• user warning: Duplicate entry '536306482' for key 'PRIMARY' query: INSERT INTO accesslog (title, path, url, hostname, uid, sid, timer, timestamp) values('บัญชีผู้ใช้', 'user/login', '', '18.191.208.124', 0, 'f7b69f0e5f91b41f0781e2773d4e20ab', 119, 1719806486) in /home/tgv/htdocs/modules/statistics/statistics.module on line 63.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:43698728c986a2dd28c1a661d7edf17b' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n           <span style=\"color: #ff0000\"> คำประสม</span>\n</p>\n<p>\n<strong>คำประสม</strong> คือ คำที่สร้างจากการนำคำมูลตั้งแต่  ๒  คำขึ้นไปมารวมกัน  แล้วเกิดความหมายใหม่  โดยมีเค้าความหมายเดิมอยู่  คำประสมแต่เดิมเกิดจากการประสมของคำไทยแท้  ต่อมาอาจมีคำจากภาษาอื่นปนอยู่บ้าง  ตัวอย่าง  เช่น<br />\n                                                  แม่ + น้ำ                เป็น       แม่น้ำ  (หมายถึงทางน้ำใหญ่)<br />\n                                                  แสง  + อาทิตย์        เป็น       แสงอาทิตย์  (ชื่องูชนิดหนึ่ง)<br />\n<strong>ลักษณะคำประสม  มีหลักสังเกต  ดังนี้<br />\n</strong>     ๑.  เกิดจากคำมูลตั้งแต่  ๒  คำขึ้นไป   เช่น    ดาวเทียม    สะพานลอย    ผ้าห่มนอน  ภูเขาไฟ เป็นต้น<br />\n     ๒.  เกิดจากคำมูลที่มีความหมายต่างกัน  เมื่อมาประสมกันแล้วเกิดความหมายใหม่  แต่ยังมีเค้าความหมายเดิมอยู่บ้าง  เช่น  <br />\n                    ดาวเทียม  หมายถึง  ยานชนิดหนึ่งโคจรไปในอวกาศได้อย่างดาวแต่ไม่ใช่ดาวจริง ๆ<br />\n                    ม้าเร็ว      หมายถึง  คนขี่ม้าซึ่งทำหน้าที่เดินข่าวสืบเหตุการณ์ของข้าศึกแล้วรีบแจ้งแก่กองทัพ<br />\n                    ลูกน้ำ      หมายถึง  ลูกของยุงซึ่งอาศัยอยู่ในน้ำ<br />\n           คำที่เกิดจากคำมูลที่ยังคงความหมายเดิมไว้ทั้งหมดไม่ใช่คำประสม  อาจเป็นวลีหรือประโยคก็ได้  เช่น<br />\n                    แกงร้อนต้องกินกำลังร้อน       แกงร้อน  เป็นคำประสมหมายถึงแกงชนิดหนึ่ง<br />\n                    แกงร้อนเกินไปจนกินไม่ได้     แกงร้อน  เป็นประโยค<br />\n                    แกงร้อนๆ  กินลวกปาก         แกงร้อน ๆ เป็นวลี<br />\n      ๓. เกิดจากคำมูลที่มีรูป เสียง และความหมายเหมือนกัน   มาซ้ำกันเป็นคำ ๆ  เดียวโดยใช้ไม้ยมกแทน  เช่น  ดำ ๆ  แดง ๆ  เร็ว ๆ  สุก ๆ  ดิบ ๆ  เป็นต้น  คำประสมชนิดนี้  เรียกว่า  คำซ้ำ<br />\n       ๔.  เกิดจากคำมูลที่มีความหมายเหมือนกันนำมาซ้อนกัน  แล้วเกิดความหมายใหม่หรือใกล้เคียงความหมายเดิม    เช่น   ดูแล   ขัดข้อง   ขัดแย้ง  กักขัง   แค้นเคือง  ลึกลับ  อบอ้าว  เป็นต้น  คำประสมชนิดนี้ เรียกว่า  คำซ้อน<br />\n       ๕.  เกิดจากการนำคำมูลหลายคำมารวมกันแล้วมีลักษณะเป็นการย่อคำหลาย ๆคำ  ส่วนใหญ่มักขึ้นต้นด้วย  ชาว  ช่าง  นัก  ผู้  การ  ความ  เช่น ชาวป่า  ย่อมาจาก  คนอยู่ในป่า  เป็นต้น<br />\n       ๖.  เกิดจากการนำคำมูล  ๒  คำที่มีเสียงใกล้เคียงกันและต้องเป็นพยัญชนะต้นตัวเดียว<br />\nกันมาซ้อนเข้าคู่กัน  เช่น     เอะอะ   สรวลเส    ตุปัดตุป่อง  อิโหน่อิเหน่  อิหลักอิเหลื่อ  เป็นต้น  คำประสมชนิดนี้   เรียกว่าคำคู่ หรือคำซ้อนเพื่อเสียง<br />\n       ๗. เกิดจากคำมูลที่มาจากภาษาใดก็ได้  เช่น<br />\n                                   คำไทยแท้      ม้าเร็ว  ลูกน้ำ  ทางด่วน  เรือพ่วง  แม่ครัว<br />\n                                   คำไทยแท้กับคำมาจากภาษาอื่น   การเล่น  ความมัธยัสถ์  ราชวัง  ผลไม้  พลเรือน<br />\n                                  คำมาจากภาษาอื่น    การศึกษา  การแพทย์  ผลผลิต  ยานอวกาศ  พลตรี<br />\n       ๘.  