• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:313a2e0ebddc0cfafeddbb93351737f6' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter-->\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><strong> </strong></span></span><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #800000\">ข. บรรยากาศชั้นฮีเทอร์โรสเฟียร์  (Heterosphere) </span> <img border=\"0\" align=\"right\" width=\"80\" src=\"/files/u14292/31671_14934.gif\" alt=\"บรรยากาศชั้นสูงสุด คือ...\" height=\"250\" /></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">     <span style=\"color: #0000ff\">สูงจากผิวโลก (80-400 กิโลเมตร) ลักษณะเด่น คือ ก๊าซที่ปรากฏอยู่ในบรรยากาศชั้นฮีเทอร์โรสเฟียร์ จะไม่รวมตัวเป็นเนื้อเดียวกัน แต่จะซ้อนกันอยู่เป็นชั้นๆ  ตามน้ำหนักของอะตอมหรือโมเลกุลของก๊าซซึ่งจะแบ่งออกเป็น 4 ชั้นด้วยกัน ได้แก่ ล่างสุดจะเป็นการทับถมของ โมเลกุลก๊าซไนโตรเจน ถัดไปจะเป็นอะตอมของออกซิเจน  อะตอมของฮีเลียมและ อะตอมของ โฮโดรเจน ตามลำดับ  บริเวณที่เป็นของโฮโดรเจนบรรยากาศจะเบาบางแต่ก๊าซเหล่านี้จะหมุนจะเคลื่อนที่ไปตามการหมุนรอบตัวเองของโลกและการโคจรของโลกรอบดวงอาทิตย์  </span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><strong>       </strong><span style=\"color: #808000\">1. บรรยากาศชั้นไอโอโนสเฟียร์ (Ionosphere)</span> <strong> </strong><span style=\"color: #0000ff\">บรรยายกาศที่เป็นโฮโดรเจน (35,000 กิโลเมตร )  แนวสูงสุดเรียกว่า ไอโอโนพอส บรรยากาศชั้นไอโอโนสเฟียร์จะมีบรรยากาศเบาบางมาก ทำให้อิเล็กตรอนในอะตอมของก๊าซต่างๆ  ได้รับความกระทบกระเทือนจากรังสีคลื่นสั้นจากดวงอาทิตย์ ทำให้ประจุไฟฟ้าลบในอะตอมของก๊าซหลุดออกจากวงจรและทำให้อะตอมของก๊าซเกิดความไม่สมดุลทางประจุไฟฟ้าเกิดขึ้น เนื่องจากอะตอมของก๊าซมีประจุไฟฟ้าน้อยเกินไป  ก๊าซในบรรยากาศชั้นนี้จึงกลายเป็นสื่อไฟฟ้าอย่างดี  ลักษณะทั่วไปของบรรยากาศชั้นไอโอโนสเฟียร์ จะมีอะตอมของก๊าซซ้อนกันอยู่เป็นชั้นๆ   ชั้นล่างสุดจะเป็นอะตอมของไนโตรเจน  และชั้นบนสุดจะเป็นอะตอมของออกซิเจน อุณหภูมิของอากาศจะสูงขึ้นอย่างรวดเร็วเมื่อความสูงเพิ่มขึ้น สามารถแบ่งออกเป็นชั้นบรรยากาศย่อยๆ ดังนี้</span><span style=\"color: #0000ff\"> </span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><strong>     </strong>  <span style=\"color: #ff99cc\">1)  บรรยากาศชั้นดี ( D-layer) </span><span style=\"color: #0000ff\">เกิดจากรังสีอัลตราไวโอเลตของดวงอาทิตย์ทำให้ก๊าซไนตริกออกไซด์กลายเป็นปะจุไฟฟ้า เป็นชั้นบรรยากาศที่ช่วยสะท้อนระบบวิทยุคลื่นยาวกลับมายังพื้นโลก บรรยากาศชั้นดี จะมีระดับความสูง 67-97 กิโลเมตร ตอนล่างของบรรยากาศชั้นนี้จะอยู่ในชั้นมีโซพอส   </span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><strong>    </strong>  <span style=\"color: #ff99cc\">2)  บรรยากาศชั้นอี (E- layer)</span> <span style=\"color: #0000ff\">เกิดจากรังสีเอกซ์ (x-ray)  จากดวงอาทิตย์ทำให้ก๊าซไนโตรเจนกลายเป็นปะจุไฟฟ้าบรรยากาศชั้นอี จะมีอยู่สูงจากพื้นดินขึ้นไประหว่าง 110-150   กิโลเมตร เป็นชั้นบรรยากาศที่ช่วยสะท้อนระบบวิทยุคลื่นปานกลาง กลับมายังผิวโลก         </span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><strong>    </strong> <span style=\"color: #ff99cc\">3)  บรรยากาศชั้นเอฟ (F- layer)</span> <span style=\"color: #0000ff\">เกิดจากรังสีอัลตราไวโอเลตจากดวงอาทิตย์ทำให้ก๊าซไนโตรเจนในบรรยากาศชั้นไอโอโนสเฟียร์กลายเป็นปะจุไฟฟ้า จะมีอยู่สูงจากพื้นดินขึ้นไประหว่าง 150-300   กิโลเมตร  ประโยชน์ที่สำคัญของบรรยากาศชั้นเอฟคือ ช่วยสะท้อนกลับของระบบวิทยุคลื่นสั้นกลับมายังพื้นโลก <br />\n</span><strong>      </strong><span style=\"color: #808000\"> 2.  บรรยากาศชั้นเอกโซสเฟียร์ (Exosphere) </span><strong> </strong><span style=\"color: #0000ff\">เป็นบรรยากาศหุ้มห่อโลกที่อยู่นอกสุดและจะค่อยๆ กลืนเข้ากลับห้วงอวกาศจนยากที่จะกำหนดขอบเขตแน่นอนได้     นักอุตุนิยมวิทยาได้คำนวณไว้ว่าฐานของบรรยากาศจะอยู่ถัดจากไอโอโนพอสขึ้นไป แต่ขอบเขตสูงสุดของแนวเอกโซสเฟียร์ไม่มีใครกำหนดแน่นอนได้   เพราะบรรยากาศชั้นดังกล่าวเบาบางมากกอปรกับอุณหภูมิสูงจึงทำให้บรรยากาศฟุ้งกระจาย   บรรยากาศชั้นเอกโซสเฟียร์ประกอบด้วยก๊าซฮีเลียมกับก๊าซไฮโดรเจนที่ซ้อนกันอยู่</span><span style=\"color: #0000ff\"> </span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\"><b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"></span></b></span>\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" width=\"178\" src=\"/files/u14292/2009-08-16_101018.jpg\" alt=\"hot hot hot\" height=\"162\" />\n</div>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"></span></span>\n</p>\n', created = 1719826230, expire = 1719912630, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:313a2e0ebddc0cfafeddbb93351737f6' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

