• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:d4f391929fdb3a683c757372bd93cd0a' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\">หลักเกณฑ์ในการแบ่งสมัยทางประวัติศาสตร์</span></span></b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"> การศึกษาเรื่องราวในประวัติศาสตร์ไทย สามารถแบ่งช่วงในการศึกษาได้เป็น </span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\">2 <span lang=\"TH\">ช่วง ได้แก่ สมัยก่อนประวัติศาสตร์ และสมัยประวัติศาสตร์ โดยการแบ่งสมัยก่อนประวัติศาสตร์กับสมัย ประวัติศาสตร์ ยึดถือเอาอายุของตัวอักษรที่เก่าแก่ที่สุดเป็นเกณฑ์การแบ่ง สำหรับดินแดนประเทศ ไทยเข้าสู่สมัยประวัติศาสตร์เมื่อพุทธศตวรรษที่ </span>11 <span lang=\"TH\">โดยใช้อายุของตัวอักษรบนจารึกซึ่งพบจาก เมืองโบราณที่ศรีเทพ จังหวัดเพชรบูรณ์ เป็นหลัก โดยแต่ละสมัย นักวิชาการจะใช้หลักฐานในการ ศึกษาแตกต่างกัน ดังนี้ </span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #000000\">1). <span lang=\"TH\">สมัยก่อนประวัติศาสตร์ เป็นสมัยที่มนุษย์ยังไม่มีตัวอักษรสำหรับบันทึกเรื่องราว การศึกษาร่องรอยการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์ในช่วงนี้จึงจำเป็นต้องอาศัยการวิเคราะห์ตีความจาก หลักฐานชั้นต้นที่ได้จากการสำรวจทางโบราณคดี เช่น เครื่องมือเครื่องใช้ที่ทำด้วยหิน โลหะ เครื่อง ประดับ เครื่องปั้นดินเผา โครงกระดูก เมล็ดพืช ภาพเขียนสีตามฝาผนังถ้ำ  </span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\">                                                                                                 <strong>    หินกระเทาะ</strong></span></span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\"><img width=\"217\" src=\"http://img214.imageshack.us/img214/1781/35863623363436093627363aq8.jpg\" height=\"303\" style=\"width: 166px; height: 176px\" /></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #000000\">2). <span lang=\"TH\">สมัยประวัติศาสตร์ เป็นช่วงที่มีตัวอักษรใช้บันทึกเรื่องราวเหตุการณ์ต่างๆ แล้ว การศึกษาประวัติความเป็นมาของชุมชนในสมัยประวัติศาสตร์ จะมีการใช้หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์ อักษร เช่น จารึก จดหมายเหตุ บันทึกการเดินทาง ปูมโหร พงศาวดาร ตำนาน เป็นต้น และ หลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร ไม่ว่าจะเป็นโบราณสถาน เช่น เจดีย์ ปราสาทหิน เมืองโบราณ วัด เป็นต้น และโบราณวัตถุ เช่น พระพุทธรูป เทวรูป เครื่องมือ เครื่องใช้ เครื่องประดับ เงินเหรียญ เป็นต้น มาเป็นข้อมูลสำหรับวิเคราะห์ตีความเพื่อให้ทราบเรื่องราวความเป็นมาในอดีตให้ชัดเจน ยิ่งขึ้น</span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\">2. <span lang=\"TH\">หลักเกณฑ์การแบ่งยุคในสมัยก่อนประวัติศาสตร์</span></span></b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"> การแบ่งยุคในสมัยก่อนประวัติศาสตร์ นักวิชาการมีหลักในการแบ่งยุค ดังนี้ แบบที่หนึ่ง ให้ความสำคัญในเรื่องของเทคโนโลยีการทำเครื่องมือเครื่องใช้ โดยถือว่า เทคโนโลยีมีความสำคัญต่อพัฒนาการของมนุษย์ ซึ่งแบ่งออกเป็น </span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\">2 <span lang=\"TH\">ยุค ประกอบด้วย</span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #000000\">1) <span lang=\"TH\">ยุคหิน แบ่งย่อยออกเป็นยุคหินเก่า ยุคหินกลาง และยุคหินใหม่ มีอายุประมาณ </span>500,000 <span lang=\"TH\">ปี </span>- 6,000 <span lang=\"TH\">ปีล่วงมาแล้ว </span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\"></span>- <span lang=\"TH\">ยุคหินเก่า มนุษย์ดำรงชีวิตด้วยการล่าสัตว์ เก็บหาอาหาร อาศัยอยู่ในถ้ำ ใช้เครื่องมือหินที่ทำแบบหยาบๆ รู้จักเขียนภาพตามผนังถ้ำ </span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\"></span>- <span lang=\"TH\">ยุคหินกลาง มนุษย์ดำรงชีวิตเหมือนยุคหินเก่า รู้จักทำเครื่องมือหินที่ประณีต มากขึ้น รู้จักทำเครื่องปั้นดินเผาที่มีลักษณะผิวเรียบมัน </span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\"></span>- <span lang=\"TH\">ยุคหินใหม่ มนุษย์ยุคนี้ดำรงชีวิตโดยการเพาะปลูก เลี้ยงสัตว์ ตั้งหลักแหล่งถาวร ทำเครื่องมือหินขัด ทำเครื่องปั้นดินเผา ทำเครื่องประดับ </span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #000000\">2) <span lang=\"TH\">ยุคโลหะ ครอบคลุมช่วงเวลาประมาณ </span>4,000 <span lang=\"TH\">ปี </span>- 1,500 <span lang=\"TH\">ปีล่วงมาแล้ว แบ่งย่อย ออกเป็นยุคทองแดง ยุคสำริด และยุคเหล็ก คือ ยึดถือเอาชนิดของโลหะที่มนุษย์นำมาใช้ประโยชน์เป็นเกณฑ์ การแบ่ง </span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\"></span>- <span lang=\"TH\">ยุคสำริด มนุษย์อาศัยอยู่เป็นชุมชนใหญ่ขึ้น ดำรงชีวิตด้วยการเพาะปลูก รู้จัก ปลูกข้าว มีการเลี้ยงสัตว์ เช่น วัว หมู ชีวิตความเป็นอยู่ดีกว่ายุคหินใหม่ รู้จักทำสำริดเป็นเครื่องใช้ เครื่องประดับ </span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\"></span></span></span></p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\"></span>- <span lang=\"TH\">ยุคเหล็ก การดำรงชีวิตเจริญและซับซ้อนกว่ายุคสำริด มีการติดต่อค้าขายกับ อารยธรรมต่างแดน ทำให้ผู้คนมีความเจริญแตกต่างกัน มีการนำเหล็กมาทำเป็นเครื่องมือเครื่องใช้ ซึ่งมีความคงทนกว่าสำริด ใช้งานได้ดีกว่า แบบที่สอง ให้ความสำคัญในเรื่องแบบแผนการดำรงชีวิตของผู้คน ซึ่งแบ่งออกเป็น </span>3 <span lang=\"TH\">ยุค ประกอบด้วย</span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #000000\">2.1) <span lang=\"TH\">ยุคชุมชนล่าสัตว์ หรือเรียกว่า ยุคชุมชนหาของป่า ยุคนี้จะครอบคลุมช่วงเวลา ประมาณ </span>500,000 <span lang=\"TH\">ปี </span>- 6,000 <span lang=\"TH\">ปีล่วงมาแล้ว</span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #000000\">2.2) <span lang=\"TH\">ยุคหมู่บ้านเกษตรกรรม เป็นช่วงที่มนุษย์รู้จักการดำรงชีวิตด้วยการเพาะปลูก เลี้ยง สัตว์ สังคมยุคนี้เกิดขึ้นเมื่อประมาณ </span>6,000 <span lang=\"TH\">ปี </span>- 2,500 <span lang=\"TH\">ปีล่วงมาแล้ว</span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #000000\">2.3) <span lang=\"TH\">ยุคสังคมเมือง เป็นช่วงที่ชุมชนพัฒนาเป็นสังคมเมือง มีลักษณะเป็นเมืองเล็กๆ สังคมแบบนี้จะถือกำเนิดขึ้นตั้งแต่เมื่อ </span>2,500 <span lang=\"TH\">ปีล่วงมาแล้ว</span></span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 5pt 0cm 5pt 36pt; text-indent: -18pt; tab-stops: list 36.0pt\">\n<span style=\"font-size: 10pt\"><span><span style=\"font-family: Times New Roman\"><span style=\"color: #000000\">·<span style=\"font-family: \'Times New Roman\'\">         </span></span></span></span></span><span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">สมัยก่อนประวัติศาสตร</span></b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">์ เป็นสมัยที่มนุษย์ยังไม่มีตัวอักษรสำหรับบันทึกเรื่องราว การศึกษาถึงร่องรอยการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์ในช่วงนี้จำเป็นต้องอาศัยการวิเคราะห์ตีความจากหลักฐานชั้นต้นที่ได้จากการสำรวจทางโบราณคดี เช่น เครื่องมือ เครื่องใช้ที่ทำด้วยหิน โลหะ เครื่องประดับ เครื่องปั้นดินเผา โครงกระดูก เมล็ดพืช ภาพเขียนตามฝาผนังถ้ำ เป็นต้น </span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"></span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 