ส่วนมากเกิดจากคำมูลที่มีความหมายหลักหรือที่เรียกว่า    คำตั้ง  อยู่ต้น <br />\n คำมูลที่เป็นคำขยาย  อยู่หลัง\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"475\" src=\"/files/u14318/one.jpg\" height=\"139\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<p>\n       คำประสมบางคำประกอบด้วยคำขยายอยู่หน้าคำตั้ง  คำประสมประเภทนี้ส่วนมากประกอบด้วยคำขยาย  ซึ่งมาจากภาษาบาลีหรือสันสกฤต  ส่วนคำตั้งเป็นคำไทยหรือคำภาษาอื่นที่ไม่ใช่ภาษาบาลีหรือสันสกฤต  เช่น\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"477\" src=\"/files/u14318/two.jpg\" height=\"240\" />\n</div>\n<p>\n        ๙.  คำประสมสามารถทำหน้าที่เป็นคำชนิดต่าง ๆ ได้    เช่น   คำนาม    คำกริยา คำวิเศษณ์  เป็นต้น<br />\n                    คำนาม             เช่น  ปากน้ำ   ขันหมาก   ปากกา   เตารีด<br />\n                    คำสรรพนาม       เช่น  ใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาท   ข้าพระพุทธเจ้า   ใต้เท้า  <br />\n                    คำกริยา            เช่น  พิมพ์ดีด   เรียงพิมพ์   ต่อว่า   ตกใจ<br />\n                    คำวิเศษณ์         เช่น  อ่อนหวาน   ดุเดือด   สวยงาม\n</p>\n<p>\n<strong>หมายเหตุ</strong>  คำบางคำเป็นได้ทั้งคำประสมและกลุ่มคำ  ขึ้นอยู่กับความหมาย  เช่น<br />\n                                ลูกน้อง          หมายถึง    ผู้ใต้บังคับบัญชา       เป็นคำประสม<br />\n                                ลูกน้อง          หมายถึง    ลูกของน้อง               เป็นกลุ่มคำ<br />\n                                แสงอาทิตย์   หมายถึง    งูชนิดหนึ่ง                 เป็นคำประสม<br />\n                                แสงอาทิตย์   หมายถึง    แสงของดวงอาทิตย์   เป็นกลุ่มคำ\n</p>\n<p>\n<strong>วิธีสร้างคำประสม</strong>  คำประสมมีวิธีสร้างคำได้ต่าง ๆ ดังนี้<br />\n๑. คำตั้งเป็นคำนาม<br />\n        ก. คำขยายเป็นนามหรือสรรพนาม  เช่น พ่อบ้าน  แม่ครัว  ชาวบ้าน  ไฟฟ้า  พระคุณท่าน  <br />\n        ข. คำขยายเป็นวิเศษณ์             เช่น มดแดง  ถั่วเขียว  ผู้ดี  บ้านนอก  นางใน<br />\n        ค. คำขยายเป็นกริยา                เช่น สมุดพก   ไม้เท้า  แบบเรียน  ผ้าเช็ดหน้า  แปรงสีฟัน<br />\n๒. คำตั้งเป็นกริยา<br />\n        ก. คำขยายเป็นนาม      เช่น กินใจ  กินตัว  กินลม  เข้าใจ  เข้าเนื้อ  เข้าฝัก  จับใจ  จับตา  จับยาม<br />\n        ข. คำขยายเป็นกริยา     เช่น ท่องจำ  ค้นคว้า  ตื่นเต้น  ปกครอง  ล่วงรู้<br />\n        ค. คำขยายเป็นวิเศษณ์  เช่น งอกงาม  วางโต  อวดดี  เดือดร้อน  ตกต่ำ  เป็นกลาง  กินนอกกินใน<br />\n๓. คำตั้งเป็นวิเศษณ์<br />\n        ก. คำขยายเป็นนาม      เช่น สองใจ  หลายใจ  สองหัว  สามเกลอ  สามง่าม  สามตา  สามขุม<br />\n        ข. คำขยายเป็นวิเศษณ์  เช่น ดำแดง   อ่อนหวาน  เขียวหวาน (แกง ,ส้ม)  สุกดิบ (วัน)<br />\n๔. คำตั้งเป็นบุพบท <br />\n         ก.  คำขยายเป็นนาม   เช่น กลางบ้าน (ยา)  ข้างถนน (เด็ก)   นอกคอก (ลูก)  ในที  ซึ่งหน้า  ต่อหน้า    <br />\n         ข.  คำขยายเป็นกริยา  เช่น  ตามมีตามเกิด \n</p>\n', created = 1719806497, expire = 1719892897, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:43698728c986a2dd28c1a661d7edf17b' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

