• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:b56fb8e2061ed07044aa4aff8e950efc' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\nจริยธรรม\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n “จริยธรรม” = จริย + ธรรมะ  คือ ความประพฤติที่เป็นธรรมชาติ เกิดจากคุณธรรมในตัวเอง \n</p>\n<p>\n          ก่อให้เกิดความ  สงบเรียบร้อยในสังคม      รวมสรุปว่าคือ   ข้อควรประพฤติปฏิบัติ\n</p>\n<p>\n          จริยธรรม(Ethics) ความเป็นผู้มีจิตใจสะอาด บริสุทธิ์ เสียสละหรือประพฤติดีงาม\n</p>\n<p>\n1. ประมวล กฎหมาย ที่กลุ่มชนหรือสังคมหนึ่งๆ ยอมรับเป็นแนวควบคุมความประพฤติ เพื่อแยกแยะให้เห็นว่าอะไรควรหรือไปกันได้กับการบรรลุวัตถุประสงค์ของกลุ่ม\n</p>\n<p>\n2. ปรัชญาสาขาหนึ่งว่าด้วย ความประพฤติ และการครองชีวิต ว่าอะไรดี อะไรชั่ว อะไรถูก อะไรผิด หรืออะไรควร อะไรไม่ควร\n</p>\n<p>\n3. กฎเกณฑ์ความประพฤติของมนุษย์ซึ่งเกิดขึ้นจากธรรมชาติของมนุษย์เอง ได้แก่ ความเป็นผู้มีปัญญา และเหตุผลหรือปรีชาญาณทำให้มนุษย์มีมโนธรรมและ รู้จักไตร่ตรองแยกแยะความดี - ความชั่ว, ถูก - ผิด, ควร - ไม่ควร เป็นการควบคุมตัวเอง และเป็นการควบคุม กันเองในกลุ่ม หรือเป็นศีลธรรมเฉพาะกลุ่ม\n</p>\n<p>\nศีลธรรม (Moral)\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n        1.  ความประพฤติที่ดีที่ชอบ หรือธรรมในระดับศีล หรือกรอบปฎิบัติที่ดี เกี่ยวกับความรู้สึกรับผิดชอบ บริสุทธิ์ เกี่ยวกับจิตใจ\n</p>\n<p>\n        2.  หลักความประพฤติที่ดีสำหรับบุคคลพึงปฏิบัติ\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n“ธรรมาภิบาล” (Good Governance)\n</p>\n<p>\n    ธรรมาภิบาล  คือ ธรรมะ + อภิบาล  หมายถึง ปกครองด้วยคุณความดี ซื่อตรงต่อกัน  มั่นคงในสัญญาที่มีต่อกัน\n</p>\n<p>\n            สัญญา (กฎ กติกา มารยาท) ที่ ร่วมกันทำ เป็นธรรม โปร่งใส รับผิดชอบในสิ่งที่ทำ \n</p>\n<p>\nการจัดการปกครอง การบริหารปกครอง การบริหารกิจการบ้านเมือง การควบคุมดูแลกิจการ การกำกับดูแลที่ดี อันเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการ (Process) และระบบ (System) ซึ่งองค์การหรือสังคมได้มีการปฏิบัติหรือดำเนินการ (Operate) <br />\n ธรรมาภิบาล  มักครอบคลุมประเด็น ดังนี้<br />\n                - การมีส่วนร่วมของประชาชน(Participation)\n</p>\n<p>\n            - นิติธรรม (Rule of law)\n</p>\n<p>\n            - ความโปร่งใส (Transparency)\n</p>\n<p>\n            - การตอบสนอง (Responsiveness)\n</p>\n<p>\n            - การแสวงหาฉันทามติ (Consensus oriented)\n</p>\n<p>\n            - ความถูกต้อง ความเสมอภาค ยุติธรรม เที่ยงธรรม (Equity)\n</p>\n<p>\n            - ประสิทธิผลและประสิทธิภาพ (Effectiveness &amp; Efficiency)\n</p>\n<p>\n            - ภาระรับผิดชอบ (Accountability\n</p>\n<p>\nทศพิธราชธรรม (Virtues of the King)\n</p>\n<p>\n<img border=\"0\" width=\"344\" src=\"http://www.rd.go.th/samutsongkhram/uploads/RTEmagicC_lotus-01001_02.jpg.jpg\" height=\"258\" style=\"width: 293px; height: 174px\" />\n</p>\n<p>\nแหล่งที่มา <a href=\"http://www.rd.go.th/samutsongkhram/uploads/RTEmagicC_lotus-01001_02.jpg.jpg\">http://www.rd.go.th/samutsongkhram/uploads/RTEmagicC_lotus-01001_02.jpg.jpg</a>\n</p>\n<p>\n             จริยวัตร 10 ประการที่พระเจ้าแผ่นดินทรงประพฤติเป็นหลักธรรมประจำพระองค์ หรือเป็นคุณธรรมประจำตนของผู้ปกครองบ้านเมือง ให้มีความเป็นไปโดยธรรมและยังประโยชน์สุขให้เกิดแก่ประชาชน\n</p>\n<p>\n          ทศพิธราชธรรมทั้ง 10 ข้อ มีดังนี้\n</p>\n<p>\n                - ทาน คือ การให้ การเสียสละ การให้น้ำใจ\n</p>\n<p>\n                - ศีล คือ ความประพฤติที่ดีงาม ทั้ง กาย วาจา ใจ ให้ปราศจากโทษ\n</p>\n<p>\n                - บริจาค คือ การเสียสละความสุขส่วนตน เพื่อความสุขส่วนรวม\n</p>\n<p>\n                - ความซื่อตรง คือ ความซื่อตรงในฐานะที่เป็นผู้ปกครอง ดำรงอยู่ในสัตย์สุจริต\n</p>\n<p>\n                - ความอ่อนโยน คือ การมีอัธยาศัยอ่อนโยน เคารพในเหตุผลที่ควร มีสัมมาคารวะต่อผู้อาวุโส\n</p>\n<p>\n                - ความเพียร คือ ความอุตสาหะในการปฏิบัติงาน โดยปราศจากความเกียจคร้าน\n</p>\n<p>\n                - ความไม่โกรธ คือ ไม่มุ่งร้ายผู้อื่น แม้จะลงโทษผู้ทำผิดก็ทำตามเหตุผล\n</p>\n<p>\n          - ความไม่เบียดเบียน คือ การไม่ก่อทุกข์หรือเบียดเบียนผู้อื่น\n</p>\n<p>\n                - ความอดทน คือ การรักษาอาการ กาย วาจา ใจให้เรียบร้อย การอดทนต่อสิ่งทั้งปวง\n</p>\n<p>\n                - ความยุติธรรม คือ ความหนักแน่น ถือความถูกต้อง เที่ยงธรรมเป็นหลัก\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\nจรรยาบรรณ (Codes of Conduct) (Professional Ethics)\n</p>\n<p>\nจรรยาบรรณ หมายถึง   ประมวลกฎเกณฑ์ความประพฤติหรือประมวลมารยาทของผู้ประกอบอาชีพนั้น ๆต้องเป็นเอกลักษณ์ทางวิชาชีพ ใช้ความรู้ มีองค์กรหรือสมาคมควบคุม\n</p>\n<p>\n1.    ประมวลความประพฤติที่ผู้ประกอบอาชีพการงานแต่ละอย่างกำหนดขึ้น เพื่อรักษาและส่งเสริมเกียรติคุณชื่อเสียงและฐานะของสมาชิก อาจเขียนเป็นลายลักษณ์อักษรหรือไม่ก็ได้\n</p>\n<p>\n2.    หลักความประพฤติที่เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจให้มีคุณธรรมและจริยธรรมของบุคคลในแต่ละกลุ่มวิชาชีพ\n</p>\n<p>\nจรรยาบรรณวิชาชีพ  (Code of Ethics )\n</p>\n<p>\nn    จรรยาบรรณเกิดขึ้นเพื่อ   *มุ่งให้คนในวิชาชีพมีประสิทธิภาพ* ให้เป็นคนดีในการบริการวิชาชีพ<br />\n*ให้คนในวิชาชีพมีเกียรติศักดิ์ศรีที่มีกฎเกณฑ์มาตรฐานจรรยาบรรณ\n</p>\n<p>\nn    จรรยาบรรณ มีความสำคัญและจำเป็นต่อทุกอาชีพ ทุกสถาบัน และหน่วยงาน เพราะเป็นที่ยึดเหนี่ยวควบคุมการประพฤติ ปฏิบัติด้วยความดีงาม\n</p>\n<p>\nจรรยาบรรณวิชาชีพครู(Code of Ethics of Teaching Profession)\n</p>\n<p>\nความหมาย จรรยาบรรณวิชาชีพครู คือ กฎแห่งความประพฤติสำหรับสมาชิกวิชาชีพครู ซึ่งองค์กรวิชาชีพครูเป็นผู้กำหนด และสมาชิกในวิชาชีพทุกคนต้องถือปฏิบัติโดยเคร่งครัด หากมีการละเมิดจะมีการลงโทษ\n</p>\n<p>\n<img border=\"0\" width=\"249\" src=\"http://xchange.teenee.com/up01/post-24840-1216973660.jpg\" height=\"232\" />\n</p>\n<p>\nแหล่งที่มา <a href=\"http://xchange.teenee.com/up01/post-24840-1216973660.jpg\">http://xchange.teenee.com/up01/post-24840-1216973660.jpg</a>\n</p>\n<p>\nn    ความสำคัญจรรยาบรรณวิชาชีพครูจรรยาบรรณวิชาชีพครู มีความสำคัญต่อวิชาชีพครูเช่นเดียวกับที่จรรยาบรรณวิชาชีพ มีความสำคัญต่อวิชาชีพอื่น ๆ ซึ่งสรุปได้ ๓ ประการ คือ\n</p>\n<p>\nn    ๑. ปกป้องการปฏิบัติงานของสมาชิกในวิชาชีพ\n</p>\n<p>\nn    ๒. รักษามาตรฐานวิชาชีพ\n</p>\n<p>\nn    ๓. พัฒนาวิชาชีพ\n</p>\n<p>\nแบบแผนพฤติกรรมตามจรรยาบรรณครู พ.