5pt 0cm 5pt 36pt; text-indent: -18pt; tab-stops: list 36.0pt\">\n<span style=\"font-size: 10pt\"><span><span style=\"font-family: Times New Roman\"><span style=\"color: #000000\">·<span style=\"font-family: \'Times New Roman\'\">         </span></span></span></span></span><span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">สมัยประวัติศาสตร</span></b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">์ เป็นช่วงที่มีตัวอักษรใช้บันทึกเรื่องราวเหตุการณ์ต่างๆ แล้ว การศึกษาประวัติความเป็นมาของชุมชนในสมัยประวัติศาสตร์ จะมีการใช้หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์ อักษร เช่น จารึก จดหมายเหตุ บันทึกการเดินทาง ปูมโหร พงศาวดาร ตำนาน เป็นต้น และ หลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร ไม่ว่าจะเป็นโบราณสถาน เช่น เจดีย์ ปราสาทหิน เมืองโบราณ วัด เป็นต้น และโบราณวัตถุ เช่น พระพุทธรูป เทวรูป เครื่องมือ เครื่องใช้ เครื่องประดับ เงินเหรียญ เป็นต้น มาเป็นข้อมูลสำหรับวิเคราะห์ตีความเพื่อให้ทราบเรื่องราวความเป็นมาในอดีตให้ชัดเจน ยิ่งขึ้น</span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"></span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 5pt 0cm\">\n<span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\">1.2 <span lang=\"TH\">หลักเกณฑ์การแบ่งยุคในสมัยก่อนประวัติศาสตร</span></span></b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">์ </span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"></span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 5pt 0cm\">\n<span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span style=\"color: #000000\">         <span lang=\"TH\">การแบ่งยุคในสมัยก่อนประวัติศาสตร์ นักวิชาการมีหลักในการแบ่งยุค ดังนี้ </span></span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 5pt 0cm\">\n<span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">แบบที่หนึ่ง</span></b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"> ให้ความสำคัญในเรื่องของเทคโนโลยีการทำเครื่องมือเครื่องใช้ โดยถือว่า เทคโนโลยีมีความสำคัญต่อพัฒนาการของมนุษย์ ซึ่งแบ่งออกเป็น </span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\">3 <span lang=\"TH\">ยุค ประกอบด้วย</span></span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 5pt 0cm 5pt 36pt; text-indent: -18pt; tab-stops: list 36.0pt\">\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span>1.<span style=\"font-family: \'Times New Roman\'\">       </span></span></span><b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ยุคหิน</span></b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"> ซึ่งจำแนกออกเป็นยุคหินเก่า หินกลาง หินใหม่ มีอายุประมาณ </span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\">500,000 - 4,000 <span lang=\"TH\">ปีล่วงมาแล้ว </span></span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 5pt 0cm 5pt 36pt; text-indent: -18pt; tab-stops: list 36.0pt\">\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span>2.<span style=\"font-family: \'Times New Roman\'\">       </span></span></span><b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ยุคสำริด</span></b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"> มีอายุประมาณ </span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\">4,000 - 2500 <span lang=\"TH\">ปีล่วงมาแล้ว </span></span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 5pt 0cm 5pt 36pt; text-indent: -18pt; tab-stops: list 36.0pt\">\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span>3.