บรรยากาศภาค

รูปภาพของ kjnjune

 ข. บรรยากาศชั้นฮีเทอร์โรสเฟียร์  (Heterosphere)  บรรยากาศชั้นสูงสุด คือ...

     สูงจากผิวโลก (80-400 กิโลเมตร) ลักษณะเด่น คือ ก๊าซที่ปรากฏอยู่ในบรรยากาศชั้นฮีเทอร์โรสเฟียร์ จะไม่รวมตัวเป็นเนื้อเดียวกัน แต่จะซ้อนกันอยู่เป็นชั้นๆ  ตามน้ำหนักของอะตอมหรือโมเลกุลของก๊าซซึ่งจะแบ่งออกเป็น 4 ชั้นด้วยกัน ได้แก่ ล่างสุดจะเป็นการทับถมของ โมเลกุลก๊าซไนโตรเจน ถัดไปจะเป็นอะตอมของออกซิเจน  อะตอมของฮีเลียมและ อะตอมของ โฮโดรเจน ตามลำดับ  บริเวณที่เป็นของโฮโดรเจนบรรยากาศจะเบาบางแต่ก๊าซเหล่านี้จะหมุนจะเคลื่อนที่ไปตามการหมุนรอบตัวเองของโลกและการโคจรของโลกรอบดวงอาทิตย์  

