• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:7ddd98bee225b9f221d45a0b0e5ea428' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n           ความเป็นมาของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ในโลกปัจจุบัน พัฒนาการสุดยอดแห่งยุค สารสนเทศ แทบไม่มีใครไม่รู้จัก สิ่งที่ทำให้โลก ไร้พรมแดน เส้นแบ่งเขตประเทศ หรือโซนเวลา คอมพิวเตอร์ ทุกคน ทุกบ้านเรือน เป็นส่วนหนึ่งของอภิมหาเน็ทเวิร์ค ยามเมื่อต่อเข้าบริการอินเทอร์เน็ตแล้ว ก็เปรียบเสมือน เพื่อนข้างโต๊ะทำงาน ติดต่อสื่อสารได้รวดเร็วทันใจ  ชั่วพริบตา  ทั้งส่งจดหมาย พูดคุย  ฟังเสียง  ดูภาพเคลื่อนไหว เป็นต้น เรื่องราวที่เกี่ยวพัน กับอภิมหาเน็ทเวิร์คระดับโลก หรืออินเทอร์เน็ต มีแง่มุมที่น่าสนใจ มากมายหลายด้าน และพัฒนาสิ่งใหม่เป็นรายวัน เพื่อให้เครือข่ายยักษ์นี้ ยืนอายุยาวนานตลอดกาล ความเร็วที่เพิ่มมากขึ้น แทบไร้การรอคอย ข้อมูลส่งได้มหาศาลขึ้น และจะเข้ามาเป็น ส่วนหนึ่งของ ชีวิตประจำวันอย่างแน่นอน คล้ายกับ ทีวี ตู้เย็น ฯลฯ เราจะทยอย คัดมานำเสนอเพิ่มขึ้น ทุกๆ เดือน เชิญติดตามอ่านได้เป็นประจำ ที่นี่ อินเทอร์เน็ต (Internet) มาจากคำว่า Inter Connection Network ซึ่งก็คือ ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ชนิดหนึ่ง ที่มีขนาดใหญ่ครอบคลุมทั้งโลก มีคอมพิวเตอร์นับสิบล้านเครื่อง ต่อโยงถึงกัน เสมือนใยแมงมุม โดยใช้ โปรโตคอล (Protocol) หรือ มาตรฐานในการรับส่งข้อมูล ภาพ เสียง ที่มีชื่อว่า ทีซีพี/ไอพี (TCP/IP : Transmission Control Protocol / Internet Protocol) ซึ่งสามารถเลือก เส้นทางในการติดต่อ ได้หลายๆ เส้นทาง หรือจะเรียกได้ว่า เป็นการสื่อสารแบบไร้มิติ ไซเบอร์เสปซ (CyberSpace)\n</p>\n<p>\nระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ( Computer Network ) หมายถึง การเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ตั้งแต่ 2 เครื่องขึ้นไปเข้าด้วยกันด้วยสายเคเบิล หรือสื่ออื่นๆ ทำให้คอมพิวเตอร์สามารถรับส่งข้อมูลแก่กันและกันได้ ในกรณีที่เป็นการเชื่อมต่อระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์หลายๆ เครื่องเข้ากับเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่เป็นศูนย์กลาง เราเรียกคอมพิวเตอร์ที่เป็นศูนย์กลางนี้ว่า โฮสต์ (Host) และเรียกคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กที่เข้ามาเชื่อมต่อว่า ไคลเอนต์ (Client)\n</p>\n<p>\nระบบเครือข่าย (Network) จะเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เข้าด้วยกันเพื่อการติดต่อสื่อสาร   เราสามารถส่งข้อมูลภายในอาคาร หรือข้ามระหว่างเมืองไปจนถึงอีกซีกหนึ่งของโลก   ซึ่งข้อมูลต่างๆ อาจเป็นทั้งข้อความ รูปภาพ เสียง