<span style=\"font-family: \'Times New Roman\'\">       </span></span></span><b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ยุคเหล็ก</span></b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"> มีอายุระหว่าง </span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\">2,500 - 1,500 <span lang=\"TH\">ปีล่วงมาแล้ว </span></span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 5pt 0cm\">\n<span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">แบบที่สอง</span></b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"> ให้ความสำคัญเรื่องแบบแผนการดำรงชีวิตของผู้คน แบ่งออกได้ </span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\">3 <span lang=\"TH\">ยุค ดังนี้</span></span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 5pt 0cm 5pt 36pt; text-indent: -18pt; tab-stops: list 36.0pt\">\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span>1.<span style=\"font-family: \'Times New Roman\'\">       </span></span></span><b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ยุคชุมชนล่าสัตว์ </span></b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">หรือเรียกว่า ยุคชุมชนหาของป่า ยุคนี้จะครอบคลุมช่วงเวลา ประมาณ </span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\">500,000 <span lang=\"TH\">ปี </span>- 6,000 <span lang=\"TH\">ปีล่วงมาแล้ว </span></span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 5pt 0cm 5pt 36pt; text-indent: -18pt; tab-stops: list 36.0pt\">\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span>2.<span style=\"font-family: \'Times New Roman\'\">       </span></span></span><b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ยุคหมู่บ้านเกษตรกรรม</span></b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"> เป็นช่วงที่มนุษย์รู้จักการดำรงชีวิตด้วยการเพาะปลูก เลี้ยงสัตว์ สังคมยุคนี้เกิดขึ้นเมื่อประมาณ </span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\">6,000 <span lang=\"TH\">ปี </span>- 2,500 <span lang=\"TH\">ปีล่วงมาแล้ว </span></span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 5pt 0cm 5pt 36pt; text-indent: -18pt; tab-stops: list 36.0pt\">\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\"><span>3.<span style=\"font-family: \'Times New Roman\'\">       </span></span></span><b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ยุคสังคมเมือง</span></b><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"> เป็นช่วงที่ชุมชนพัฒนาเป็นสังคมเมือง มีลักษณะเป็นเมืองเล็กๆ สังคมแบบนี้จะถือกำเนิดขึ้นตั้งแต่เมื่อ </span><span style=\"font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\'\">2,500 <span lang=\"TH\">ปีล่วงมาแล้ว</span></span></span>\n</p>\n<p style=\"margin: 5pt 0cm 5pt 36pt; text-indent: -18pt; tab-stops: list 36.0pt\">\n<strong>จัดทำโดย  น.ส.สุภาวดี  ตันติกำธน  ม.4/3  เลขที่ 13</strong>\n</p>\n<p style=\"margin: 5pt 0cm 5pt 36pt; text-indent: -18pt; tab-stops: list 36.0pt\">\n<strong>อ้างอิง  <a href=\"http://gto38saebaryo62.spaces.live.com/blog/cns!DAEC34827FE3073D!438.entry\">http://gto38saebaryo62.spaces.live.com/blog/cns!DAEC34827FE3073D!438.entry</a></strong>\n</p>\n<p></p>\n', created = 1719378587, expire = 1719464987, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:d4f391929fdb3a683c757372bd93cd0a' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