       1. บรรยากาศชั้นไอโอโนสเฟียร์ (Ionosphere)  บรรยายกาศที่เป็นโฮโดรเจน (35,000 กิโลเมตร )  แนวสูงสุดเรียกว่า ไอโอโนพอส บรรยากาศชั้นไอโอโนสเฟียร์จะมีบรรยากาศเบาบางมาก ทำให้อิเล็กตรอนในอะตอมของก๊าซต่างๆ  ได้รับความกระทบกระเทือนจากรังสีคลื่นสั้นจากดวงอาทิตย์ ทำให้ประจุไฟฟ้าลบในอะตอมของก๊าซหลุดออกจากวงจรและทำให้อะตอมของก๊าซเกิดความไม่สมดุลทางประจุไฟฟ้าเกิดขึ้น เนื่องจากอะตอมของก๊าซมีประจุไฟฟ้าน้อยเกินไป  ก๊าซในบรรยากาศชั้นนี้จึงกลายเป็นสื่อไฟฟ้าอย่างดี  ลักษณะทั่วไปของบรรยากาศชั้นไอโอโนสเฟียร์ จะมีอะตอมของก๊าซซ้อนกันอยู่เป็นชั้นๆ   ชั้นล่างสุดจะเป็นอะตอมของไนโตรเจน  และชั้นบนสุดจะเป็นอะตอมของออกซิเจน อุณหภูมิของอากาศจะสูงขึ้นอย่างรวดเร็วเมื่อความสูงเพิ่มขึ้น สามารถแบ่งออกเป็นชั้นบรรยากาศย่อยๆ ดังนี้ 

       1)  บรรยากาศชั้นดี ( D-layer) เกิดจากรังสีอัลตราไวโอเลตของดวงอาทิตย์ทำให้ก๊าซไนตริกออกไซด์กลายเป็นปะจุไฟฟ้า เป็นชั้นบรรยากาศที่ช่วยสะท้อนระบบวิทยุคลื่นยาวกลับมายังพื้นโลก บรรยากาศชั้นดี จะมีระดับความสูง 67-97 กิโลเมตร ตอนล่างของบรรยากาศชั้นนี้จะอยู่ในชั้นมีโซพอส   

      2)  บรรยากาศชั้นอี (E- layer) เกิดจากรังสีเอกซ์ (x-ray)  จากดวงอาทิตย์ทำให้ก๊าซไนโตรเจนกลายเป็นปะจุไฟฟ้าบรรยากาศชั้นอี จะมีอยู่สูงจากพื้นดินขึ้นไประหว่าง 110-150   กิโลเมตร เป็นชั้นบรรยากาศที่ช่วยสะท้อนระบบวิทยุคลื่นปานกลาง กลับมายังผิวโลก        

     3)  บรรยากาศชั้นเอฟ (F- layer) เกิดจากรังสีอัลตราไวโอเลตจากดวงอาทิตย์ทำให้ก๊าซไนโตรเจนในบรรยากาศชั้นไอโอโนสเฟียร์กลายเป็นปะจุไฟฟ้า จะมีอยู่สูงจากพื้นดินขึ้นไประหว่าง 150-300   กิโลเมตร  ประโยชน์ที่สำคัญของบรรยากาศชั้นเอฟคือ ช่วยสะท้อนกลับของระบบวิทยุคลื่นสั้นกลับมายังพื้นโลก 
       2.  บรรยากาศชั้นเอกโซสเฟียร์ (Exosphere)  เป็นบรรยากาศหุ้มห่อโลกที่อยู่นอกสุดและจะค่อยๆ กลืนเข้ากลับห้วงอวกาศจนยากที่จะกำหนดขอบเขตแน่นอนได้     นักอุตุนิยมวิทยาได้คำนวณไว้ว่าฐานของบรรยากาศจะอยู่ถัดจากไอโอโนพอสขึ้นไป แต่ขอบเขตสูงสุดของแนวเอกโซสเฟียร์ไม่มีใครกำหนดแน่นอนได้   เพราะบรรยากาศชั้นดังกล่าวเบาบางมากกอปรกับอุณหภูมิสูงจึงทำให้บรรยากาศฟุ้งกระจาย   บรรยากาศชั้นเอกโซสเฟียร์ประกอบด้วยก๊าซฮีเลียมกับก๊าซไฮโดรเจนที่ซ้อนกันอยู่

hot  hot  hot

สร้างโดย: 
kjn

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 508 คน กำลังออนไลน์