ศ. 2539\n</p>\n<p>\nn    ครูต้องรักและเมตตาศิษย์ โดยให้ความเอาใจใส่ช่วยเหลือ ส่งเสริมให้กำลังใจในการศึกษาเล่าเรียนแก่ศิษย์โดยเสมอหน้า\n</p>\n<p>\nn    ครูต้องอบรม สั่งสอน ฝึกฝน สร้างเสริมความรู้ ทักษะและนิสัยที่ถูกต้องดีงามให้แก่ศิษย์ อย่างเต็มความสามารถด้วยความบริสุทธิ์ใจ\n</p>\n<p>\nn    ครูต้องประพฤติ ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดีแก่ศิษย์ทั้งทางกาย วาจา และจิตใจ\n</p>\n<p>\nn    ครูต้องไม่กระทำตนเป็นปฏิปักษ์ต่อความเจริญทางกาย สติปัญญา จิตใจ อารมณ์ และสังคมของศิษย์\n</p>\n<p>\nn    ครูต้องไม่แสวงหาประโยชน์อันเป็นอามิสสินจ้างจากศิษย์ในการปฏิบัติหน้าที่ตามปกติ และไม่ใช้ศิษย์กระทำการใดๆ อันเป็นการหาประโยชน์ให้แก่ตนโดยมิชอบ\n</p>\n<p>\nn    ครูย่อมพัฒนาตนเองทั้งในด้านวิชาชีพ ด้านบุคลิกภาพและวิสัยทัศน์ ให้ทันต่อการพัฒนาทางวิชาการ เศรษฐกิจ สังคมและการเมืองอยู่เสมอ\n</p>\n<p>\nn    ครูย่อมรักและศรัทธาในวิชาชีพครู และเป็นสมาชิกที่ดีขององค์กรวิชาชีพครู\n</p>\n<p>\nn    ครูพึงช่วยเหลือเกื้อกูลครูและชุมชนในทางสร้างสรรค์\n</p>\n<p>\nn    ครูพึงประพฤติ ปฏิบัติตน เป็นผู้นำในการอนุรักษ์และพัฒนาภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทย\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\nจรรยาบรรณนักเรียนนักศึกษา 10ประการ\n</p>\n<p>\n*พึงหาโอกาสเรียนรู้ ให้เข้าใจใช้เหตุผลโดยเร็วที่สุดตามระดับวัย \n</p>\n<p>\n*พึงรับทุกอย่างด้วยเหตุผล พึงรับพิจารณาความคิดอย่างมีเหตุผลถึงแม้จะยังไม่เห็นด้วย  เคารพความคิดผู้อื่นโดยยึดถือการประนีประนอม และหาทางสายกลาง \n</p>\n<p>\n* การเรียนไม่ใช่เป็นการกอบโกย เอาเปรียบผู้อื่น\n</p>\n<p>\n* ให้ถือว่าสังคมโรงเรียน/สถาบันการศึกษาเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตจริง\n</p>\n<p>\n*สร้างสังคมในโรงเรียน/สถาบันการศึกษา  ในอุดมการณ์ปรับปรุงให้ทันสมัยทันเหตุการณ์เสมอ\n</p>\n<p>\n*สุจริตในการทำการบ้านและในการสอบ  \n</p>\n<p>\n*ถือว่าเกียรติอยู่เหนือผลประโยชน์ใดๆ \n</p>\n<p>\n* ฝึกน้ำใจนักกีฬาในการแข่งขันทุกประเภท\n</p>\n<p>\n*ให้เกียรติคอาจารย์รูและเพื่อนเสมอ   \n</p>\n<p>\n* ถือว่าสิทธิจะต้องแลกเปลี่ยนกับหน้าที่และความรับผิดชอบเสมอ\n</p>\n<p>\n <img border=\"0\" width=\"360\" src=\"http://www.rd.go.th/samutsongkhram/uploads/RTEmagicC_lotus-012003.jpg.jpg\" height=\"270\" style=\"width: 325px; height: 215px\" />\n</p>\n<p>\nแหล่งที่มา <a href=\"http://www.rd.go.th/samutsongkhram/uploads/RTEmagicC_lotus-012003.jpg.jpg\">http://www.rd.go.th/samutsongkhram/uploads/RTEmagicC_lotus-012003.jpg.jpg</a>\n</p>\n<p>\nขีดสมรรถนะ\n</p>\n<p>\nขีดสมรรถนะ คือ ความรู้และทักษะที่จำเป็นขั้นพื้นฐานของการปฎิบัติงานหนึ่งๆ\n</p>\n<p>\nขีดสมรรถนะ ที่มีความจำเป็นต่อการบริหารราชการแผ่นดิน ได้แก่\n</p>\n<p>\nn    เข้าใจบริบทการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อม\n</p>\n<p>\nn    คิด/วิเคราะห์เชิงยุทธศาสตร์ สามารถกำหนดยุทธศาสตร์ได้อย่างเหมาะสม  (วางแผนผังเชิงยุทธศาสตร์และมีเป้าหมายการทำงานที่ชัดเจน/วัดผลงานได้)\n</p>\n<p>\nn    สามารถขับเคลื่อนยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติอย่างบรรลุผล และบริหารการเปลี่ยนแปลงได้\n</p>\n<p>\nn    ป้องกัน/ควบคุมความเสี่ยง\n</p>\n<p>\nn    มีการควบคุมคุณภาพมาตรฐานการทำงาน\n</p>\n<p>\nn    มีจริยธรรมและความซื่อสัตย์\n</p>\n<p>\nสมรรถนะงานสายงานวิชาชีพครูของไทย\n</p>\n<p>\nn    มาตรฐานวิชาชีพครูตามพ.ร.บ.สภาครู พ.ศ.2547 มี 3ด้าน\n</p>\n<p>\nn    1. มาตรฐานความรู้และประสบการณ์วิชาชีพ\n</p>\n<p>\nn    2. มาตรฐานการปฏิบัติงาน\n</p>\n<p>\nn    3. มาตรฐานการปฏิบัติตน\n</p>\n<p>\n  เยาวชนยุค ค.ศ 2000 กำลังเผชิญวิกฤติด้านจิตสำนึกที่ดีงามต่อส่วนรวม และขาดภูมิปัญญาในการรักษาตัวให้พ้นจากความชั่ว ปัญหาเยาวชนขายตัว เสพยา ลักขโมย โกหก ลูกทรพี ฯลฯ เป็นปัญหาของสังคมไทย ที่รัฐบาลใดๆก็ไม่สามารถแก้ไขได้     ผู้ที่จะแก้ไขได้ก็คือตัวเยาวชนเอง ที่จะต้องคิดเป็น รู้จักคำว่า สัมมาทิฎฐิ ซึ่งเป็นหนึ่งในอริยมรรค 8 ประการ ที่พระพุทธเจ้าทรงแนะนำให้ปฏิบัติเพื่อการพ้นทุกข์ และต้องพยายามหนีสิ่งชั่วร้ายต่างๆด้วยการใช้\n</p>\n<p>\n                                         จริยธรรมนำชีวิต <br />\n             การใช้จริยธรรมนำชีวิต ต้องเริ่มจากการปริยัติคือศึกษาทฤษฎีให้เข้าใจแล้วจึงนำไปปฏิบัติให้ถูกต้องตามหลักการเพื่อผลในขั้นสุดท้ายอันเป็นผลที่น่ายินดีที่เรียกว่า เป็นคนมีจริยธรรม หรือปฏิเวธได้ในที่สุด\n</p>\n<p>\n            การปริยัติเพื่อการปฏิบัติตนให้เป็นผู้มีจริยธรรมควรเริ่มต้นจาก มรรยาทชาวพุทธ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมไทย เพื่อให้ตนมีจริยธรรมทางกาย ต่อไปก็ต้องทำใจให้บริสุทธ์สะอาดเพื่อการมีจริยธรรมทางใจ โดยการปริยัติ สมถะ วิปัสสนา มงคลชีวิต หลักพุทธธรรมเพื่อชีวิตและสังคม\n</p>\n<p>\n         เมื่อรู้ทฤษฎีในการปฏิบัติตนเพื่อพัฒนาจริยธรรมทางกายและใจแล้วควรได้ทราบว่าจะนำทฤษฎีไปพัฒนาตนอย่างไร โดยศึกษาจากเรื่อง ความสำคัญของพระพุทธศาสนา ในขณะเดียวกันก่อนลงมือปฏิบัติตามอาจเกิดความลังเลสงสัยเกิดขึ้นว่า เมื่อปฏิบัติแล้วจะได้ผลจริงหรือไม่ จึงจำเป็นต้องศึกษาแบบอย่างที่ดี ในเรื่องประวัติและคุณธรรมของพุทธสาวก พุทธสาวิกา และชาวพุทธตัวอย่าง\n</p>\n<p>\n           ประวัติและคุณธรรมดังกล่าวมีมาแต่พุทธกาล ความลังเลสงสัยอาจจะยังคงมีอยู่ว่าในปัจจุบันพระดีๆเป็นแบบอย่างได้ ยังมีอยู่จริงหรือ ก็ให้ศึกษาได้จาก บทบาทของพระสงฆ์ในการพัฒนาสังคม\n</p>\n<p>\n<br />\n             ถ้าได้ศึกษาไปครบทั้ง 8 เรื่องแล้ว ยังลังเลว่าเรื่องเหล่านี้นำมาจากที่ใด ใครเป็นผู้สอน ให้ศึกษาจาก<br />\nพระไตรปิฎก ภาษาบาลี คำศัพท์ในพระพุทธศาสนา และพุทธศาสนสุภาษิต พุทธประวัติและวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาเมื่อปริยัติครบทั้ง 11 เรื่อง มีความเข้าใจ มีจินตมยปัญญา สามารถนำไปปฏิบัติได้ ท่านจะเป็นผู้หนึ่งที่ถูกเรียกว่าชาวพุทธ ซึ่งมีหน้าที่ที่จะต้องปฏิบัติเพื่อการคงอยู่ของพระพุทธศาสนา จึงต้องศึกษา หน้าที่ชาวพุทธ ศาสนพิธีและการปกครองคณะสงฆ์ไทย\n</p>\n<p>\n             หลังจากที่ได้มีการปริยัติ และ ปฏิบัติ มรรยาทฃาวพุทธ สมถะ วิปัสสนา มงคลชีวิต หลักพุทธธรรม ฯ หน้าที่ชาวพุทธ จนสุดท้ายศาสนพิธี จริยธรรมก็จะนำชีวิตไปสู่แสงสว่างแห่งความดี เป็นคนที่มีความรู้คู่คุณธรรม อันเป็นจุดมุ่งหมายของการพัฒนาคนตามที่สังคมต้องการ และจะให้สว่างยิ่งขึ้นก็ควรได้ศึกษา คู่มือมนุษย์ ธรรมะจากหลวงตาบัว ธรรมะจากพระอาจารย์ทูล จารึกไว้ในพระศาสนา รวมทั้งศึกษาหาแบบอย่างดีๆในปัจจุบันได้จาก ข่าวเยาวชน ปิดท้ายด้วยนิทานสนุกๆ เรื่อง มิลินทปัญหา และ ทศชาติชาดก\n</p>\n<p>\n<br />\n             เว็ปไซด์ Moralism จึงเป็นเว็ปไซด์ที่จะนำชีวิตไปสู่ความดีงาม ทั้ง กาย วาจา และ ใจ เป็นผู้มีจริยธรรมในที่สุด รวมทั้งเป็นเว็ปไซด์ที่สามารถสนองตอบพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ 2542 ที่กำหนดให้มีการศึกษาตามอัธยาศัย คือการศึกษาด้วยตนเอง ตามความต้องการ ตามความสนใจ ตลอดเวลา และตลอดชีวิตเว็ปไซด์นี้จึงเป็นอีกทางเลือกหนึ่งสำหรับการศึกษาตามอัธยาสัย<br />\n <br />\nคุณธรรม (อังกฤษ: Virtue) เป็น มุมมองแง่หนึ่งของ จริยธรรม ซึ่งคำนึงถึง สิ่งที่ถูกและผิด โดยมีหลักใหญ่สามประการ ได้แก่ ความรู้สึกผิดชอบชั่วดีในแต่ล่ะบุคคล ระบบยุติธรรมซึ่งเกี่ยวข้องกับ วัฒนธรรม ประเพณี ท้องถิ่น ประวัติศาสตร์ทางสังคม และ ธรรมเนียมปฏิบัติ สภาพคุณความดี หรือคุณลักษณะที่แสดงออกของความดี ที่แสดงออกด้วยการปฏิบัติและเป็นที่ประจักษ์แก่คนทั่วไป\n</p>\n<p>\nคุณธรรมบุคคล คือการพิจารณา และ จำแนกระหว่างสิ่งที่ถูกและผิด ตามเจตนา แรงจูงใจ หรือการกระทำ\n</p>\n<p>\nคุณธรรม คือ นามธรรมอย่างหนึ่ง ซึ่งเกี่ยวข้องกับจิตสำนึกของมนุษย์ที่ตระหนักถึงความผิดชอบชั่วดี\n</p>\n<p>\nพจนานุกรมไทยฉบับราชบัณฑิตสถาน ( 2530  : 190 )  ได้ให้ความหมายของ คุณธรรมว่า คุณธรรม  หมายถึง  สภาพคุณงามความดีหรือหน้าที่อันพึงมีอยู่ในตัว\n</p>\n<p>\n<img border=\"0\" width=\"503\" src=\"http://www.palungdham.com/news/game02.jpg\" height=\"450\" style=\"width: 242px; height: 192px\" />\n</p>\n<p>\n แหล่งที่มา <a href=\"http://www.palungdham.com/news/game02.jpg\">http://www.palungdham.com/news/game02.jpg</a>\n</p>\n<p>\n          ลิขิต  ธีรเวคิน ( 2548 ) ได้กล่าวไว้ว่า  คุณธรรม คือ จิตวิญญาณของปัจเจกบุคคล ศาสนาและอุดมการณ์  เป็นดวงวิญญาณของปัจเจกบุคคลและสังคมด้วย  ปัจเจกบุคคลต้องมีวิญญาณ สังคมต้องมีจิตวิญญาณ คุณธรรมของปัจเจกบุคคลอยู่ที่การกล่อมเกลาเรียนรู้โดยพ่อแม่  สถาบันการศึกษา  ศาสนา  พรรคการเมืองและองค์กรของรัฐ\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n          รองศาสตราจารย์  ดร. ทิศนา  แขมมณี  ( 2546  : 4 ) ได้ให้ความหมายไว้ว่า คุณธรรม หมายถึง คุณลักษณะหรือสภาวะภายในจิตใจของมนุษย์ที่เป็นไปในทางที่ถูกต้อง ดีงาม ซึ่งเป็นภาวะนามธรรมอยู่ในจิตใจ\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n          สัญญา สัญญาวิวัฒน์  ( 2527  :  387 )  ได้ให้ความหมายว่า คุณธรรม หมายถึง ความดี ความงาม ความซื่อสัตย์ ความพอดี ความอดทน ขยันหมั่นเพียร\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n          จากความหมายของคุณธรรมที่กล่าวมาพอสรุปได้ว่า คุณธรรม หมายถึง หลักของความดี ความงาม ความถูกต้อง ซึ่งจะแสดงออกมาโดยการกระทำ  ทางกาย   วาจาและจิตใจของแต่ละบุคคล ซึ่งเป็นหลักประจำใจในการประพฤติปฏิบัติจนเกิดเป็นนิสัยเป็นสิ่งที่มีประโยชน์ต่อตนเองผู้อื่นและสังคม\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n2.  ความหมายของจริยธรรม  \n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n          มีผู้ให้ความของคำว่า  “  จริยธรรม  ”   ไว้ดังต่อไปนี้\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n          พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน  ( 2546 )  ให้ความหมายของ  “  จริยธรรม ”   ไว้ว่า  หมายถึง ธรรมที่เป็นข้อประพฤติปฏิบัติ\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n          พระมหาอดิศร   ถิรสีโล  ( 2540 )   ได้ให้ความหมายของจริยธรรมไว้ว่า  หมายถึงคุณธรรมที่แสดงออกทางร่างกายในลักษณะที่ดีงามอันเป็นสิ่งที่พึงประสงค์ของสังคม จริยธรรม จะมีได้ต้องปลูกฝึกหัดโดยเริ่มจากการปลูกฝังคุณธรรม\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n          พระธรรมญาณมุนี  ( 2531 :103 )  ได้ให้ความหมายของจริยธรรมไว้ว่า  จริยธรรม  หมายถึง   พฤติกรรมที่เป็นรูปแบบของการปฏิบัติตน  การดำเนินตนที่มีความเหมาะสมแก่ภาวะฐานะ  กาลเทศะ  และเหตุการณ์ในปัจจุบัน\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n          จากความหมายดังกล่าวมาพอสรุปได้ว่า จริยธรรม หมายถึง  พฤติกรรมในการประพฤติปฏิบัติตนในสิ่งที่ควรปฏิบัติที่ดีงามเหมาะสม  และเป็นที่นิยมชมชอบหรือยอมรับของสังคมเพื่อความสันติสุขแห่งตนเอง และความสงบเรียบร้อยของสังคมส่วนรวม \n</p>\n<p>\n<img border=\"0\" width=\"300\" src=\"http://www.kalyanamitra.org/daily/dhamma/images/content/dhammaallday/hammaallday501127.jpg\" height=\"388\" style=\"width: 274px; height: 227px\" />\n</p>\n<p>\n แหล่งที่มา <a href=\"http://www.kalyanamitra.org/daily/dhamma/images/content/dhammaallday/hammaallday501127.jpg\">http://www.kalyanamitra.org/daily/dhamma/images/content/dhammaallday/hammaallday501127.jpg</a>\n</p>\n<p>\n          กล่าวโดยย่อ คุณธรรม  หมายถึง คุณสมบัติภายในใจใดๆ ก็ตามที่เป็นคุณสมบัติไม่เป็นโทษ ส่วน จริยธรรม  หมายถึง  สิ่งควรประพฤติอัน ได้แก่  พฤติกรรมเป็นการกระทำ ทางกาย วาจา  ใจ  อันดีงามที่ควรปฏิบัติ ดังนั้นจึงสรุปได้ว่า  คุณธรรม และจริยธรรม  หมายถึง  คุณงามความดีของบุคคลที่กระทำไปด้วยความสำนึกในจิตใจ โดยได้ยึดถือจนเป็นความเคยชิน อันเป็นคุณลักษณะหรือพฤติกรรมที่ดีงาม เป็นที่ยอมรับว่าเป็นสิ่งที่ถูกต้องของตนเอง ผู้อื่นและสังคม\n</p>\n<p>\nคุณธรรม  จริยธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์\n</p>\n<p>\nจริยธรรม หมายถึง &quot;หลักศีลธรรมจรรยาที่กำหนดขึ้นเพื่อใช้เป็นแนวทางปฏิบัติ หรือควบคุมการใช้ระบบคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ&quot; ในทางปฏิบัติแล้ว การระบุว่าการกระทำสิ่งใดผิดจริยธรรมนั้น อาจกล่าวได้ไม่ชัดเจนมากนัก ทั้งนี้ ย่อมขึ้นอยู่กับวัฒนธรรมของสังคมในแต่ละประเทศด้วย อย่างเช่น กรณีที่เจ้าของบริษัทใช้กล้องในการตรวจจับหรือเฝ้าดูการทำงานของพนักงาน เป็นต้น ตัวอย่างของการกระทำที่ยอมรับกันโดยทั่วไปว่าเป็นการกระทำที่ผิดจริยธรรม เช่นการใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายผู้อื่นให้เกิดความเสียหายหรือก่อความรำราญ เช่น การนำภาพหรือข้อมูลส่วนตัวของบุคคลไปลงบนอินเตอร์เน็ตโดยไม่ได้รับอนุญาตการใช้คอมพิวเตอร์ในการขโมยข้อมูลการเข้าถึงข้อมูลหรือคอมพิวเตอร์ของบุคคลอื่นโดยไม่ได้รับอนุญาตการละเมิดลิขสิทธิ์ โดยทั่วไป เมื่อพิจารณาถึงจริยธรรมเกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศแล้ว จะกล่าวถึงใน 4 ประเด็น ที่รู้จักกันในลักษณะตัวย่อว่า PAPA ประกอบด้วย\n</p>\n<p>\n1. ความเป็นส่วนตัว (Information Privacy) <br />\n2. ความถูกต้อง (Information Accuracy) <br />\n3 ความเป็นเจ้าของ (Information Property) <br />\n4. การเข้าถึงข้อมูล (Data Accessibility) ความเป็นส่วนตัว (Information Privacy)\n</p>\n<p>\nความเป็นส่วนตัวของข้อมูลและสารสนเทศ โดยทั่วไปหมายถึง สิทธิที่จะอยู่ตามลำพัง และเป็นสิทธิที่เจ้าของสามารถที่จะควบคุมข้อมูลของตนเองในการเปิดเผยให้กับผู้อื่น สิทธินี้ใช้ได้ครอบคลุมทั้งปัจเจกบุคคล กลุ่มบุคคล และองค์การต่างๆปัจจุบันมีประเด็นเกี่ยวกับความเป็นส่วนตัวที่เป็นข้อหน้าสังเกตดังนี้\n</p>\n<p>\n1.การเข้าไปดูข้อความในจดหมายอิเล็กทรอนิกส์และการบันทึกข้อมูลในเครื่องคอมพิวเตอร์ รวมทั้งการบันทึก-แลกเปลี่ยนข้อมูลที่บุคคลเข้าไปใช้บริการเว็บไซต์และกลุ่มข่าวสาร\n</p>\n<p>\n2.การใช้เทคโนโลยีในการติดตามความเคลื่อนไหวหรือพฤติกรรมของบุคคล เช่น บริษัทใช้คอมพิวเตอร์ในการตรวจจับหรือเฝ้าดูการปฏิบัติงาน/การใช้บริการของพนักงาน ถึงแม้ว่าจะเป็นการติดตามการทำงานเพื่อการพัฒนาคุณภาพการใช้บริการ แต่กิจกรรมหลายอย่างของพนักงานก็ถูกเฝ้าดูด้วย พนักงานสูญเสียความเป็นส่วนตัว ซึ่งการกระทำเช่นนี้ถือเป็นการผิดจริยธรรม\n</p>\n<p>\n3.การใช้ข้อมูลของลูกค้าจากแหล่งต่างๆ เพื่อผลประโยชน์ในการขยายตลาด\n</p>\n<p>\n4.การรวบรวมหมายเลขโทรศัพท์ ที่อยู่อีเมล์ หมายเลขบัตรเครดิต และข้อมูลส่วนตัวอื่นๆ เพื่อนำไปสร้างฐานข้อมูลประวัติลูกค้าขึ้นมาใหม่ แล้วนำไปขายให้กับบริษัทอื่น ดังนั้น เพื่อเป็นการป้องกันการละเมิดสิทธิความเป็นส่วนตัวของข้อมูลและสารสนเทศ จึงควรจะต้องระวังการให้ข้อมูล โดยเฉพาะการใช้อินเตอร์เน็ตที่มีการใช้โปรโมชั่น หรือระบุให้มีการลงทะเบียนก่อนเข้าใช้บริการ เช่น ข้อมูลบัตรเครดิต และที่อยู่อีเมล์ความถูกต้อง (Information Accuracy)\n</p>\n<p>\nในการใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการรวบรวม จัดเก็บ และเรียกใช้ข้อมูลนั้น คุณลักษณะที่สำคัญประการหนึ่ง คือ ความน่าเชื่อถือได้ของข้อมูล ทั้งนี้ ข้อมูลจะมีความน่าเชื่อถือมากน้อยเพียงใดย่อมขึ้นอยู่กับความถูกต้องในการบันทึกข้อมูลด้วย ประเด็นด้านจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับความถูกต้องของข้อมูล โดยทั่วไปจะพิจารณาว่าใครจะเป็นผู้รับผิดชอบต่อความถูกต้องของข้อมูลที่จัดเก็บและเผยแพร่ เช่น ในกรณีที่องค์การให้ลูกค้าลงทะเบียนด้วยตนเอง หรือกรณีของข้อมูลที่เผยแพร่ผ่านทางเว็บไซต์ อีกประเด็นหนึ่ง คือ จะทรายได้อย่างไรว่าข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้นนั้นไม่ได้เกิดจากความจงใจ และผู้ใดจะเป็นผู้รับผิดชอบหากเกิดข้อผิดพลาด ดังนั้น ในการจัดทำข้อมูลและสารสนเทศให้มีความถูกต้องและน่าเชื่อถือนั้น ข้อมูลควรได้รับการตรวจสอบความถูกต้องก่อนที่จะนำเข้าฐานข้อมูล รวมถึงการปรับปรุงข้อมูลให้มีความทันสมัยอยู่เสมอ นอกจากนี้ ควรให้สิทธิแก่บุคคลในการเข้าไปตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลของตนเองได้ เช่น ผุ้สอนสามารถดูคะแนนของนักศึกษาในความรับผิดชอบ หรือที่สอนเพื่อตรวจสอบว่าคะแนนที่ป้อนไม่ถูกแก้ไขเปลี่ยนแปลง ความเป็นเจ้าของ (Information Property) สิทธิความเป็นเจ้าของ หมายถึง กรรมสิทธิ์ในการถือครองทรัพย์สิน ซึ่งอาจเป็นทรัพย์สินทั่วไปที่จับต้องได้ เช่น คอมพิวเตอร์ รถยนต์ หรืออาจเป็นทรัพย์สินทางปัญญา (ความคิด)\n</p>\n<p>\n <img border=\"0\" width=\"461\" src=\"http://www.dhammajak.net/board/files/4505_1198605247.jpg_219.jpg\" height=\"300\" style=\"width: 303px; height: 186px\" />\n</p>\n<p>\n แหล่งทีมา <a href=\"http://www.dhammajak.net/board/files/4505_1198605247.jpg_219.jpg\">http://www.dhammajak.net/board/files/4505_1198605247.jpg_219.jpg</a>\n</p>\n<p>\n ที่จับต้องไม่ได้ เช่น บทเพลง โปรแกรมคอมพิวเตอร์ แต่สามารถถ่ายทอดและบันทึกลงในสื่อต่างๆ ได้ เช่น สิ่งพิมพ์ เทป ซีดีรอม เป็นต้น ในสังคมของเทคโนโลยีสารสนเทศ มักจะกล่าวถึงการละเมิดลิขสิทธิ์ซอฟต์แวร์ เมื่อท่านซื้อโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่มีการจดลิขสิทธิ์ นั่นหมายความว่าท่านได้จ่ายค่าลิขสิทธิ์ในการใช้ซอฟต์แวร์นั้น สำหรับท่านเองหลังจากที่ท่านเปิดกล่องหรือบรรจุภัณฑ์แล้ว หมายถึงว่าท่านได้ยอมรับข้อตกลงเกี่ยวกับลิขสิทธิ์ในการใช้สินค้านั้น ซึ่งลิขสิทธิ์ในการใช้จะแตกต่างกันไปในแต่ละสินค้าและบริษัท บางโปรแกรมคอมพิวเตอร์จะอนุญาตให้ติดตั้งได้เพียงครั้งเดียว หรือไม่อนุญาตให้ใช้กับคอมพิวเตอร์เครื่องอื่นๆ ถึงแม้ว่าคอมพิวเตอร์เครื่องนั้นๆ ท่านเป็นเจ้าของ และไม่มีผู้อื่นใช้ก็ตาม ในขณะที่บางบริษัทอนุญาตให้ใช้โปรแกรมนั้นได้หลายๆ เครื่อง ตราบใดที่ท่านยังเป็นบุคคลที่มีสิทธิในโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ซื้อมา การคัดลอกโปรแกรมคอมพิวเตอร์ให้กับเพื่อน เป็นการกระทำที่จะต้องพิจารณาให้รอบคอบก่อนว่าโปรแกรมที่จะทำการคัดลอกนั้น เป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ท่านมีสิทธ์ในระดับใดการเข้าถึงข้อมูล (Data Accessibility) ปัจจุบันการเข้าใช้งานโปรแกรม หรือระบบคอมพิวเตอร์มักจะมีการกำหนดสิทธิตามระดับของผู้ใช้งาน ทั้งนี้ เพื่อเป็นการป้องกันการเข้าไปดำเนินการต่างๆ กับข้อมูลของผู้ใช้ที่ไม่มีส่วนเกี่ยวข้อง และเป็นการรักษาความลับของข้อมูล ตัวอย่างสิทธิในการใช้งานระบบ เช่น การบันทึก การแก้ไข/ปรับปรุง และการลบ เป็นต้น ดังนั้น ในการพัฒนาระบบคอมพิวเตอร์จึงได้มีการออกแบบระบบรักษาความปลอดภัยในการเข้าถึงของผู้ใช้ และการเข้าถึงข้อมูลของผู้อื่นโดยไม่ได้รับความยินยอมนั้น ก็ถือเป็นการผิดจริยธรรมเช่นเดียวกับการละเมิดข้อมูลส่วนตัว ในการใช้งานคอมพิวเตอร์และเครือข่ายร่วมกันให้เป็นระเบียบ หากผู้ใช้ร่วมใจกันปฏิบัติตามระเบียบและข้อบังคับของแต่ละหน่วยงานอย่างเคร่งครัดแล้ว การผิดจริยธรรมตามประเด็นดังที่กล่าวมาข้างต้นก็คงจะไม่เกิดขึ้น <br />\n2. ไม่รบกวนการทำงานของผู้อื่น<br />\n3. ไม่สอดแนมหรือแก้ไขเปิดดูในแฟ้มของผู้อื่น<br />\n4. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการโจรกรรมข้อมูลข่าวสาร<br />\n5. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์สร้างหลักฐานที่เป็นเท็จ<br />\n6. ไม่คัดลอกโปรแกรมผู้อื่นที่มีลิขสิทธิ์<br />\n7. ไม่ละเมิดการใช้ทรัพยากรคอมพิวเตอร์โดยที่ตนเองไม่มีสิทธิ์<br />\n8. ไม่นำเอาผลงานของผู้อื่นมาเป็นของตน<br />\n9. ต้องคำนึงถึงสิ่งที่จะเกิดขึ้นกับสังคมอันติดตามมาจากการกระทำ<br />\n10. ใช้คอมพิวเตอร์โดยเคารพกฎระเบียบ กติกามารยาท<br />\n11. ไม่ทำความเสียหายให้กับคอมพิวเตอร์ที่ป็นของสาธารณะ<br />\n12. ควรดูแลและบำรุงรักษาอย่างสม่ำเสมอ<br />\n13. ไม่ทำความเสียหายแก่คอมพิวเตอร์สาธารณะ<br />\n14. ใช้ให้คุ้มค่ามากที่สุดและเป็นประโยชน์ต่อตนเอง<br />\n15. ไม่สร้างโปรแกรมที่ก่อกวนการทำงานของผู้อื่น\n</p>\n<p>\n<img border=\"0\" width=\"1\" src=\"http://www.oknation.net/blog/home/blog_data/542/20542/images/8TeenBanner_web.gif\" height=\"1\" /><img border=\"0\" width=\"350\" src=\"http://www.oknation.net/blog/home/blog_data/542/20542/images/8TeenBanner_web.gif\" height=\"198\" style=\"width: 285px; height: 137px\" />\n</p>\n<p>\nแหล่งที่มา <a href=\"http://www.oknation.net/blog/home/blog_data/542/20542/images/8TeenBanner_web.gif\">http://www.oknation.net/blog/home/blog_data/542/20542/images/8TeenBanner_web.gif</a>\n</p>\n<p>\n...สรุป...\n</p>\n<p>\nคุณธรรมนำความรู้ แทนความรู้คู่คุณธรรม พร้อมเน้นปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ความสมานฉันท์ สันติวิธี โดยกระบวนการเรียนรู้โดยใช้คุณธรรมเป็นฐานจะต้องเชื่อมโยงกับ<br />\n 3 สถาบัน คือครอบครัว สถานศึกษา และศาสนา หรือ &quot;บวร&quot; คือบ้าน วัด โรงเรียน อย่างไรก็ตาม ศธ.ได้กำหนดเป็นโครงการการเสริมสร้างคุณธรรม<br />\nในระบบการศึกษาไทย ซึ่งจะเป็นแผนแม่บทในการศึกษาของไทย โดยมอบให้แต่ละหน่วยงาน และสถาบันการศึกษาพิจารณา และทบทวนสิ่งที่ทำอยู่แล้วว่ามีอะไร <br />\nและมีสิ่งใหม่ที่จะเสริมเติมเต็ม โดยดึงเอาหน่วยงานที่เกี่ยวข้องมาเป็นเครือข่าย รวมทั้งอาจต้องฟื้นกิจกรรมบางอย่าง เช่น กิจกรรมค่าย การบำเพ็ญประโยชน์ อาสาสมัคร<br />\n เป็นต้น ในระดับอุดมศึกษา ต้องเป็นที่พึ่งให้กับการศึกษาในระดับอื่นๆ ในการให้ความรู้ความเข้าใจ และเป็นตัวอย่างการเสริมสร้างคุณธรรม <br />\nโดยเฉพาะอย่างยิ่งคณะศึกษาศาสตร์ และครุศาสตร์&quot;\n</p>\n<p>\nด้วยสภาพการณ์ของสังคมไทยในปัจจุบัน  สถาบันครอบครัว  และสถาบันการศึกษา ซึ่งทำหน้าที่หล่อหลอมทางสังคมให้กับเด็กและเยาวชนนั้นขาดประสิทธิภาพในการดำเนินการและขาดการ บูรณาการร่วมกัน พ่อแม่ผู้ปกครองอบรมเลี้ยงดูบุตรแบบปล่อยปละละเลย (Laissez-faire)๒ เพราะด้วยสภาวะทางเศรษฐกิจบีบบังคับทำให้ต้องแก่งแย่ง  แข่งขันกันทำมาหากินเพื่อความอยู่รอดจนมองข้ามความสำคัญของการปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรมให้กับบุตรหลานของตน ในส่วนสถาบันการศึกษาพบว่าหลักสูตรการเรียนการสอนขั้นพื้นฐานทุกระดับชั้นยังขาดการสอดแทรกเรื่องคุณธรรมจริยธรรม จิตสำนึกสาธารณะ และคุณลักษณะของพลเมืองที่ดีให้กับนักเรียนนักศึกษาอย่างต่อเนื่องและเป็นแบบแผน ในการเรียนการสอนวิชาจริยธรรมมุ่งศึกษาเพียงภาคทฤษฎีแต่มิได้มุ่งเน้นการฝึกปฏิบัติอย่างจริงจัง ขาดกระบวนการในการประเมินและฝึกอบรมคุณธรรมจริยธรรมของผู้สอน ส่งผลให้บุคลากรบางส่วนมีพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม เช่น ลงโทษนักเรียนรุนแรงเกินกว่าเหตุ กระทำอนาจารลูกศิษย์ กลายเป็นแบบอย่างที่ไม่ดีให้กับเด็กและเยาวชน บรรทัดฐานของสังคม (Social Norm) เน้นให้คุณค่าทางวัตถุมากกว่าจิตใจให้คุณค่ากับคนเก่งมากกว่าคนดี จึงทำให้เด็กและเยาวชนจำนวนมากมองข้ามความสำคัญของคุณธรรมและจริยธรรมประจำใจ ละเลยคำสอนทางศาสนาและวัฒนธรรมประเพณี อันดีงามของประเทศชาติ ประกอบกับสภาวการณ์ของสังคมไทยในปัจจุบันตกอยู่ในขั้นวิกฤติ เกิดวิกฤติศีลธรรมและจรรยาบรรณในตัวบุคคล อันนำมาสู่ปัญหาความไม่สอดคล้องกันของคนในชาติ  ขาดซึ่งการมีอุดมการณ์ความรักชาติและการมีจิตสำนึกร่วมกันของคนในชาติ  \n</p>\n<p>\n    แหล่งข้อมูลจาก  <a href=\"http://sw07002.blogspot.com/2009/02/blog-post.html\">http://sw07002.blogspot.com/2009/02/blog-post.html</a>\n</p>\n', created = 1714625952, expire = 1714712352, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:b56fb8e2061ed07044aa4aff8e950efc' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ความหมาย จริยธรรม และคุณธรรม...