หลักเกณฑ์การแบ่งสมัยทางประวัติศาสตร์

รูปภาพของ sila15834

หลักเกณฑ์ในการแบ่งสมัยทางประวัติศาสตร์ การศึกษาเรื่องราวในประวัติศาสตร์ไทย สามารถแบ่งช่วงในการศึกษาได้เป็น 2 ช่วง ได้แก่ สมัยก่อนประวัติศาสตร์ และสมัยประวัติศาสตร์ โดยการแบ่งสมัยก่อนประวัติศาสตร์กับสมัย ประวัติศาสตร์ ยึดถือเอาอายุของตัวอักษรที่เก่าแก่ที่สุดเป็นเกณฑ์การแบ่ง สำหรับดินแดนประเทศ ไทยเข้าสู่สมัยประวัติศาสตร์เมื่อพุทธศตวรรษที่ 11 โดยใช้อายุของตัวอักษรบนจารึกซึ่งพบจาก เมืองโบราณที่ศรีเทพ จังหวัดเพชรบูรณ์ เป็นหลัก โดยแต่ละสมัย นักวิชาการจะใช้หลักฐานในการ ศึกษาแตกต่างกัน ดังนี้

1). สมัยก่อนประวัติศาสตร์ เป็นสมัยที่มนุษย์ยังไม่มีตัวอักษรสำหรับบันทึกเรื่องราว การศึกษาร่องรอยการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์ในช่วงนี้จึงจำเป็นต้องอาศัยการวิเคราะห์ตีความจาก หลักฐานชั้นต้นที่ได้จากการสำรวจทางโบราณคดี เช่น เครื่องมือเครื่องใช้ที่ทำด้วยหิน โลหะ เครื่อง ประดับ เครื่องปั้นดินเผา โครงกระดูก เมล็ดพืช ภาพเขียนสีตามฝาผนังถ้ำ 

                                                                                                     หินกระเทาะ

2). สมัยประวัติศาสตร์ เป็นช่วงที่มีตัวอักษรใช้บันทึกเรื่องราวเหตุการณ์ต่างๆ แล้ว การศึกษาประวัติความเป็นมาของชุมชนในสมัยประวัติศาสตร์ จะมีการใช้หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์ อักษร เช่น จารึก จดหมายเหตุ บันทึกการเดินทาง ปูมโหร พงศาวดาร ตำนาน เป็นต้น และ หลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร ไม่ว่าจะเป็นโบราณสถาน เช่น เจดีย์ ปราสาทหิน เมืองโบราณ วัด เป็นต้น และโบราณวัตถุ เช่น พระพุทธรูป เทวรูป เครื่องมือ เครื่องใช้ เครื่องประดับ เงินเหรียญ เป็นต้น มาเป็นข้อมูลสำหรับวิเคราะห์ตีความเพื่อให้ทราบเรื่องราวความเป็นมาในอดีตให้ชัดเจน ยิ่งขึ้น

2. หลักเกณฑ์การแบ่งยุคในสมัยก่อนประวัติศาสตร์ การแบ่งยุคในสมัยก่อนประวัติศาสตร์ นักวิชาการมีหลักในการแบ่งยุค ดังนี้ แบบที่หนึ่ง ให้ความสำคัญในเรื่องของเทคโนโลยีการทำเครื่องมือเครื่องใช้ โดยถือว่า เทคโนโลยีมีความสำคัญต่อพัฒนาการของมนุษย์ ซึ่งแบ่งออกเป็น 2 ยุค ประกอบด้วย

