• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:083ed13d9e1a19e0e1242be90e4605ac' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<strong><u>การลำเลียงสารผ่านเยื้อหุ้มเซลล์</u></strong><br />\n <strong>การลำเลียงแบบใช้พลังงาน<br />\n</strong>การลำเลียงแบบใช้พลังงาน อาศัยโปรตีนที่แทรกอยู่ในเยื่อหุ้มเซลล์ ทำหน้าที่เป็นตัวลำเลียงเช่นเดียวกับการแพร่แบบฟาซิลิเทต แต่แตกต่างกันตรงที่เซลล์ต้องใช้พลังงานเป็นตัวพา เรียกว่า ATP<br />\nเอกโซไซโทซิส<br />\n        <strong>  เอกโซไซโทซิส</strong>  เป็นการลำเลียงสารขนาดใหญ่ออกจากเซลล์สารที่จะถูกส่งออกนอกเซลล์บรรจุอยู่ในเวสิเคิล เมื่อเวสิเคิลรวมตัวกับเยื่อหุ้มเซลล์ สารที่อยุ่ภายในเวสิเคิลก็จะถูกปล่อยออกไปนอกเซลล์<br />\nเอนโดไซโทซิส<br />\n      <strong>   เอนโดไซโทซิส</strong> เป็นการลำเลียงสารขนาดใหญ่เข้าสู่เซลล์ เอนโดไซโทซิสในสิ่งมีชีวิต มีชื่อเรียกแตกต่างกันไปตามกลไกการลำเลียง ได้แก่ <br />\n            <strong>ฟาโกไซโมซิส</strong> เป็นการลำเลียงสารเข้าสู่เซลล์ที่พบได้ในเซลล์จำพวกอมีบาและเซลล์เม็ดเลือดขาวโดยเซลล์สามารถยื่นไซโทพลาสซึมออกมาล้อมอนุภาคของสารที่มีขนาดใหญ่ที่เป็นของแข็งก่อนที่จะนำเข้าสุ่เซลล์ในรูปของเวสิเคิล จากนั้นอาจรวมตัวกับไลโซโซมภายในเซลล์เพื่อย่อยสลายภายในเวสิเคิล ด้วยเอนไซม์ภายในไลโซโซม<br />\nพิโนไซโทซิส<br />\n        เป็นการนำอนุภาคของที่อยุ่ในรูปของสารละลายเข้าสู่เซลล์ โดยการทำให้เยื่อหุ้มเซลล์เว้าเข้าไปในไซโทพลาสซึมทีละน้อยจนกลายเป็นถุงเล็ก ๆ เมื่อเยื่อหุ้มเซลล์ปิดสนิทถุงนี้จะหลุดเข้าไปกลายเป็นเวสิเคิล<br />\n   <strong><u>การนำสารเข้าสู่เซลล์โดยอาศัยตัวรับ</u></strong> <br />\nเป็นการนำการลำเลียงสารเข้าสู่เซลล์ ที่เกิดขึ้นโดยมีโปรตีนเป็นตัวรับบนเยื่อหุ้มเซลล์ สารที่ถูกลำเลียงเข้าสู่เซลล์ด้วยวิธีนี้จะต้องมีความจำเพาะในการจับกับโปรตีนตัวรับที่อยุ่บนเยื่อหุ้มเซลล์จึงจะสามารถนำเข้าสู่เซลล์ได้ หลังจากนั้นเยื่อหุ้มเซลล์จึงเว้าเป็นเวสิเคิลหลุดเข้าสู่ภายในเซลล์\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n <strong><u>การลำเลียงแบบไม่ใช้พลังงาน<br />\n</u></strong> <strong>การแพร่ (diffusion)</strong><br />\n            เป็นการเคลื่อนที่ของอนุภาคของสารจากบริเวณที่มีความเข้มข้นของสารสูงไปสุ่บริเวณที่ความเข้มข้นของสารต่ำ สารที่มีขนาดเล็กและละลายในไขมันได้ดี และไม่มีขั้วจะเข้าสู่เซลล์ โดยกระบวนการแพร่ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ได้ดี และมีอัตราแพร่ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ได้สูง แต่สารบางชนิด<br />\nไม่สามารถแพ่ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์โดยตรง<br />\n  <strong>ออสโมซิส (Osmosis) <br />\n</strong>         หมายถึง การแพร่ของน้ำจากบริเวณที่มีน้ำมากซึ่งมีความเข้มข้นของสารน้อยเข้าสู่บริเวณที่มีน้ำน้อยซึ่งมีความเข้มข้นของสารมากกว่า โดยผ่านเยื่อบาง ๆ ซึ่งจะเกิดขึ้นกับเซลล์ของสิ่งมีชีวิตตลอดเวลา<br />\n1. ถ้าเซลล์เกิดกระบวนการออสโมซิสของน้ำจากภายนอกเซลล์เข้าสู่ภายในเซลล์ นั่นหมายถึงว่า ความเข้มข้นของสารภายในเซลล์มีมากกว่าความเข้มข้นของสารภายนอกเซลล์ เมื่อน้ำจากภายนอกเซลล์แพร่เข้าภายในเซลล์ จะทำให้เซลล์ได้รับน้ำมากเซลล์จะบวมขึ้น ปรากฏการณ์นี้เรียกว่า เซลล์แต่ง<br />\n        2.ถ้าเซลล์เกิดกระบวนการออสโมซิสโดยน้ำจากภายในเซลล์เคลื่อนที่ออกนอกเซลล์เนื่องจากความเข้มข้นของสารภายนอกเซลล์มีมากกว่าภายในเซลล์ เซลล์จะเกิดการสูญเสียน้ำปรากฏการณ์เช่นนี้จะทำให้ เซลล์เหี่ยว เช่นการหุบของใบไมยราบ<br />\n        3.ถ้าเซลล์เกิดกระบวนการออสโมซิสโดยน้ำจากภายในเซลล์แพร่ออกนอกเซลล์ในอัตราเดียวกันกับน้ำจากนอกเซลล์เข้าสู่ภายในเซลล์ ภาวะเช่นนี้ความเข้มข้นของสารภายในเซลล์กับภายนอกเซลล์มีความเข้มข้นเท่ากัน เซลล์จะอยู่ใน สภาวะสมดุล นั่นคือเซลล์จะไม่เต่งและไม่เหี่ยว<br />\n <strong>การแพร่แบบฟาซิลิเทต (facilitated diffusion)<br />\n</strong>          เป็นการแพร่ของสารที่ไม่สามารถแพร่ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ได้โดยตรง ต้องอาศัยโปรตีนเป็นตัวพา เช่น กลีเซอรอล กรดอมิโน และกลูโคส การแพร่แบบนี้<br />\nไม่ต้องอาศัยพลังงานและเกิดขึ้นเมื่อมีความแตกต่างระฟว่างความเข้มข้นของสารภายนอกกับภายในเซลล์ สารจะเคลื่อนที่ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์จากด้านที่มีความเข้นสูงไปยังด้านที่มีความเข้มข้นต่ำกว่าเสมอ\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\">ที่มา  นงลักษณ์ สุวรรณพินิจและปรีชา สุวรรณพินิจ.จุลชีวยาทั่วไป.พิมพ์ครั้งที่ 3.สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.2544<br />\n                 นิตยา เลาหะจินดา.วิวัฒนาการของสัตว์.โรงพิมพ์ลินคอร์น:กรุงเทพฯ.2539.<br />\n                 พัฒนี จันทรดรทัย.วิวัฒนาการความเป็นมาและกระบวนการกำเนดของสิ่งมีชีวิต.สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.2547<br />\n                 สมาคมพันธุศาสตร์แห่ประเทศไทย.หลักพันธุศาสตร์.กรุงเทพฯ.2546.<br />\n                สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ.ความหลากหลายทางชีวภาพในประเทศไทย.กรุงเทพฯ.2545.<br />\n                 อักษร ศรีเปล่ง.พืชมีระบบท่อลำเลียง.มหาวิทยาลัยเกตรศาสตร์.2530</span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n                                                                                \n</p>\n', created = 1715781104, expire = 1715867504, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:083ed13d9e1a19e0e1242be90e4605ac' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