รูปภาพของ dsp6023

จริยธรรม

 

 “จริยธรรม” = จริย + ธรรมะ  คือ ความประพฤติที่เป็นธรรมชาติ เกิดจากคุณธรรมในตัวเอง 

          ก่อให้เกิดความ  สงบเรียบร้อยในสังคม      รวมสรุปว่าคือ   ข้อควรประพฤติปฏิบัติ

          จริยธรรม(Ethics) ความเป็นผู้มีจิตใจสะอาด บริสุทธิ์ เสียสละหรือประพฤติดีงาม

1. ประมวล กฎหมาย ที่กลุ่มชนหรือสังคมหนึ่งๆ ยอมรับเป็นแนวควบคุมความประพฤติ เพื่อแยกแยะให้เห็นว่าอะไรควรหรือไปกันได้กับการบรรลุวัตถุประสงค์ของกลุ่ม

2. ปรัชญาสาขาหนึ่งว่าด้วย ความประพฤติ และการครองชีวิต ว่าอะไรดี อะไรชั่ว อะไรถูก อะไรผิด หรืออะไรควร อะไรไม่ควร

3. กฎเกณฑ์ความประพฤติของมนุษย์ซึ่งเกิดขึ้นจากธรรมชาติของมนุษย์เอง ได้แก่ ความเป็นผู้มีปัญญา และเหตุผลหรือปรีชาญาณทำให้มนุษย์มีมโนธรรมและ รู้จักไตร่ตรองแยกแยะความดี - ความชั่ว, ถูก - ผิด, ควร - ไม่ควร เป็นการควบคุมตัวเอง และเป็นการควบคุม กันเองในกลุ่ม หรือเป็นศีลธรรมเฉพาะกลุ่ม

ศีลธรรม (Moral)

 

        1.  ความประพฤติที่ดีที่ชอบ หรือธรรมในระดับศีล หรือกรอบปฎิบัติที่ดี เกี่ยวกับความรู้สึกรับผิดชอบ บริสุทธิ์ เกี่ยวกับจิตใจ

        2.  หลักความประพฤติที่ดีสำหรับบุคคลพึงปฏิบัติ

 

“ธรรมาภิบาล” (Good Governance)

    ธรรมาภิบาล  คือ ธรรมะ + อภิบาล  หมายถึง ปกครองด้วยคุณความดี ซื่อตรงต่อกัน  มั่นคงในสัญญาที่มีต่อกัน

            สัญญา (กฎ กติกา มารยาท) ที่ ร่วมกันทำ เป็นธรรม โปร่งใส รับผิดชอบในสิ่งที่ทำ 

การจัดการปกครอง การบริหารปกครอง การบริหารกิจการบ้านเมือง การควบคุมดูแลกิจการ การกำกับดูแลที่ดี อันเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการ (Process) และระบบ (System) ซึ่งองค์การหรือสังคมได้มีการปฏิบัติหรือดำเนินการ (Operate)
 ธรรมาภิบาล  มักครอบคลุมประเด็น ดังนี้
                - การมีส่วนร่วมของประชาชน(Participation)

            - นิติธรรม (Rule of law)

            - ความโปร่งใส (Transparency)

            - การตอบสนอง (Responsiveness)

            - การแสวงหาฉันทามติ (Consensus oriented)

            - ความถูกต้อง ความเสมอภาค ยุติธรรม เที่ยงธรรม (Equity)

            - ประสิทธิผลและประสิทธิภาพ (Effectiveness & Efficiency)

            - ภาระรับผิดชอบ (Accountability

ทศพิธราชธรรม (Virtues of the King)

แหล่งที่มา http://www.rd.go.th/samutsongkhram/uploads/RTEmagicC_lotus-01001_02.jpg.jpg

             จริยวัตร 10 ประการที่พระเจ้าแผ่นดินทรงประพฤติเป็นหลักธรรมประจำพระองค์ หรือเป็นคุณธรรมประจำตนของผู้ปกครองบ้านเมือง ให้มีความเป็นไปโดยธรรมและยังประโยชน์สุขให้เกิดแก่ประชาชน

          ทศพิธราชธรรมทั้ง 10 ข้อ มีดังนี้

                - ทาน คือ การให้ การเสียสละ การให้น้ำใจ

                - ศีล คือ ความประพฤติที่ดีงาม ทั้ง กาย วาจา ใจ ให้ปราศจากโทษ

                - บริจาค คือ การเสียสละความสุขส่วนตน เพื่อความสุขส่วนรวม

                - ความซื่อตรง คือ ความซื่อตรงในฐานะที่เป็นผู้ปกครอง ดำรงอยู่ในสัตย์สุจริต

                - ความอ่อนโยน คือ การมีอัธยาศัยอ่อนโยน เคารพในเหตุผลที่ควร มีสัมมาคารวะต่อผู้อาวุโส

                - ความเพียร คือ ความอุตสาหะในการปฏิบัติงาน โดยปราศจากความเกียจคร้าน

                - ความไม่โกรธ คือ ไม่มุ่งร้ายผู้อื่น แม้จะลงโทษผู้ทำผิดก็ทำตามเหตุผล

          - ความไม่เบียดเบียน คือ การไม่ก่อทุกข์หรือเบียดเบียนผู้อื่น

                - ความอดทน คือ การรักษาอาการ กาย วาจา ใจให้เรียบร้อย การอดทนต่อสิ่งทั้งปวง

                - ความยุติธรรม คือ ความหนักแน่น ถือความถูกต้อง เที่ยงธรรมเป็นหลัก

 

 

จรรยาบรรณ (Codes of Conduct) (Professional Ethics)

จรรยาบรรณ หมายถึง   ประมวลกฎเกณฑ์ความประพฤติหรือประมวลมารยาทของผู้ประกอบอาชีพนั้น ๆต้องเป็นเอกลักษณ์ทางวิชาชีพ ใช้ความรู้ มีองค์กรหรือสมาคมควบคุม

1.    ประมวลความประพฤติที่ผู้ประกอบอาชีพการงานแต่ละอย่างกำหนดขึ้น เพื่อรักษาและส่งเสริมเกียรติคุณชื่อเสียงและฐานะของสมาชิก อาจเขียนเป็นลายลักษณ์อักษรหรือไม่ก็ได้

2.    หลักความประพฤติที่เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจให้มีคุณธรรมและจริยธรรมของบุคคลในแต่ละกลุ่มวิชาชีพ

จรรยาบรรณวิชาชีพ  (Code of Ethics )

n    จรรยาบรรณเกิดขึ้นเพื่อ   *มุ่งให้คนในวิชาชีพมีประสิทธิภาพ* ให้เป็นคนดีในการบริการวิชาชีพ
*ให้คนในวิชาชีพมีเกียรติศักดิ์ศรีที่มีกฎเกณฑ์มาตรฐานจรรยาบรรณ

n    จรรยาบรรณ มีความสำคัญและจำเป็นต่อทุกอาชีพ ทุกสถาบัน และหน่วยงาน เพราะเป็นที่ยึดเหนี่ยวควบคุมการประพฤติ ปฏิบัติด้วยความดีงาม

จรรยาบรรณวิชาชีพครู(Code of Ethics of Teaching Profession)

ความหมาย จรรยาบรรณวิชาชีพครู คือ กฎแห่งความประพฤติสำหรับสมาชิกวิชาชีพครู ซึ่งองค์กรวิชาชีพครูเป็นผู้กำหนด และสมาชิกในวิชาชีพทุกคนต้องถือปฏิบัติโดยเคร่งครัด หากมีการละเมิดจะมีการลงโทษ