1) ยุคหิน แบ่งย่อยออกเป็นยุคหินเก่า ยุคหินกลาง และยุคหินใหม่ มีอายุประมาณ 500,000 ปี - 6,000 ปีล่วงมาแล้ว

- ยุคหินเก่า มนุษย์ดำรงชีวิตด้วยการล่าสัตว์ เก็บหาอาหาร อาศัยอยู่ในถ้ำ ใช้เครื่องมือหินที่ทำแบบหยาบๆ รู้จักเขียนภาพตามผนังถ้ำ

- ยุคหินกลาง มนุษย์ดำรงชีวิตเหมือนยุคหินเก่า รู้จักทำเครื่องมือหินที่ประณีต มากขึ้น รู้จักทำเครื่องปั้นดินเผาที่มีลักษณะผิวเรียบมัน

- ยุคหินใหม่ มนุษย์ยุคนี้ดำรงชีวิตโดยการเพาะปลูก เลี้ยงสัตว์ ตั้งหลักแหล่งถาวร ทำเครื่องมือหินขัด ทำเครื่องปั้นดินเผา ทำเครื่องประดับ

2) ยุคโลหะ ครอบคลุมช่วงเวลาประมาณ 4,000 ปี - 1,500 ปีล่วงมาแล้ว แบ่งย่อย ออกเป็นยุคทองแดง ยุคสำริด และยุคเหล็ก คือ ยึดถือเอาชนิดของโลหะที่มนุษย์นำมาใช้ประโยชน์เป็นเกณฑ์ การแบ่ง

- ยุคสำริด มนุษย์อาศัยอยู่เป็นชุมชนใหญ่ขึ้น ดำรงชีวิตด้วยการเพาะปลูก รู้จัก ปลูกข้าว มีการเลี้ยงสัตว์ เช่น วัว หมู ชีวิตความเป็นอยู่ดีกว่ายุคหินใหม่ รู้จักทำสำริดเป็นเครื่องใช้ เครื่องประดับ

- ยุคเหล็ก การดำรงชีวิตเจริญและซับซ้อนกว่ายุคสำริด มีการติดต่อค้าขายกับ อารยธรรมต่างแดน ทำให้ผู้คนมีความเจริญแตกต่างกัน มีการนำเหล็กมาทำเป็นเครื่องมือเครื่องใช้ ซึ่งมีความคงทนกว่าสำริด ใช้งานได้ดีกว่า แบบที่สอง ให้ความสำคัญในเรื่องแบบแผนการดำรงชีวิตของผู้คน ซึ่งแบ่งออกเป็น 3 ยุค ประกอบด้วย

2.1) ยุคชุมชนล่าสัตว์ หรือเรียกว่า ยุคชุมชนหาของป่า ยุคนี้จะครอบคลุมช่วงเวลา ประมาณ 500,000 ปี - 6,000 ปีล่วงมาแล้ว

2.2) ยุคหมู่บ้านเกษตรกรรม เป็นช่วงที่มนุษย์รู้จักการดำรงชีวิตด้วยการเพาะปลูก เลี้ยง สัตว์ สังคมยุคนี้เกิดขึ้นเมื่อประมาณ 6,000 ปี - 2,500 ปีล่วงมาแล้ว

2.3) ยุคสังคมเมือง เป็นช่วงที่ชุมชนพัฒนาเป็นสังคมเมือง มีลักษณะเป็นเมืองเล็กๆ สังคมแบบนี้จะถือกำเนิดขึ้นตั้งแต่เมื่อ 2,500 ปีล่วงมาแล้ว

