคลนข้าว ของโลกที่ส่งผลให้ราคาข้าวสูงขึ้น รัฐบาลเกรงว่าจะกระทบต่อราคาข้าว ในประเทศ จึงเปลี่ยนการเก็บภาษีมาเป็นระบบ การเสียค่าธรรมเนียมส่งออกที่เรียกว่า พรีเมียมข้าว การเก็บค่าพรีเมียมข้าว ทำให้รัฐบาล ในขณะนั้นมีรายไดมากขึ้น แต่ต่อมาการค้าข้าว ได้กลายเป็นตลาดของผู้ซื้อ เนื่องจากประเทศต่างๆ ผลิตข้าวมากขึ้นทำให้ปริมาณการส่งออก และราคาในตลาดโลก ได้รับความกระทบกระเทือน เป็นผลให้ระบบพรีเมียมข้าวหมดความหมาย รัฐบาลจึง ประกาศยกเลิกระบบพรีเมียมข้าว อย่างเป็นทางการเมื่อปี  พ.ศ.2529  ในยุคการปฏิวัติเขียว ช่วงปี พ.ศ. 2509 ผลสำเร็จจากการวิจัยพันธุ์ข้าว ของสถาบันวิจัยข้าวนานาชาติ (IRRI) ได้ส่งผลให้กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สามารถพัฒนาพันธุ์ข้าวนาปรัง ที่ปลูกในเขตชลประทานได้ปีละ 2  ครั้งเป็นพันธุ์ข้าวที่ให้ผลผลิตสูง ทำให้ผลิตข้าวได้ปริมาณมาก และส่งออกไปจำหน่ายต่างประเทศมีการตื่นตัว มีการก่อสร้างโรงสีใหม่ และขยายกำลังการผลิต เพื่อรองรับปริมาณข้าวเปลือก ที่ผลิตได้มากขึ้น จนในปี พ.ศ. 2518 โรงสีต่างๆ ได้เปลี่ยนมาใช้เครื่องสีข้าวประเภทมอเตอร์แทนเครื่องยนต์ดีเซล ทำให้ได้ข้าวที่มีคุณภาพดีกว่าเดิมหลังเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516 รัฐบาลของ ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช ได้เริ่มนโยบายพยุงราคาข้าวเปลือก ซึ่งได้พัฒนามาเป็นโครงการ รับจำนำข้าวเปลือกในปัจจุบัน 

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 437 คน กำลังออนไลน์