• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:e497f98e88f1b80a69292a1a2d85087f' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\nจริยธรรม\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n“จริยธรรม” = จริย + ธรรมะ คือ ความประพฤติที่เป็นธรรมชาติ เกิดจากคุณธรรมในตัวเอง\n</p>\n<p>\nก่อให้เกิดความ สงบเรียบร้อยในสังคม รวมสรุปว่าคือ ข้อควรประพฤติปฏิบัติ\n</p>\n<p>\nจริยธรรม(Ethics) ความเป็นผู้มีจิตใจสะอาด บริสุทธิ์ เสียสละหรือประพฤติดีงาม\n</p>\n<p>\n1. ประมวล กฎหมาย ที่กลุ่มชนหรือสังคมหนึ่งๆ ยอมรับเป็นแนวควบคุมความประพฤติ เพื่อแยกแยะให้เห็นว่าอะไรควรหรือไปกันได้กับการบรรลุวัตถุประสงค์ของกลุ่ม\n</p>\n<p>\n2. ปรัชญาสาขาหนึ่งว่าด้วย ความประพฤติ และการครองชีวิต ว่าอะไรดี อะไรชั่ว อะไรถูก อะไรผิด หรืออะไรควร อะไรไม่ควร\n</p>\n<p>\n3. กฎเกณฑ์ความประพฤติของมนุษย์ซึ่งเกิดขึ้นจากธรรมชาติของมนุษย์เอง ได้แก่ ความเป็นผู้มีปัญญา และเหตุผลหรือปรีชาญาณทำให้มนุษย์มีมโนธรรมและ รู้จักไตร่ตรองแยกแยะความดี - ความชั่ว, ถูก - ผิด, ควร - ไม่ควร เป็นการควบคุมตัวเอง และเป็นการควบคุม กันเองในกลุ่ม หรือเป็นศีลธรรมเฉพาะกลุ่ม\n</p>\n<p>\nศีลธรรม (Moral)\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n1. ความประพฤติที่ดีที่ชอบ หรือธรรมในระดับศีล หรือกรอบปฎิบัติที่ดี เกี่ยวกับความรู้สึกรับผิดชอบ บริสุทธิ์ เกี่ยวกับจิตใจ\n</p>\n<p>\n2. หลักความประพฤติที่ดีสำหรับบุคคลพึงปฏิบัติ\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n“ธรรมาภิบาล” (Good Governance)\n</p>\n<p>\nธรรมาภิบาล คือ ธรรมะ + อภิบาล หมายถึง ปกครองด้วยคุณความดี ซื่อตรงต่อกัน มั่นคงในสัญญาที่มีต่อกัน\n</p>\n<p>\nสัญญา (กฎ กติกา มารยาท) ที่ ร่วมกันทำ เป็นธรรม โปร่งใส รับผิดชอบในสิ่งที่ทำ\n</p>\n<p>\nการจัดการปกครอง การบริหารปกครอง การบริหารกิจการบ้านเมือง การควบคุมดูแลกิจการ การกำกับดูแลที่ดี อันเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการ (Process) และระบบ (System) ซึ่งองค์การหรือสังคมได้มีการปฏิบัติหรือดำเนินการ (Operate) <br />\nธรรมาภิบาล มักครอบคลุมประเด็น ดังนี้<br />\n- การมีส่วนร่วมของประชาชน(Participation)\n</p>\n<p>\n- นิติธรรม (Rule of law)\n</p>\n<p>\n- ความโปร่งใส (Transparency)\n</p>\n<p>\n- การตอบสนอง (Responsiveness)\n</p>\n<p>\n- การแสวงหาฉันทามติ (Consensus oriented)\n</p>\n<p>\n- ความถูกต้อง ความเสมอภาค ยุติธรรม เที่ยงธรรม (Equity)\n</p>\n<p>\n- ประสิทธิผลและประสิทธิภาพ (Effectiveness &amp; Efficiency)\n</p>\n<p>\n- ภาระรับผิดชอบ (Accountability\n</p>\n<p>\nทศพิธราชธรรม (Virtues of the King)\n</p>\n<p>\n<img border=\"0\" width=\"344\" src=\"http://www.rd.go.th/samutsongkhram/uploads/RTEmagicC_lotus-01001_02.jpg.jpg\" height=\"258\" style=\"width: 293px; height: 174px\" />\n</p>\n<p>\nแหล่งที่มา <a href=\"http://www.rd.go.th/samutsongkhram/uploads/RTEmagicC_lotus-01001_02.jpg.jpg\">http://www.rd.go.th/samutsongkhram/uploads/RTEmagicC_lotus-01001_02.jpg.jpg</a>\n</p>\n<p></p>', created = 1714626192, expire = 1714712592, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:e497f98e88f1b80a69292a1a2d85087f' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ความหมาย จริยธรรม และคุณธรรม...