การลำเลียงสารผ่านเซลล์

รูปภาพของ msw6628

การลำเลียงสารผ่านเยื้อหุ้มเซลล์
 การลำเลียงแบบใช้พลังงาน
การลำเลียงแบบใช้พลังงาน อาศัยโปรตีนที่แทรกอยู่ในเยื่อหุ้มเซลล์ ทำหน้าที่เป็นตัวลำเลียงเช่นเดียวกับการแพร่แบบฟาซิลิเทต แต่แตกต่างกันตรงที่เซลล์ต้องใช้พลังงานเป็นตัวพา เรียกว่า ATP
เอกโซไซโทซิส
          เอกโซไซโทซิส  เป็นการลำเลียงสารขนาดใหญ่ออกจากเซลล์สารที่จะถูกส่งออกนอกเซลล์บรรจุอยู่ในเวสิเคิล เมื่อเวสิเคิลรวมตัวกับเยื่อหุ้มเซลล์ สารที่อยุ่ภายในเวสิเคิลก็จะถูกปล่อยออกไปนอกเซลล์
เอนโดไซโทซิส
         เอนโดไซโทซิส เป็นการลำเลียงสารขนาดใหญ่เข้าสู่เซลล์ เอนโดไซโทซิสในสิ่งมีชีวิต มีชื่อเรียกแตกต่างกันไปตามกลไกการลำเลียง ได้แก่
            ฟาโกไซโมซิส เป็นการลำเลียงสารเข้าสู่เซลล์ที่พบได้ในเซลล์จำพวกอมีบาและเซลล์เม็ดเลือดขาวโดยเซลล์สามารถยื่นไซโทพลาสซึมออกมาล้อมอนุภาคของสารที่มีขนาดใหญ่ที่เป็นของแข็งก่อนที่จะนำเข้าสุ่เซลล์ในรูปของเวสิเคิล จากนั้นอาจรวมตัวกับไลโซโซมภายในเซลล์เพื่อย่อยสลายภายในเวสิเคิล ด้วยเอนไซม์ภายในไลโซโซม
พิโนไซโทซิส
        เป็นการนำอนุภาคของที่อยุ่ในรูปของสารละลายเข้าสู่เซลล์ โดยการทำให้เยื่อหุ้มเซลล์เว้าเข้าไปในไซโทพลาสซึมทีละน้อยจนกลายเป็นถุงเล็ก ๆ เมื่อเยื่อหุ้มเซลล์ปิดสนิทถุงนี้จะหลุดเข้าไปกลายเป็นเวสิเคิล
   การนำสารเข้าสู่เซลล์โดยอาศัยตัวรับ
เป็นการนำการลำเลียงสารเข้าสู่เซลล์ ที่เกิดขึ้นโดยมีโปรตีนเป็นตัวรับบนเยื่อหุ้มเซลล์ สารที่ถูกลำเลียงเข้าสู่เซลล์ด้วยวิธีนี้จะต้องมีความจำเพาะในการจับกับโปรตีนตัวรับที่อยุ่บนเยื่อหุ้มเซลล์จึงจะสามารถนำเข้าสู่เซลล์ได้ หลังจากนั้นเยื่อหุ้มเซลล์จึงเว้าเป็นเวสิเคิลหลุดเข้าสู่ภายในเซลล์

 