แบบฝึกทักษะภาษาไทย [คำประสม]

รูปภาพของ kjnkamonrat

            คำประสม

คำประสม คือ คำที่สร้างจากการนำคำมูลตั้งแต่  ๒  คำขึ้นไปมารวมกัน  แล้วเกิดความหมายใหม่  โดยมีเค้าความหมายเดิมอยู่  คำประสมแต่เดิมเกิดจากการประสมของคำไทยแท้  ต่อมาอาจมีคำจากภาษาอื่นปนอยู่บ้าง  ตัวอย่าง  เช่น
                                                  แม่ + น้ำ                เป็น       แม่น้ำ  (หมายถึงทางน้ำใหญ่)
                                                  แสง  + อาทิตย์        เป็น       แสงอาทิตย์  (ชื่องูชนิดหนึ่ง)
ลักษณะคำประสม  มีหลักสังเกต  ดังนี้
     ๑.  เกิดจากคำมูลตั้งแต่  ๒  คำขึ้นไป   เช่น    ดาวเทียม    สะพานลอย    ผ้าห่มนอน  ภูเขาไฟ เป็นต้น
     ๒.  เกิดจากคำมูลที่มีความหมายต่างกัน  เมื่อมาประสมกันแล้วเกิดความหมายใหม่  แต่ยังมีเค้าความหมายเดิมอยู่บ้าง  เช่น 
                    ดาวเทียม  หมายถึง  ยานชนิดหนึ่งโคจรไปในอวกาศได้อย่างดาวแต่ไม่ใช่ดาวจริง ๆ
                    ม้าเร็ว      หมายถึง  คนขี่ม้าซึ่งทำหน้าที่เดินข่าวสืบเหตุการณ์ของข้าศึกแล้วรีบแจ้งแก่กองทัพ
                    ลูกน้ำ      หมายถึง  ลูกของยุงซึ่งอาศัยอยู่ในน้ำ
           คำที่เกิดจากคำมูลที่ยังคงความหมายเดิมไว้ทั้งหมดไม่ใช่คำประสม  อาจเป็นวลีหรือประโยคก็ได้  เช่น
                    แกงร้อนต้องกินกำลังร้อน       แกงร้อน  เป็นคำประสมหมายถึงแกงชนิดหนึ่ง
                    แกงร้อนเกินไปจนกินไม่ได้     แกงร้อน  เป็นประโยค
                    แกงร้อนๆ  กินลวกปาก         แกงร้อน ๆ เป็นวลี
      ๓. เกิดจากคำมูลที่มีรูป เสียง และความหมายเหมือนกัน   มาซ้ำกันเป็นคำ ๆ  เดียวโดยใช้ไม้ยมกแทน  เช่น  ดำ ๆ  แดง ๆ  เร็ว ๆ  สุก ๆ  ดิบ ๆ  เป็นต้น  คำประสมชนิดนี้  เรียกว่า  คำซ้ำ
       ๔.  เกิดจากคำมูลที่มีความหมายเหมือนกันนำมาซ้อนกัน  แล้วเกิดความหมายใหม่หรือใกล้เคียงความหมายเดิม    เช่น   ดูแล   ขัดข้อง   ขัดแย้ง  กักขัง   แค้นเคือง  ลึกลับ  อบอ้าว  เป็นต้น  คำประสมชนิดนี้ เรียกว่า  คำซ้อน
       ๕.  เกิดจากการนำคำมูลหลายคำมารวมกันแล้วมีลักษณะเป็นการย่อคำหลาย ๆคำ  ส่วนใหญ่มักขึ้นต้นด้วย  ชาว  ช่าง  นัก  ผู้  การ  ความ  เช่น ชาวป่า  ย่อมาจาก  คนอยู่ในป่า  เป็นต้น
       ๖.  เกิดจากการนำคำมูล  ๒  คำที่มีเสียงใกล้เคียงกันและต้องเป็นพยัญชนะต้นตัวเดียว
กันมาซ้อนเข้าคู่กัน  เช่น     เอะอะ   สรวลเส    ตุปัดตุป่อง  อิโหน่อิเหน่  อิหลักอิเหลื่อ  เป็นต้น  คำประสมชนิดนี้   เรียกว่าคำคู่ หรือคำซ้อนเพื่อเสียง
       ๗. เกิดจากคำมูลที่มาจากภาษาใดก็ได้  เช่น
                                   คำไทยแท้      ม้าเร็ว  ลูกน้ำ  ทางด่วน  เรือพ่วง  แม่ครัว
                                   คำไทยแท้กับคำมาจากภาษาอื่น   การเล่น  ความมัธยัสถ์  ราชวัง  ผลไม้  พลเรือน
                                  คำมาจากภาษาอื่น    การศึกษา  การแพทย์  ผลผลิต  ยานอวกาศ  พลตรี
       ๘.  ส่วนมากเกิดจากคำมูลที่มีความหมายหลักหรือที่เรียกว่า    คำตั้ง  อยู่ต้น
 คำมูลที่เป็นคำขยาย  อยู่หลัง