แหล่งที่มา http://xchange.teenee.com/up01/post-24840-1216973660.jpg

n    ความสำคัญจรรยาบรรณวิชาชีพครูจรรยาบรรณวิชาชีพครู มีความสำคัญต่อวิชาชีพครูเช่นเดียวกับที่จรรยาบรรณวิชาชีพ มีความสำคัญต่อวิชาชีพอื่น ๆ ซึ่งสรุปได้ ๓ ประการ คือ

n    ๑. ปกป้องการปฏิบัติงานของสมาชิกในวิชาชีพ

n    ๒. รักษามาตรฐานวิชาชีพ

n    ๓. พัฒนาวิชาชีพ

แบบแผนพฤติกรรมตามจรรยาบรรณครู พ.ศ. 2539

n    ครูต้องรักและเมตตาศิษย์ โดยให้ความเอาใจใส่ช่วยเหลือ ส่งเสริมให้กำลังใจในการศึกษาเล่าเรียนแก่ศิษย์โดยเสมอหน้า

n    ครูต้องอบรม สั่งสอน ฝึกฝน สร้างเสริมความรู้ ทักษะและนิสัยที่ถูกต้องดีงามให้แก่ศิษย์ อย่างเต็มความสามารถด้วยความบริสุทธิ์ใจ

n    ครูต้องประพฤติ ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดีแก่ศิษย์ทั้งทางกาย วาจา และจิตใจ

n    ครูต้องไม่กระทำตนเป็นปฏิปักษ์ต่อความเจริญทางกาย สติปัญญา จิตใจ อารมณ์ และสังคมของศิษย์

n    ครูต้องไม่แสวงหาประโยชน์อันเป็นอามิสสินจ้างจากศิษย์ในการปฏิบัติหน้าที่ตามปกติ และไม่ใช้ศิษย์กระทำการใดๆ อันเป็นการหาประโยชน์ให้แก่ตนโดยมิชอบ

n    ครูย่อมพัฒนาตนเองทั้งในด้านวิชาชีพ ด้านบุคลิกภาพและวิสัยทัศน์ ให้ทันต่อการพัฒนาทางวิชาการ เศรษฐกิจ สังคมและการเมืองอยู่เสมอ

n    ครูย่อมรักและศรัทธาในวิชาชีพครู และเป็นสมาชิกที่ดีขององค์กรวิชาชีพครู

n    ครูพึงช่วยเหลือเกื้อกูลครูและชุมชนในทางสร้างสรรค์

n    ครูพึงประพฤติ ปฏิบัติตน เป็นผู้นำในการอนุรักษ์และพัฒนาภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทย

 

จรรยาบรรณนักเรียนนักศึกษา 10ประการ

*พึงหาโอกาสเรียนรู้ ให้เข้าใจใช้เหตุผลโดยเร็วที่สุดตามระดับวัย 

*พึงรับทุกอย่างด้วยเหตุผล พึงรับพิจารณาความคิดอย่างมีเหตุผลถึงแม้จะยังไม่เห็นด้วย  เคารพความคิดผู้อื่นโดยยึดถือการประนีประนอม และหาทางสายกลาง 

* การเรียนไม่ใช่เป็นการกอบโกย เอาเปรียบผู้อื่น

* ให้ถือว่าสังคมโรงเรียน/สถาบันการศึกษาเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตจริง

*สร้างสังคมในโรงเรียน/สถาบันการศึกษา  ในอุดมการณ์ปรับปรุงให้ทันสมัยทันเหตุการณ์เสมอ

*สุจริตในการทำการบ้านและในการสอบ  

*ถือว่าเกียรติอยู่เหนือผลประโยชน์ใดๆ 

* ฝึกน้ำใจนักกีฬาในการแข่งขันทุกประเภท

*ให้เกียรติคอาจารย์รูและเพื่อนเสมอ   

* ถือว่าสิทธิจะต้องแลกเปลี่ยนกับหน้าที่และความรับผิดชอบเสมอ

 

แหล่งที่มา http://www.rd.go.th/samutsongkhram/uploads/RTEmagicC_lotus-012003.jpg.jpg

ขีดสมรรถนะ

ขีดสมรรถนะ คือ ความรู้และทักษะที่จำเป็นขั้นพื้นฐานของการปฎิบัติงานหนึ่งๆ

ขีดสมรรถนะ ที่มีความจำเป็นต่อการบริหารราชการแผ่นดิน ได้แก่

n    เข้าใจบริบทการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อม

n    คิด/วิเคราะห์เชิงยุทธศาสตร์ สามารถกำหนดยุทธศาสตร์ได้อย่างเหมาะสม  (วางแผนผังเชิงยุทธศาสตร์และมีเป้าหมายการทำงานที่ชัดเจน/วัดผลงานได้)

n    สามารถขับเคลื่อนยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติอย่างบรรลุผล และบริหารการเปลี่ยนแปลงได้

n    ป้องกัน/ควบคุมความเสี่ยง

n    มีการควบคุมคุณภาพมาตรฐานการทำงาน

n    มีจริยธรรมและความซื่อสัตย์

สมรรถนะงานสายงานวิชาชีพครูของไทย

n    มาตรฐานวิชาชีพครูตามพ.ร.บ.สภาครู พ.ศ.2547 มี 3ด้าน

n    1. มาตรฐานความรู้และประสบการณ์วิชาชีพ

n    2. มาตรฐานการปฏิบัติงาน

n    3. มาตรฐานการปฏิบัติตน

  เยาวชนยุค ค.ศ 2000 กำลังเผชิญวิกฤติด้านจิตสำนึกที่ดีงามต่อส่วนรวม และขาดภูมิปัญญาในการรักษาตัวให้พ้นจากความชั่ว ปัญหาเยาวชนขายตัว เสพยา ลักขโมย โกหก ลูกทรพี ฯลฯ เป็นปัญหาของสังคมไทย ที่รัฐบาลใดๆก็ไม่สามารถแก้ไขได้     ผู้ที่จะแก้ไขได้ก็คือตัวเยาวชนเอง ที่จะต้องคิดเป็น รู้จักคำว่า สัมมาทิฎฐิ ซึ่งเป็นหนึ่งในอริยมรรค 8 ประการ ที่พระพุทธเจ้าทรงแนะนำให้ปฏิบัติเพื่อการพ้นทุกข์ และต้องพยายามหนีสิ่งชั่วร้ายต่างๆด้วยการใช้

                                         จริยธรรมนำชีวิต
             การใช้จริยธรรมนำชีวิต ต้องเริ่มจากการปริยัติคือศึกษาทฤษฎีให้เข้าใจแล้วจึงนำไปปฏิบัติให้ถูกต้องตามหลักการเพื่อผลในขั้นสุดท้ายอันเป็นผลที่น่ายินดีที่เรียกว่า เป็นคนมีจริยธรรม หรือปฏิเวธได้ในที่สุด

            การปริยัติเพื่อการปฏิบัติตนให้เป็นผู้มีจริยธรรมควรเริ่มต้นจาก มรรยาทชาวพุทธ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมไทย เพื่อให้ตนมีจริยธรรมทางกาย ต่อไปก็ต้องทำใจให้บริสุทธ์สะอาดเพื่อการมีจริยธรรมทางใจ โดยการปริยัติ สมถะ วิปัสสนา มงคลชีวิต หลักพุทธธรรมเพื่อชีวิตและสังคม

         เมื่อรู้ทฤษฎีในการปฏิบัติตนเพื่อพัฒนาจริยธรรมทางกายและใจแล้วควรได้ทราบว่าจะนำทฤษฎีไปพัฒนาตนอย่างไร โดยศึกษาจากเรื่อง ความสำคัญของพระพุทธศาสนา ในขณะเดียวกันก่อนลงมือปฏิบัติตามอาจเกิดความลังเลสงสัยเกิดขึ้นว่า เมื่อปฏิบัติแล้วจะได้ผลจริงหรือไม่ จึงจำเป็นต้องศึกษาแบบอย่างที่ดี ในเรื่องประวัติและคุณธรรมของพุทธสาวก พุทธสาวิกา และชาวพุทธตัวอย่าง

           ประวัติและคุณธรรมดังกล่าวมีมาแต่พุทธกาล ความลังเลสงสัยอาจจะยังคงมีอยู่ว่าในปัจจุบันพระดีๆเป็นแบบอย่างได้ ยังมีอยู่จริงหรือ ก็ให้ศึกษาได้จาก บทบาทของพระสงฆ์ในการพัฒนาสังคม


             ถ้าได้ศึกษาไปครบทั้ง 8 เรื่องแล้ว ยังลังเลว่าเรื่องเหล่านี้นำมาจากที่ใด ใครเป็นผู้สอน ให้ศึกษาจาก
พระไตรปิฎก ภาษาบาลี คำศัพท์ในพระพุทธศาสนา และพุทธศาสนสุภาษิต พุทธประวัติและวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาเมื่อปริยัติครบทั้ง 11 เรื่อง มีความเข้าใจ มีจินตมยปัญญา สามารถนำไปปฏิบัติได้ ท่านจะเป็นผู้หนึ่งที่ถูกเรียกว่าชาวพุทธ ซึ่งมีหน้าที่ที่จะต้องปฏิบัติเพื่อการคงอยู่ของพระพุทธศาสนา จึงต้องศึกษา หน้าที่ชาวพุทธ ศาสนพิธีและการปกครองคณะสงฆ์ไทย

             หลังจากที่ได้มีการปริยัติ และ ปฏิบัติ มรรยาทฃาวพุทธ สมถะ วิปัสสนา มงคลชีวิต หลักพุทธธรรม ฯ หน้าที่ชาวพุทธ จนสุดท้ายศาสนพิธี จริยธรรมก็จะนำชีวิตไปสู่แสงสว่างแห่งความดี เป็นคนที่มีความรู้คู่คุณธรรม อันเป็นจุดมุ่งหมายของการพัฒนาคนตามที่สังคมต้องการ และจะให้สว่างยิ่งขึ้นก็ควรได้ศึกษา คู่มือมนุษย์ ธรรมะจากหลวงตาบัว ธรรมะจากพระอาจารย์ทูล จารึกไว้ในพระศาสนา รวมทั้งศึกษาหาแบบอย่างดีๆในปัจจุบันได้จาก ข่าวเยาวชน ปิดท้ายด้วยนิทานสนุกๆ เรื่อง มิลินทปัญหา และ ทศชาติชาดก


             เว็ปไซด์ Moralism จึงเป็นเว็ปไซด์ที่จะนำชีวิตไปสู่ความดีงาม ทั้ง กาย วาจา และ ใจ เป็นผู้มีจริยธรรมในที่สุด รวมทั้งเป็นเว็ปไซด์ที่สามารถสนองตอบพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ 2542 ที่กำหนดให้มีการศึกษาตามอัธยาศัย คือการศึกษาด้วยตนเอง ตามความต้องการ ตามความสนใจ ตลอดเวลา และตลอดชีวิตเว็ปไซด์นี้จึงเป็นอีกทางเลือกหนึ่งสำหรับการศึกษาตามอัธยาสัย
 