 การลำเลียงแบบไม่ใช้พลังงาน
 การแพร่ (diffusion)
            เป็นการเคลื่อนที่ของอนุภาคของสารจากบริเวณที่มีความเข้มข้นของสารสูงไปสุ่บริเวณที่ความเข้มข้นของสารต่ำ สารที่มีขนาดเล็กและละลายในไขมันได้ดี และไม่มีขั้วจะเข้าสู่เซลล์ โดยกระบวนการแพร่ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ได้ดี และมีอัตราแพร่ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ได้สูง แต่สารบางชนิด
ไม่สามารถแพ่ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์โดยตรง
  ออสโมซิส (Osmosis)
         หมายถึง การแพร่ของน้ำจากบริเวณที่มีน้ำมากซึ่งมีความเข้มข้นของสารน้อยเข้าสู่บริเวณที่มีน้ำน้อยซึ่งมีความเข้มข้นของสารมากกว่า โดยผ่านเยื่อบาง ๆ ซึ่งจะเกิดขึ้นกับเซลล์ของสิ่งมีชีวิตตลอดเวลา
1. ถ้าเซลล์เกิดกระบวนการออสโมซิสของน้ำจากภายนอกเซลล์เข้าสู่ภายในเซลล์ นั่นหมายถึงว่า ความเข้มข้นของสารภายในเซลล์มีมากกว่าความเข้มข้นของสารภายนอกเซลล์ เมื่อน้ำจากภายนอกเซลล์แพร่เข้าภายในเซลล์ จะทำให้เซลล์ได้รับน้ำมากเซลล์จะบวมขึ้น ปรากฏการณ์นี้เรียกว่า เซลล์แต่ง
        2.ถ้าเซลล์เกิดกระบวนการออสโมซิสโดยน้ำจากภายในเซลล์เคลื่อนที่ออกนอกเซลล์เนื่องจากความเข้มข้นของสารภายนอกเซลล์มีมากกว่าภายในเซลล์ เซลล์จะเกิดการสูญเสียน้ำปรากฏการณ์เช่นนี้จะทำให้ เซลล์เหี่ยว เช่นการหุบของใบไมยราบ
        3.ถ้าเซลล์เกิดกระบวนการออสโมซิสโดยน้ำจากภายในเซลล์แพร่ออกนอกเซลล์ในอัตราเดียวกันกับน้ำจากนอกเซลล์เข้าสู่ภายในเซลล์ ภาวะเช่นนี้ความเข้มข้นของสารภายในเซลล์กับภายนอกเซลล์มีความเข้มข้นเท่ากัน เซลล์จะอยู่ใน สภาวะสมดุล นั่นคือเซลล์จะไม่เต่งและไม่เหี่ยว
 การแพร่แบบฟาซิลิเทต (facilitated diffusion)
          เป็นการแพร่ของสารที่ไม่สามารถแพร่ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ได้โดยตรง ต้องอาศัยโปรตีนเป็นตัวพา เช่น กลีเซอรอล กรดอมิโน และกลูโคส การแพร่แบบนี้
ไม่ต้องอาศัยพลังงานและเกิดขึ้นเมื่อมีความแตกต่างระฟว่างความเข้มข้นของสารภายนอกกับภายในเซลล์ สารจะเคลื่อนที่ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์จากด้านที่มีความเข้นสูงไปยังด้านที่มีความเข้มข้นต่ำกว่าเสมอ

ที่มา  นงลักษณ์ สุวรรณพินิจและปรีชา สุวรรณพินิจ.จุลชีวยาทั่วไป.พิมพ์ครั้งที่ 3.สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.2544
                 นิตยา เลาหะจินดา.วิวัฒนาการของสัตว์.โรงพิมพ์ลินคอร์น:กรุงเทพฯ.2539.
                 พัฒนี จันทรดรทัย.วิวัฒนาการความเป็นมาและกระบวนการกำเนดของสิ่งมีชีวิต.สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.2547
                 สมาคมพันธุศาสตร์แห่ประเทศไทย.หลักพันธุศาสตร์.กรุงเทพฯ.2546.
                สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ.ความหลากหลายทางชีวภาพในประเทศไทย.กรุงเทพฯ.2545.
                 อักษร ศรีเปล่ง.พืชมีระบบท่อลำเลียง.มหาวิทยาลัยเกตรศาสตร์.2530

 

                                                                                

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 369 คน กำลังออนไลน์