       คำประสมบางคำประกอบด้วยคำขยายอยู่หน้าคำตั้ง  คำประสมประเภทนี้ส่วนมากประกอบด้วยคำขยาย  ซึ่งมาจากภาษาบาลีหรือสันสกฤต  ส่วนคำตั้งเป็นคำไทยหรือคำภาษาอื่นที่ไม่ใช่ภาษาบาลีหรือสันสกฤต  เช่น

        ๙.  คำประสมสามารถทำหน้าที่เป็นคำชนิดต่าง ๆ ได้    เช่น   คำนาม    คำกริยา คำวิเศษณ์  เป็นต้น
                    คำนาม             เช่น  ปากน้ำ   ขันหมาก   ปากกา   เตารีด
                    คำสรรพนาม       เช่น  ใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาท   ข้าพระพุทธเจ้า   ใต้เท้า 
                    คำกริยา            เช่น  พิมพ์ดีด   เรียงพิมพ์   ต่อว่า   ตกใจ
                    คำวิเศษณ์         เช่น  อ่อนหวาน   ดุเดือด   สวยงาม

หมายเหตุ  คำบางคำเป็นได้ทั้งคำประสมและกลุ่มคำ  ขึ้นอยู่กับความหมาย  เช่น
                                ลูกน้อง          หมายถึง    ผู้ใต้บังคับบัญชา       เป็นคำประสม
                                ลูกน้อง          หมายถึง    ลูกของน้อง               เป็นกลุ่มคำ
                                แสงอาทิตย์   หมายถึง    งูชนิดหนึ่ง                 เป็นคำประสม
                                แสงอาทิตย์   หมายถึง    แสงของดวงอาทิตย์   เป็นกลุ่มคำ

วิธีสร้างคำประสม  คำประสมมีวิธีสร้างคำได้ต่าง ๆ ดังนี้
๑. คำตั้งเป็นคำนาม
        ก. คำขยายเป็นนามหรือสรรพนาม  เช่น พ่อบ้าน  แม่ครัว  ชาวบ้าน  ไฟฟ้า  พระคุณท่าน 
        ข. คำขยายเป็นวิเศษณ์             เช่น มดแดง  ถั่วเขียว  ผู้ดี  บ้านนอก  นางใน
        ค. คำขยายเป็นกริยา                เช่น สมุดพก   ไม้เท้า  แบบเรียน  ผ้าเช็ดหน้า  แปรงสีฟัน
๒. คำตั้งเป็นกริยา
        ก. คำขยายเป็นนาม      เช่น กินใจ  กินตัว  กินลม  เข้าใจ  เข้าเนื้อ  เข้าฝัก  จับใจ  จับตา  จับยาม
        ข. คำขยายเป็นกริยา     เช่น ท่องจำ  ค้นคว้า  ตื่นเต้น  ปกครอง  ล่วงรู้
        ค. คำขยายเป็นวิเศษณ์  เช่น งอกงาม  วางโต  อวดดี  เดือดร้อน  ตกต่ำ  เป็นกลาง  กินนอกกินใน
๓. คำตั้งเป็นวิเศษณ์
        ก. คำขยายเป็นนาม      เช่น สองใจ  หลายใจ  สองหัว  สามเกลอ  สามง่าม  สามตา  สามขุม
        ข. คำขยายเป็นวิเศษณ์  เช่น ดำแดง   อ่อนหวาน  เขียวหวาน (แกง ,ส้ม)  สุกดิบ (วัน)
๔. คำตั้งเป็นบุพบท 
         ก.  คำขยายเป็นนาม   เช่น กลางบ้าน (ยา)  ข้างถนน (เด็ก)   นอกคอก (ลูก)  ในที  ซึ่งหน้า  ต่อหน้า    
         ข.  คำขยายเป็นกริยา  เช่น  ตามมีตามเกิด 

สร้างโดย: 
นางกมลรัตน์ เซ่งลอยเลื่อน

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 559 คน กำลังออนไลน์