คุณธรรม (อังกฤษ: Virtue) เป็น มุมมองแง่หนึ่งของ จริยธรรม ซึ่งคำนึงถึง สิ่งที่ถูกและผิด โดยมีหลักใหญ่สามประการ ได้แก่ ความรู้สึกผิดชอบชั่วดีในแต่ล่ะบุคคล ระบบยุติธรรมซึ่งเกี่ยวข้องกับ วัฒนธรรม ประเพณี ท้องถิ่น ประวัติศาสตร์ทางสังคม และ ธรรมเนียมปฏิบัติ สภาพคุณความดี หรือคุณลักษณะที่แสดงออกของความดี ที่แสดงออกด้วยการปฏิบัติและเป็นที่ประจักษ์แก่คนทั่วไป

คุณธรรมบุคคล คือการพิจารณา และ จำแนกระหว่างสิ่งที่ถูกและผิด ตามเจตนา แรงจูงใจ หรือการกระทำ

คุณธรรม คือ นามธรรมอย่างหนึ่ง ซึ่งเกี่ยวข้องกับจิตสำนึกของมนุษย์ที่ตระหนักถึงความผิดชอบชั่วดี

พจนานุกรมไทยฉบับราชบัณฑิตสถาน ( 2530  : 190 )  ได้ให้ความหมายของ คุณธรรมว่า คุณธรรม  หมายถึง  สภาพคุณงามความดีหรือหน้าที่อันพึงมีอยู่ในตัว

 แหล่งที่มา http://www.palungdham.com/news/game02.jpg

          ลิขิต  ธีรเวคิน ( 2548 ) ได้กล่าวไว้ว่า  คุณธรรม คือ จิตวิญญาณของปัจเจกบุคคล ศาสนาและอุดมการณ์  เป็นดวงวิญญาณของปัจเจกบุคคลและสังคมด้วย  ปัจเจกบุคคลต้องมีวิญญาณ สังคมต้องมีจิตวิญญาณ คุณธรรมของปัจเจกบุคคลอยู่ที่การกล่อมเกลาเรียนรู้โดยพ่อแม่  สถาบันการศึกษา  ศาสนา  พรรคการเมืองและองค์กรของรัฐ

 

          รองศาสตราจารย์  ดร. ทิศนา  แขมมณี  ( 2546  : 4 ) ได้ให้ความหมายไว้ว่า คุณธรรม หมายถึง คุณลักษณะหรือสภาวะภายในจิตใจของมนุษย์ที่เป็นไปในทางที่ถูกต้อง ดีงาม ซึ่งเป็นภาวะนามธรรมอยู่ในจิตใจ

 

          สัญญา สัญญาวิวัฒน์  ( 2527  :  387 )  ได้ให้ความหมายว่า คุณธรรม หมายถึง ความดี ความงาม ความซื่อสัตย์ ความพอดี ความอดทน ขยันหมั่นเพียร

 

          จากความหมายของคุณธรรมที่กล่าวมาพอสรุปได้ว่า คุณธรรม หมายถึง หลักของความดี ความงาม ความถูกต้อง ซึ่งจะแสดงออกมาโดยการกระทำ  ทางกาย   วาจาและจิตใจของแต่ละบุคคล ซึ่งเป็นหลักประจำใจในการประพฤติปฏิบัติจนเกิดเป็นนิสัยเป็นสิ่งที่มีประโยชน์ต่อตนเองผู้อื่นและสังคม

 

2.  ความหมายของจริยธรรม  

 

          มีผู้ให้ความของคำว่า  “  จริยธรรม  ”   ไว้ดังต่อไปนี้

 

          พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน  ( 2546 )  ให้ความหมายของ  “  จริยธรรม ”   ไว้ว่า  หมายถึง ธรรมที่เป็นข้อประพฤติปฏิบัติ

 

          พระมหาอดิศร   ถิรสีโล  ( 2540 )   ได้ให้ความหมายของจริยธรรมไว้ว่า  หมายถึงคุณธรรมที่แสดงออกทางร่างกายในลักษณะที่ดีงามอันเป็นสิ่งที่พึงประสงค์ของสังคม จริยธรรม จะมีได้ต้องปลูกฝึกหัดโดยเริ่มจากการปลูกฝังคุณธรรม

 

          พระธรรมญาณมุนี  ( 2531 :103 )  ได้ให้ความหมายของจริยธรรมไว้ว่า  จริยธรรม  หมายถึง   พฤติกรรมที่เป็นรูปแบบของการปฏิบัติตน  การดำเนินตนที่มีความเหมาะสมแก่ภาวะฐานะ  กาลเทศะ  และเหตุการณ์ในปัจจุบัน

 

          จากความหมายดังกล่าวมาพอสรุปได้ว่า จริยธรรม หมายถึง  พฤติกรรมในการประพฤติปฏิบัติตนในสิ่งที่ควรปฏิบัติที่ดีงามเหมาะสม  และเป็นที่นิยมชมชอบหรือยอมรับของสังคมเพื่อความสันติสุขแห่งตนเอง และความสงบเรียบร้อยของสังคมส่วนรวม 

 แหล่งที่มา http://www.kalyanamitra.org/daily/dhamma/images/content/dhammaallday/hammaallday501127.jpg

          กล่าวโดยย่อ คุณธรรม  หมายถึง คุณสมบัติภายในใจใดๆ ก็ตามที่เป็นคุณสมบัติไม่เป็นโทษ ส่วน จริยธรรม  หมายถึง  สิ่งควรประพฤติอัน ได้แก่  พฤติกรรมเป็นการกระทำ ทางกาย วาจา  ใจ  อันดีงามที่ควรปฏิบัติ ดังนั้นจึงสรุปได้ว่า  คุณธรรม และจริยธรรม  หมายถึง  คุณงามความดีของบุคคลที่กระทำไปด้วยความสำนึกในจิตใจ โดยได้ยึดถือจนเป็นความเคยชิน อันเป็นคุณลักษณะหรือพฤติกรรมที่ดีงาม เป็นที่ยอมรับว่าเป็นสิ่งที่ถูกต้องของตนเอง ผู้อื่นและสังคม

คุณธรรม  จริยธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์

จริยธรรม หมายถึง "หลักศีลธรรมจรรยาที่กำหนดขึ้นเพื่อใช้เป็นแนวทางปฏิบัติ หรือควบคุมการใช้ระบบคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ" ในทางปฏิบัติแล้ว การระบุว่าการกระทำสิ่งใดผิดจริยธรรมนั้น อาจกล่าวได้ไม่ชัดเจนมากนัก ทั้งนี้ ย่อมขึ้นอยู่กับวัฒนธรรมของสังคมในแต่ละประเทศด้วย อย่างเช่น กรณีที่เจ้าของบริษัทใช้กล้องในการตรวจจับหรือเฝ้าดูการทำงานของพนักงาน เป็นต้น ตัวอย่างของการกระทำที่ยอมรับกันโดยทั่วไปว่าเป็นการกระทำที่ผิดจริยธรรม เช่นการใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายผู้อื่นให้เกิดความเสียหายหรือก่อความรำราญ เช่น การนำภาพหรือข้อมูลส่วนตัวของบุคคลไปลงบนอินเตอร์เน็ตโดยไม่ได้รับอนุญาตการใช้คอมพิวเตอร์ในการขโมยข้อมูลการเข้าถึงข้อมูลหรือคอมพิวเตอร์ของบุคคลอื่นโดยไม่ได้รับอนุญาตการละเมิดลิขสิทธิ์ โดยทั่วไป เมื่อพิจารณาถึงจริยธรรมเกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศแล้ว จะกล่าวถึงใน 4 ประเด็น ที่รู้จักกันในลักษณะตัวย่อว่า PAPA ประกอบด้วย

1. ความเป็นส่วนตัว (Information Privacy)
2. ความถูกต้อง (Information Accuracy)
3 ความเป็นเจ้าของ (Information Property)
4. การเข้าถึงข้อมูล (Data Accessibility) ความเป็นส่วนตัว (Information Privacy)

ความเป็นส่วนตัวของข้อมูลและสารสนเทศ โดยทั่วไปหมายถึง สิทธิที่จะอยู่ตามลำพัง และเป็นสิทธิที่เจ้าของสามารถที่จะควบคุมข้อมูลของตนเองในการเปิดเผยให้กับผู้อื่น สิทธินี้ใช้ได้ครอบคลุมทั้งปัจเจกบุคคล กลุ่มบุคคล และองค์การต่างๆปัจจุบันมีประเด็นเกี่ยวกับความเป็นส่วนตัวที่เป็นข้อหน้าสังเกตดังนี้

1.การเข้าไปดูข้อความในจดหมายอิเล็กทรอนิกส์และการบันทึกข้อมูลในเครื่องคอมพิวเตอร์ รวมทั้งการบันทึก-แลกเปลี่ยนข้อมูลที่บุคคลเข้าไปใช้บริการเว็บไซต์และกลุ่มข่าวสาร

2.การใช้เทคโนโลยีในการติดตามความเคลื่อนไหวหรือพฤติกรรมของบุคคล เช่น บริษัทใช้คอมพิวเตอร์ในการตรวจจับหรือเฝ้าดูการปฏิบัติงาน/การใช้บริการของพนักงาน ถึงแม้ว่าจะเป็นการติดตามการทำงานเพื่อการพัฒนาคุณภาพการใช้บริการ แต่กิจกรรมหลายอย่างของพนักงานก็ถูกเฝ้าดูด้วย พนักงานสูญเสียความเป็นส่วนตัว ซึ่งการกระทำเช่นนี้ถือเป็นการผิดจริยธรรม

3.การใช้ข้อมูลของลูกค้าจากแหล่งต่างๆ เพื่อผลประโยชน์ในการขยายตลาด

4.การรวบรวมหมายเลขโทรศัพท์ ที่อยู่อีเมล์ หมายเลขบัตรเครดิต และข้อมูลส่วนตัวอื่นๆ เพื่อนำไปสร้างฐานข้อมูลประวัติลูกค้าขึ้นมาใหม่ แล้วนำไปขายให้กับบริษัทอื่น ดังนั้น เพื่อเป็นการป้องกันการละเมิดสิทธิความเป็นส่วนตัวของข้อมูลและสารสนเทศ จึงควรจะต้องระวังการให้ข้อมูล โดยเฉพาะการใช้อินเตอร์เน็ตที่มีการใช้โปรโมชั่น หรือระบุให้มีการลงทะเบียนก่อนเข้าใช้บริการ เช่น ข้อมูลบัตรเครดิต และที่อยู่อีเมล์ความถูกต้อง (Information Accuracy)

ในการใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการรวบรวม จัดเก็บ และเรียกใช้ข้อมูลนั้น คุณลักษณะที่สำคัญประการหนึ่ง คือ ความน่าเชื่อถือได้ของข้อมูล ทั้งนี้ ข้อมูลจะมีความน่าเชื่อถือมากน้อยเพียงใดย่อมขึ้นอยู่กับความถูกต้องในการบันทึกข้อมูลด้วย ประเด็นด้านจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับความถูกต้องของข้อมูล โดยทั่วไปจะพิจารณาว่าใครจะเป็นผู้รับผิดชอบต่อความถูกต้องของข้อมูลที่จัดเก็บและเผยแพร่ เช่น ในกรณีที่องค์การให้ลูกค้าลงทะเบียนด้วยตนเอง หรือกรณีของข้อมูลที่เผยแพร่ผ่านทางเว็บไซต์ อีกประเด็นหนึ่ง คือ จะทรายได้อย่างไรว่าข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้นนั้นไม่ได้เกิดจากความจงใจ และผู้ใดจะเป็นผู้รับผิดชอบหากเกิดข้อผิดพลาด ดังนั้น ในการจัดทำข้อมูลและสารสนเทศให้มีความถูกต้องและน่าเชื่อถือนั้น ข้อมูลควรได้รับการตรวจสอบความถูกต้องก่อนที่จะนำเข้าฐานข้อมูล รวมถึงการปรับปรุงข้อมูลให้มีความทันสมัยอยู่เสมอ นอกจากนี้ ควรให้สิทธิแก่บุคคลในการเข้าไปตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลของตนเองได้ เช่น ผุ้สอนสามารถดูคะแนนของนักศึกษาในความรับผิดชอบ หรือที่สอนเพื่อตรวจสอบว่าคะแนนที่ป้อนไม่ถูกแก้ไขเปลี่ยนแปลง ความเป็นเจ้าของ (Information Property) สิทธิความเป็นเจ้าของ หมายถึง กรรมสิทธิ์ในการถือครองทรัพย์สิน ซึ่งอาจเป็นทรัพย์สินทั่วไปที่จับต้องได้ เช่น คอมพิวเตอร์ รถยนต์ หรืออาจเป็นทรัพย์สินทางปัญญา (ความคิด)

 

 แหล่งทีมา http://www.dhammajak.net/board/files/4505_1198605247.jpg_219.jpg

 ที่จับต้องไม่ได้ เช่น บทเพลง โปรแกรมคอมพิวเตอร์ แต่สามารถถ่ายทอดและบันทึกลงในสื่อต่างๆ ได้ เช่น สิ่งพิมพ์ เทป ซีดีรอม เป็นต้น ในสังคมของเทคโนโลยีสารสนเทศ มักจะกล่าวถึงการละเมิดลิขสิทธิ์ซอฟต์แวร์ เมื่อท่านซื้อโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่มีการจดลิขสิทธิ์ นั่นหมายความว่าท่านได้จ่ายค่าลิขสิทธิ์ในการใช้ซอฟต์แวร์นั้น สำหรับท่านเองหลังจากที่ท่านเปิดกล่องหรือบรรจุภัณฑ์แล้ว หมายถึงว่าท่านได้ยอมรับข้อตกลงเกี่ยวกับลิขสิทธิ์ในการใช้สินค้านั้น ซึ่งลิขสิทธิ์ในการใช้จะแตกต่างกันไปในแต่ละสินค้าและบริษัท บางโปรแกรมคอมพิวเตอร์จะอนุญาตให้ติดตั้งได้เพียงครั้งเดียว หรือไม่อนุญาตให้ใช้กับคอมพิวเตอร์เครื่องอื่นๆ ถึงแม้ว่าคอมพิวเตอร์เครื่องนั้นๆ ท่านเป็นเจ้าของ และไม่มีผู้อื่นใช้ก็ตาม ในขณะที่บางบริษัทอนุญาตให้ใช้โปรแกรมนั้นได้หลายๆ เครื่อง ตราบใดที่ท่านยังเป็นบุคคลที่มีสิทธิในโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ซื้อมา การคัดลอกโปรแกรมคอมพิวเตอร์ให้กับเพื่อน เป็นการกระทำที่จะต้องพิจารณาให้รอบคอบก่อนว่าโปรแกรมที่จะทำการคัดลอกนั้น เป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ท่านมีสิทธ์ในระดับใดการเข้าถึงข้อมูล (Data Accessibility) ปัจจุบันการเข้าใช้งานโปรแกรม หรือระบบคอมพิวเตอร์มักจะมีการกำหนดสิทธิตามระดับของผู้ใช้งาน ทั้งนี้ เพื่อเป็นการป้องกันการเข้าไปดำเนินการต่างๆ กับข้อมูลของผู้ใช้ที่ไม่มีส่วนเกี่ยวข้อง และเป็นการรักษาความลับของข้อมูล ตัวอย่างสิทธิในการใช้งานระบบ เช่น การบันทึก การแก้ไข/ปรับปรุง และการลบ เป็นต้น ดังนั้น ในการพัฒนาระบบคอมพิวเตอร์จึงได้มีการออกแบบระบบรักษาความปลอดภัยในการเข้าถึงของผู้ใช้ และการเข้าถึงข้อมูลของผู้อื่นโดยไม่ได้รับความยินยอมนั้น ก็ถือเป็นการผิดจริยธรรมเช่นเดียวกับการละเมิดข้อมูลส่วนตัว ในการใช้งานคอมพิวเตอร์และเครือข่ายร่วมกันให้เป็นระเบียบ หากผู้ใช้ร่วมใจกันปฏิบัติตามระเบียบและข้อบังคับของแต่ละหน่วยงานอย่างเคร่งครัดแล้ว การผิดจริยธรรมตามประเด็นดังที่กล่าวมาข้างต้นก็คงจะไม่เกิดขึ้น
2. ไม่รบกวนการทำงานของผู้อื่น
3. ไม่สอดแนมหรือแก้ไขเปิดดูในแฟ้มของผู้อื่น
4. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการโจรกรรมข้อมูลข่าวสาร
5. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์สร้างหลักฐานที่เป็นเท็จ
6. ไม่คัดลอกโปรแกรมผู้อื่นที่มีลิขสิทธิ์
7. ไม่ละเมิดการใช้ทรัพยากรคอมพิวเตอร์โดยที่ตนเองไม่มีสิทธิ์
8. ไม่นำเอาผลงานของผู้อื่นมาเป็นของตน
9. ต้องคำนึงถึงสิ่งที่จะเกิดขึ้นกับสังคมอันติดตามมาจากการกระทำ
10. ใช้คอมพิวเตอร์โดยเคารพกฎระเบียบ กติกามารยาท
11. ไม่ทำความเสียหายให้กับคอมพิวเตอร์ที่ป็นของสาธารณะ
12. ควรดูแลและบำรุงรักษาอย่างสม่ำเสมอ
13. ไม่ทำความเสียหายแก่คอมพิวเตอร์สาธารณะ
14. ใช้ให้คุ้มค่ามากที่สุดและเป็นประโยชน์ต่อตนเอง
15. ไม่สร้างโปรแกรมที่ก่อกวนการทำงานของผู้อื่น

แหล่งที่มา http://www.oknation.net/blog/home/blog_data/542/20542/images/8TeenBanner_web.gif

...สรุป...

คุณธรรมนำความรู้ แทนความรู้คู่คุณธรรม พร้อมเน้นปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ความสมานฉันท์ สันติวิธี โดยกระบวนการเรียนรู้โดยใช้คุณธรรมเป็นฐานจะต้องเชื่อมโยงกับ
 3 สถาบัน คือครอบครัว สถานศึกษา และศาสนา หรือ "บวร" คือบ้าน วัด โรงเรียน อย่างไรก็ตาม ศธ.ได้กำหนดเป็นโครงการการเสริมสร้างคุณธรรม
ในระบบการศึกษาไทย ซึ่งจะเป็นแผนแม่บทในการศึกษาของไทย โดยมอบให้แต่ละหน่วยงาน และสถาบันการศึกษาพิจารณา และทบทวนสิ่งที่ทำอยู่แล้วว่ามีอะไร
และมีสิ่งใหม่ที่จะเสริมเติมเต็ม โดยดึงเอาหน่วยงานที่เกี่ยวข้องมาเป็นเครือข่าย รวมทั้งอาจต้องฟื้นกิจกรรมบางอย่าง เช่น กิจกรรมค่าย การบำเพ็ญประโยชน์ อาสาสมัคร
 เป็นต้น ในระดับอุดมศึกษา ต้องเป็นที่พึ่งให้กับการศึกษาในระดับอื่นๆ ในการให้ความรู้ความเข้าใจ และเป็นตัวอย่างการเสริมสร้างคุณธรรม
โดยเฉพาะอย่างยิ่งคณะศึกษาศาสตร์ และครุศาสตร์"

ด้วยสภาพการณ์ของสังคมไทยในปัจจุบัน  สถาบันครอบครัว  และสถาบันการศึกษา ซึ่งทำหน้าที่หล่อหลอมทางสังคมให้กับเด็กและเยาวชนนั้นขาดประสิทธิภาพในการดำเนินการและขาดการ บูรณาการร่วมกัน พ่อแม่ผู้ปกครองอบรมเลี้ยงดูบุตรแบบปล่อยปละละเลย (Laissez-faire)๒ เพราะด้วยสภาวะทางเศรษฐกิจบีบบังคับทำให้ต้องแก่งแย่ง  แข่งขันกันทำมาหากินเพื่อความอยู่รอดจนมองข้ามความสำคัญของการปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรมให้กับบุตรหลานของตน ในส่วนสถาบันการศึกษาพบว่าหลักสูตรการเรียนการสอนขั้นพื้นฐานทุกระดับชั้นยังขาดการสอดแทรกเรื่องคุณธรรมจริยธรรม จิตสำนึกสาธารณะ และคุณลักษณะของพลเมืองที่ดีให้กับนักเรียนนักศึกษาอย่างต่อเนื่องและเป็นแบบแผน ในการเรียนการสอนวิชาจริยธรรมมุ่งศึกษาเพียงภาคทฤษฎีแต่มิได้มุ่งเน้นการฝึกปฏิบัติอย่างจริงจัง ขาดกระบวนการในการประเมินและฝึกอบรมคุณธรรมจริยธรรมของผู้สอน ส่งผลให้บุคลากรบางส่วนมีพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม เช่น ลงโทษนักเรียนรุนแรงเกินกว่าเหตุ กระทำอนาจารลูกศิษย์ กลายเป็นแบบอย่างที่ไม่ดีให้กับเด็กและเยาวชน บรรทัดฐานของสังคม (Social Norm) เน้นให้คุณค่าทางวัตถุมากกว่าจิตใจให้คุณค่ากับคนเก่งมากกว่าคนดี จึงทำให้เด็กและเยาวชนจำนวนมากมองข้ามความสำคัญของคุณธรรมและจริยธรรมประจำใจ ละเลยคำสอนทางศาสนาและวัฒนธรรมประเพณี อันดีงามของประเทศชาติ ประกอบกับสภาวการณ์ของสังคมไทยในปัจจุบันตกอยู่ในขั้นวิกฤติ เกิดวิกฤติศีลธรรมและจรรยาบรรณในตัวบุคคล อันนำมาสู่ปัญหาความไม่สอดคล้องกันของคนในชาติ  ขาดซึ่งการมีอุดมการณ์ความรักชาติและการมีจิตสำนึกร่วมกันของคนในชาติ  

    แหล่งข้อมูลจาก  http://sw07002.blogspot.com/2009/02/blog-post.html

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 518 คน กำลังออนไลน์