·         สมัยก่อนประวัติศาสตร์ เป็นสมัยที่มนุษย์ยังไม่มีตัวอักษรสำหรับบันทึกเรื่องราว การศึกษาถึงร่องรอยการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์ในช่วงนี้จำเป็นต้องอาศัยการวิเคราะห์ตีความจากหลักฐานชั้นต้นที่ได้จากการสำรวจทางโบราณคดี เช่น เครื่องมือ เครื่องใช้ที่ทำด้วยหิน โลหะ เครื่องประดับ เครื่องปั้นดินเผา โครงกระดูก เมล็ดพืช ภาพเขียนตามฝาผนังถ้ำ เป็นต้น

·         สมัยประวัติศาสตร์ เป็นช่วงที่มีตัวอักษรใช้บันทึกเรื่องราวเหตุการณ์ต่างๆ แล้ว การศึกษาประวัติความเป็นมาของชุมชนในสมัยประวัติศาสตร์ จะมีการใช้หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์ อักษร เช่น จารึก จดหมายเหตุ บันทึกการเดินทาง ปูมโหร พงศาวดาร ตำนาน เป็นต้น และ หลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร ไม่ว่าจะเป็นโบราณสถาน เช่น เจดีย์ ปราสาทหิน เมืองโบราณ วัด เป็นต้น และโบราณวัตถุ เช่น พระพุทธรูป เทวรูป เครื่องมือ เครื่องใช้ เครื่องประดับ เงินเหรียญ เป็นต้น มาเป็นข้อมูลสำหรับวิเคราะห์ตีความเพื่อให้ทราบเรื่องราวความเป็นมาในอดีตให้ชัดเจน ยิ่งขึ้น

1.2 หลักเกณฑ์การแบ่งยุคในสมัยก่อนประวัติศาสตร

         การแบ่งยุคในสมัยก่อนประวัติศาสตร์ นักวิชาการมีหลักในการแบ่งยุค ดังนี้

แบบที่หนึ่ง ให้ความสำคัญในเรื่องของเทคโนโลยีการทำเครื่องมือเครื่องใช้ โดยถือว่า เทคโนโลยีมีความสำคัญต่อพัฒนาการของมนุษย์ ซึ่งแบ่งออกเป็น 3 ยุค ประกอบด้วย

1.       ยุคหิน ซึ่งจำแนกออกเป็นยุคหินเก่า หินกลาง หินใหม่ มีอายุประมาณ 500,000 - 4,000 ปีล่วงมาแล้ว

2.       ยุคสำริด มีอายุประมาณ 4,000 - 2500 ปีล่วงมาแล้ว

3.       ยุคเหล็ก มีอายุระหว่าง 2,500 - 1,500 ปีล่วงมาแล้ว

แบบที่สอง ให้ความสำคัญเรื่องแบบแผนการดำรงชีวิตของผู้คน แบ่งออกได้ 3 ยุค ดังนี้

1.       ยุคชุมชนล่าสัตว์ หรือเรียกว่า ยุคชุมชนหาของป่า ยุคนี้จะครอบคลุมช่วงเวลา ประมาณ 500,000 ปี - 6,000 ปีล่วงมาแล้ว

2.       ยุคหมู่บ้านเกษตรกรรม เป็นช่วงที่มนุษย์รู้จักการดำรงชีวิตด้วยการเพาะปลูก เลี้ยงสัตว์ สังคมยุคนี้เกิดขึ้นเมื่อประมาณ 6,000 ปี - 2,500 ปีล่วงมาแล้ว

3.       ยุคสังคมเมือง เป็นช่วงที่ชุมชนพัฒนาเป็นสังคมเมือง มีลักษณะเป็นเมืองเล็กๆ สังคมแบบนี้จะถือกำเนิดขึ้นตั้งแต่เมื่อ 2,500 ปีล่วงมาแล้ว

จัดทำโดย  น.ส.สุภาวดี  ตันติกำธน  ม.4/3  เลขที่ 13

อ้างอิง  http://gto38saebaryo62.spaces.live.com/blog/cns!DAEC34827FE3073D!438.entry

รูปภาพของ silavacharee

Kiss

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 437 คน กำลังออนไลน์