รูปภาพของ dsp6023

จริยธรรม

 

“จริยธรรม” = จริย + ธรรมะ คือ ความประพฤติที่เป็นธรรมชาติ เกิดจากคุณธรรมในตัวเอง

ก่อให้เกิดความ สงบเรียบร้อยในสังคม รวมสรุปว่าคือ ข้อควรประพฤติปฏิบัติ

จริยธรรม(Ethics) ความเป็นผู้มีจิตใจสะอาด บริสุทธิ์ เสียสละหรือประพฤติดีงาม

1. ประมวล กฎหมาย ที่กลุ่มชนหรือสังคมหนึ่งๆ ยอมรับเป็นแนวควบคุมความประพฤติ เพื่อแยกแยะให้เห็นว่าอะไรควรหรือไปกันได้กับการบรรลุวัตถุประสงค์ของกลุ่ม

2. ปรัชญาสาขาหนึ่งว่าด้วย ความประพฤติ และการครองชีวิต ว่าอะไรดี อะไรชั่ว อะไรถูก อะไรผิด หรืออะไรควร อะไรไม่ควร

3. กฎเกณฑ์ความประพฤติของมนุษย์ซึ่งเกิดขึ้นจากธรรมชาติของมนุษย์เอง ได้แก่ ความเป็นผู้มีปัญญา และเหตุผลหรือปรีชาญาณทำให้มนุษย์มีมโนธรรมและ รู้จักไตร่ตรองแยกแยะความดี - ความชั่ว, ถูก - ผิด, ควร - ไม่ควร เป็นการควบคุมตัวเอง และเป็นการควบคุม กันเองในกลุ่ม หรือเป็นศีลธรรมเฉพาะกลุ่ม

ศีลธรรม (Moral)

 

1. ความประพฤติที่ดีที่ชอบ หรือธรรมในระดับศีล หรือกรอบปฎิบัติที่ดี เกี่ยวกับความรู้สึกรับผิดชอบ บริสุทธิ์ เกี่ยวกับจิตใจ

2. หลักความประพฤติที่ดีสำหรับบุคคลพึงปฏิบัติ

 

“ธรรมาภิบาล” (Good Governance)

ธรรมาภิบาล คือ ธรรมะ + อภิบาล หมายถึง ปกครองด้วยคุณความดี ซื่อตรงต่อกัน มั่นคงในสัญญาที่มีต่อกัน

สัญญา (กฎ กติกา มารยาท) ที่ ร่วมกันทำ เป็นธรรม โปร่งใส รับผิดชอบในสิ่งที่ทำ

การจัดการปกครอง การบริหารปกครอง การบริหารกิจการบ้านเมือง การควบคุมดูแลกิจการ การกำกับดูแลที่ดี อันเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการ (Process) และระบบ (System) ซึ่งองค์การหรือสังคมได้มีการปฏิบัติหรือดำเนินการ (Operate)
ธรรมาภิบาล มักครอบคลุมประเด็น ดังนี้
- การมีส่วนร่วมของประชาชน(Participation)

- นิติธรรม (Rule of law)

- ความโปร่งใส (Transparency)

- การตอบสนอง (Responsiveness)

- การแสวงหาฉันทามติ (Consensus oriented)

- ความถูกต้อง ความเสมอภาค ยุติธรรม เที่ยงธรรม (Equity)

- ประสิทธิผลและประสิทธิภาพ (Effectiveness & Efficiency)

- ภาระรับผิดชอบ (Accountability

ทศพิธราชธรรม (Virtues of the King)

แหล่งที่มา http://www.rd.go.th/samutsongkhram/uploads/RTEmagicC_lotus-01001_02.jpg.jpg

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 535 คน กำลังออนไลน์