ก่อให้เกิดความสะดวก รวดเร็วแก่ผู้ใช้   ซึ่งความสามารถเหล่านี้ทำให้เครือข่ายคอมพิวเตอร์มีความสำคัญ และจำเป็นต่อการใช้งานในแวดวงต่างๆ\n</p>\n<p>\n<img border=\"0\" width=\"394\" src=\"http://st.mengrai.ac.th/users/paisan/e-learning/internet/int1.gif\" height=\"277\" style=\"width: 283px; height: 169px\" />   \n</p>\n<p>\nอ้างอิงจาก  <a href=\"http://st.mengrai.ac.th/users/paisan/e-learning/internet/int1.gif\">http://st.mengrai.ac.th/users/paisan/e-learning/internet/int1.gif</a>\n</p>\n<p>\n        เครือข่ายคอมพิวเตอร์ หรือ คอมพิวเตอร์เน็ตเวิร์ก (computer network) คือ ระบบการสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์จำนวนตั้งแต่สองเครื่องขึ้นไป\n</p>\n<p>\nการที่ระบบเครือข่ายมีบทบาทสำคัญมากขึ้นในปัจจุบัน เพราะมีการใช้งานคอมพิวเตอร์อย่างแพร่หลาย จึงเกิดความต้องการที่จะเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เหล่านั้นถึงกัน เพื่อเพิ่มความสามารถของระบบให้สูงขึ้น และลดต้นทุนของระบบโดยรวมลง\n</p>\n<p>\nการโอนย้ายข้อมูลระหว่างกันในเครือข่าย ทำให้ระบบมีขีดความสามารถเพิ่มมากขึ้น การแบ่งการใช้ทรัพยากร เช่น หน่วยประมวลผล, หน่วยความจำ, หน่วยจัดเก็บข้อมูล, โปรแกรมคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่มีราคาแพงและไม่สามารถจัดหามาให้ทุกคนได้ เช่น เครื่องพิมพ์ เครื่องกราดภาพ (scanner) ทำให้ลดต้นทุนของระบบลงได้\n</p>\n<p><!--pagebreak--><!--pagebreak--></p><p>ชนิดของเครือข่าย เครือข่าย เป็นการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ตั้งแต่ 2 เครื่องขึ้นไปเข้าด้วยกัน เพื่อสะดวกต่อการร่วมใช้ข้อมูล, โปรแกรม หรือเครื่องพิมพ์ และยังสามารถอำนวยความสะดวกในการติดต่อแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างเครื่องได้ตลอดเวลา ระบบเครือข่ายจะถูกแบ่งออกตามขนาดของเครือข่าย ซึ่งปัจจุบันเครือข่ายที่รู้จักกันดีมีอยู่ 3 แบบ ได้แก่\n</p>\n<p>\nเครือข่ายภายใน หรือ แลน (Local Area Network: LAN) เป็นเครือข่ายที่ใช้ในการ เชื่อมโยงกันในพื้นที่ใกล้เคียงกัน เช่นอยู่ในห้อง หรือภายในอาคารเดียวกัน เครือข่ายวงกว้าง หรือ แวน (Wide Area Network: WAN) เป็นเครือข่ายที่ใช้ในการ เชื่อมโยงกัน ในระยะทางที่ห่างไกล อาจจะเป็น กิโลเมตร หรือ หลาย ๆ กิโลเมตร เครือข่ายงานบริเวณนครหลวง หรือ แมน (Metropolitan area network : MAN) และยังมีอีกสองเครือข่ายที่ยังมีเพิ่มเติมอีกคือ\n</p>\n<p>\nเครือข่ายของการติดต่อระหว่างไมโครคอนโทรลเลอร์ หรือ แคน (Controller area network) : CAN) เป็นเครือข่ายที่ใช้ติดต่อกันระหว่างไมโครคอนโทรลเลอร์ (Micro Controller unit: MCU) <br />\nเครือข่ายส่วนบุคคล หรือ แพน (Personal area network) : PAN) เป็นเครือข่ายไร้สาย\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<img border=\"0\" width=\"250\" src=\"http://st.mengrai.ac.th/users/paisan/e-learning/internet/networkbus.jpg\" height=\"172\" />\n</p>\n<p>\nอ้างอิงจาก <a href=\"http://st.mengrai.ac.th/users/paisan/e-learning/internet/networkbus.jpg\">http://st.mengrai.ac.th/users/paisan/e-learning/internet/networkbus.jpg</a>\n</p>\n<p>\nจุดปลายทางของการรับ-ส่งข้อมูล เราเรียกว่าโหนด (Node) ซึ่งโหนดนี้อาจเป็น คอมพิวเตอร์ เครื่องพิมพ์ ATM หรือเครื่องรับโทรศัพท์ ซึ่งแล้วแต่วัตถุประสงค์ของการใช้งาน ซึ่งการที่จะทำให้แต่ละโหนด ติดต่อรับ-ส่งข้อมูลถึงกันได้นั้น ต้องมีการเชื่อมต่อที่เป็นระบบ ในรบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์นี้ เราสามารถแบ่งลักษณะของการเชื่อมโยงออกเป็น 3 ลักษณะ คือ 1. เครือข่ายแบบดาว (Star Network) เครือข่ายแบบนี้จะมีคอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์หลักที่เป็นโฮสต์ (Host) ต่อสายสื่อสารกับคอมพิวเตอร์ย่อยที่เป็นไคลเอนต์ (Client) คอมพิวเตอร์ที่เป็นไคลเอนต์แต่ละเครื่องไม่สามารถติดต่อกันได้โดยตรง การติอต่อจะต้องผ่านคอมพิวเตอร์โฮสต์ที่เป็นศูนย์กลาง\n</p>\n<p>\n2. เครือข่ายแบบวงแหวน (Ring Network) เครือข่ายแบบนี้จะมีการติดต่อสื่อสารเป็นแบบวงแหวนโดยที่ไม่มีคอมพิวเตอร์หลัก คอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องในเครือข่ายสามารถติดต่อกันได้โดยตรง3. เครือข่ายแบบบัส (Bus Network) เครือข่ายแบบนี้จะมีการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์บนสายเคเบิล ซึ่งเรียกว่าบัส คอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งๆ สามารถส่งถ่ายข้อมูลได้เป็นอิสระ โดยข้อมูลจะวิ่งผ่านอุปกรณ์ต่างๆ บนสายเคเบิลจนกว่าจะถึงจุดที่ระบุไว้ (Address\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p><!--pagebreak--><!--pagebreak--></p><p>ประเภทของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ\n</p>\n<p>\n1. เครือข่ายท้องถิ่น (Local Area Network หรือ LAN)\n</p>\n<p>\nเป็นเครือข่ายระยะใกล้ ใช้กันอยู่ในบริเวณไม่กว้างนัก อาจอยู่ในองค์กรเดียวกัน หรืออาคารที่ใกล้กัน เช่น ภาพในสำนักงาน ภายในโรงเรียนหรือมหาวิทยาลัย   ระบบเครือข่ายท้องถิ่นจะช่วยให้ติดต่อกันได้สะดวก ช่วยลดต้นทุน และเพิ่มประสิทธิภาพในการใช้งานอุปกรณ์ต่างๆ\n</p>\n<p>\nระบบเครือข่ายคืออะไร ระบบเครือข่าย หรือเน็ตเวิร์ก (Network) คืออะไร? หากตอบอย่างง่ายๆ ก็คือว่า ระบบที่มีคอมพิวเตอร์ ตั้งแต่ 2 เครื่องขึ้นไป เชื่อมต่อกันอยู่ แต่หากจะหาคำตอบ ที่เป็นวิชาการมากขึ้นไปอีก ก็จะได้คำตอบว่า จุดหรือโหนด (Node) ที่มีการเชื่อมต่อกัน ด้วยเส้นทาง การสื่อสาร อย่างใดอย่างหนึ่ง และระบบเครือข่ายใดๆ สามารถที่จะมี ระบบเครือข่ายย่อยๆ ซ้อนอยู่ในตัวมันได้ ระบบเครือข่ายระยะไกล หรือ Wide Area Network เป็นระบบเครือข่ายที่ติดตั้งใช้งานอยู่ในบริเวณกว้าง โดยมีการส่งข้อมู ในลักษณะเป็นแพ็คเก็ต (Packet) ซึ่งต้องเดินทางจากเครื่องคอมพิวเตอร์ต้นทางไปสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ปลายทาง แพ็กเก็ตนี้ถูกส่ง จากเครื่องคอมพิวเตอร์หนึ่งไปยังเครื่องคอมพิวเตอร์อีกเครื่องหนึ่ง โดยมีสายสื่อสารหรืออุปกรณ์สื่อสารอื่นในการเชื่อมต่อถึงกัน ในลักษณะเป็นลูกโซ่ หรือเป็นทอดๆอาศัยเครื่องคอมพิวเตอร์ที่อยู่ระหว่างทางแต่ละตัวจะรับข้อความนั้นเก็บจำเอาไว้ และส่งต่อ ให้เครื่องคอมพิวเตอร์ถัดไปในเส้นทางที่สะดวก รูปแบบของเครือข่ายที่แตกต่างกันไปตามลักษณะของอัลกอริทึมสำหรับการคำนวณ ในการส่งแพ็คเก็ต โดยแบ่งออกได้เป็นสองประเภทใหญ่ๆคือ แบบดาตาแกรม (Datagram) และแบบเวอร์ชวลเซอร์กิต (Virtual Circuit) หรือแบบวงจรเสมือน ระบบดาตาแกรมพิจารณาแต่ละแพ็คเก็ตแยกออกจากกัน แพ็คเก็ตต่างๆของข้อความเดียวกันอาจถูกส่ง ไปในเส้นทางที่ต่างกันได้ขึ้นอยู่กับปริมาณข่าวสารในเครือข่ายในแต่ละขณะเวลาที่ผ่านไป และรวมถึงการเปลี่ยนแปลงลักษณะ ของเครือข่ายเนื่องจากเครื่องคอมพิวเตอร์บางตัว”เสีย”(คือไม่อาจร่วมในการส่งผ่านข่าวสารในเครือข่ายได้) ดังนั้นการจัดเส้นทาง จึงทำอยู่ตลอดเวลาเพื่อปรับให้เข้ากับสภาวะเครือข่าย ข้อเสียของระบบเช่นนี้คือ แพ็คเก็ตอาจไปถึงจุดหมายโดยไม่ได้เรียงลำดับ (Out of Order) จึงต้องถูกจัดเรียงใหม่ก่อนที่จะส่งต่อให้ผู้รับปลายทาง เครือข่ายที่ใช้ระบบนี้รู้จักกันดีคือ อาร์พาเน็ต(ARPARNET) ย่อมาจาก (Advanced Research Projects Agency Network) ของสหรัฐอเมริกา ซึ่งเป็นจุดกำเนิดแม่แบบเครือข่ายสากล\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<img border=\"0\" width=\"229\" src=\"http://st.mengrai.ac.th/users/paisan/e-learning/internet/pic16.gif\" height=\"188\" /> \n</p>\n<p>\n อ้างอิงจาก <a href=\"http://st.mengrai.ac.th/users/paisan/e-learning/internet/pic16.gif\">http://st.mengrai.ac.th/users/paisan/e-learning/internet/pic16.gif</a>\n</p>\n<p>\n2. เครือข่ายระดับเมือง (Metropolitan Area Network หรือ MAN)\n</p>\n<p>\nเป็นเครือข่ายขนาดกลาง ใช้ภายในเมือง หรือจังหวัดที่ใกล้เคียงกัน เช่น ระบบเคเบิลทีวีที่มีสมาชิกตามบ้านทั่วไปที่เราดูกันอยู่ทุกวันก็จัดเป็นระบบเครือข่ายแบบ MAN\n</p>\n<p>\nเปรียบเทียบข้อดีข้อด้อยของแต่ละแบ เครือข่ายท้องถิ่นเป็นการติดต่อกันภายในระยะใกล้ ไชได้ไม่ไกลนัก แต่จะมีต้นทุนต่ำเมื่อเทียบกับเครือข่ายระดับประเทศที่สมารถติดต่อกันได้ไกลมาก\n</p>\n<p>\n- ช่องทางการสื่อสารข้อมูลระบบใดที่ใช้กับเครือข่ายระยะไกล ระบบดาวเทียม (Satellite Systems) ระบบดาวเทียมจะคล้ายกับระบบไมโครเวฟในส่วนของการใช้หลักการยิงสัญญาณจากแต่ละสถานี ต่อกันไปยังจุดหมายที่ต้องการ แต่ในที่นี้จะใช้ดาวเทียมที่ลอยอยู่เหนือพื้นโลก 36000 กม. เป็นสถานีในการยิงสัญญาณไปยังจุดหมายที่ต้องการ ซึ่งจากการที่ดาวเทียมลอยอยู่สูงมากนี่เองทำให้สามารถใช้ดาวเทียมซึ่งลอยอยู่ในพิกัดที่แน่นอนเพียง 3 ดวง ก็ส่งสัญญาณครอบคลุมไปยังทุกจุดในโลกได้ โดยสถานีต้นทางจะส่งสัญญาณขึ้นไปยังดาวเทียมที่ลอยอยู่เหนือพื้นที่ของตนเอง เรียกว่า สัญญาณเชื่อมต่อขาขึ้น (Up-link) และดาวเทียมจะทำการตรวจสอบตำแหน่งของสถานีปลายหางหากอยู่ในขอบเขตพื้นที่ที่ครอบคลุมอยู่ ก็ทำการส่งสัญญาณไปยังสถานีปลายทางทันที เรียกว่า สัญญาณเชื่อมต่อขาลง (Down-link) หากสถานีปลายทางอยู่นอกขอบเขตสัญญาณ ดาวเทียมจงส่งต่อไปยังดาวเทียมดวงที่ครอบคลุมสถานีปลายทางนั้นเพื่อส่งสัญญาณ Down-link ต่อไป\n</p>\n<p>\n<img border=\"0\" width=\"229\" src=\"http://st.mengrai.ac.th/users/paisan/e-learning/internet/pic16.gif\" height=\"188\" />\n</p>\n<p><!--pagebreak--><!--pagebreak--></p><p>อ้างอิงจาก <a href=\"http://st.mengrai.ac.th/users/paisan/e-learning/internet/pic16.gif\">http://st.mengrai.ac.th/users/paisan/e-learning/internet/pic16.gif</a>\n</p>\n<p>\n3. เครือข่ายระดับประเทศ (Wide Area Network หรือ WAN)\n</p>\n<p>\nเป็นระบบเครือข่ายขนาดใหญ่ ใช้ติดตั้งบริเวณกว้าง มีสถานนีหรือจุดเชื่อมต่อมากมาย มากกว่า 1 แสนจุด ใช้สื่อกลางหลายชนิด เช่น ระบบคลื่นวิทยุ ไมโครเวฟ หรือดาวเทียม\n</p>\n<p>\n. คอมพิวเตอร์แม่ข่าย คอมพิวเตอร์แม่ข่าย หมายถึงคอมพิวเตอร์ ที่ทำหน้าที่เป็นผู้ให้บริการทรัพยากร (Resources) ต่าง ๆ ซึ่งได้แก่ หน่วยประมวลผล หน่วยความจำ หน่วยความจำสำรอง ฐานข้อมูล และ โปรแกรมต่าง ๆ เป็นต้น ในระบบเครือข่ายท้องถิ่น (LAN) มักเรียกว่าคอมพิวเตอร์แม่ข่าย ในระบบเครือข่ายระยะไกล ที่ใช้เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ หรือ มินิคอมพิวเตอร์เป็นศูนย์กลางของเครือข่าย เรานิยมเรียกว่า Host Computer และเรียกเครื่องที่รอรับบริการว่าลูกข่ายหรือสถานีงาน\n</p>\n<p>2. ช่องทางการสื่อสาร ช่องทางการสื่อสาร หมายถึง สื่อกลางหรือเส้นทางที่ใช้เป็นทางผ่าน ในการรับส่งข้อมูล ระหว่างผู้รับ (Receiver) และผู้ส่งข้อมูล (Transmitter) ปัจจุบันมีช่องทางการสื่อสาร สำหรับการเชื่อมต่อเครือข่าย คอมพิวเตอร์มีหลายประเภทคือ สายโทรศัพท์แบบสายคู่ตีเกลียวไม่มีฉนวนหุ้ม (UTP) สายคู่ตีเกลียว แบบมีฉนวนหุ้ม (STP) สายโคแอคเชียล สายใยแก้วนำแสง คลื่นไมโครเวป และดาวเทียม เป็นต้น 3. สถานีงาน สถานีงาน (Workstation or Terminal) หมายถึง อุปกรณ์หรือเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ ที่เชื่อมต่อ กับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ทำหน้าที่เป็นสถานีปลายทางหรือสถานีงาน ที่ได้รับการบริการจากเครื่อง คอมพิวเตอร์แม่ข่าย เรียกว่าเป็นคอมพิวเตอร์ลูกข่าย (Workstation) ในระบบเครือข่ายระยะใกล้ มักมีหน่วยประมวลผล หรือซีพียูของตนเอง ในระบบที่ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์เมนเฟรม เป็นศูนย์กลาง เรียกสถานีปลายทางว่าเทอร์มินอล (Terminal) ประกอบด้วยจอภาพและแป้นพิมพ์เท่านั้น ไม่มีหน่วยประมวลกลางของตัวเอง ต้องใช้หน่วยประมวลผลของคอมพิวเตอร์ศูนย์กลางหรือ Host </p>\n<p>\n4. อุปกรณ์ในเครือข่าย - การ์ดเชื่อมต่อเครือข่าย (Network Interface Card :NIC) หมายถึง แผงวงจรสำหรับ ใช้ในการเชื่อมต่อสายสัญญาณของเครือข่าย ติดตั้งไว้ในเครื่องคอมพิวเตอร์ที่เป็นเครื่องแม่ข่าย และเครื่องที่เป็นลูกข่าย หน้าที่ของการ์ดนี้คือแปลงสัญญาณจากคอมพิวเตอร์ส่งผ่านไปตามสายสัญญาณ ทำให้คอมพิวเตอร์ในเครือข่ายแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารกันได้\n</p>\n<p>\nการ์ดเชื่อมต่อเครือข่าย\n</p>\n<p>\n- โมเด็ม ( Modem : Modulator Demodulator) หมายถึง อุปกรณ์สำหรับการแปลงสัญญาณดิจิตอล (Digital) จากคอมพิวเตอร์ด้านผู้ส่ง เพื่อส่งไปตามสายสัญญาณข้อมูลแบบอนาลอก(Analog) เมื่อถึงคอมพิวเตอร์ด้านผู้รับ โมเด็มก็จะทำหน้าที่แปลงสัญญาณอนาลอก ให้เป็นดิจิตอลนำเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อทำการประมวลผล โดยปกติจะใช้โมเด็มกับระบบเครือข่ายระยะไกล โดยการใชสายโทรศัพท์เป็นสื่อกลาง เช่น เครือข่ายอินเทอร์เน็ต เป็นต้น การใช้โมเด็มในการติดต่อเครือข่ายระยะไกล\n</p>\n<p>\n- ฮับ ( Hub) คือ อุปกรณ์เชื่อมต่อที่ใช้เป็นจุดรวม และ แยกสายสัญญาณ เพื่อให้เกิดความสะดวก ในการเชื่อมต่อของเครือข่ายแบบดาว (Star) โดยปกติใช้เป็นจุดรวมการเชื่อมต่อสายสัญญาณระหว่าง File Server กับ Workstation ต่าง ๆ 5. ซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการเครือข่ ซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการเครือข่าย หมายถึง ซอฟต์แวร์ที่ทำหน้าที่ จัดการระบบเครือข่ายของคอมพิวเตอร์ เพื่อให้คอมพิวเตอร์ ที่เชื่อมต่ออยู่กับเครือข่าย สามารถติดต่อสื่อสาร แลกเปลี่ยนข้อมูลกันได้อย่างถูกต้อง และมีประสิทธิภาพ ทำหน้าที่จัดการด้านการรักษาความปลอดภัย ของระบบเครือข่าย และยังมีหน้าที่ควบคุม การนำโปรแกรมประยุกต์ ด้านการติดต่อสื่อสาร มาทำงานในระบบเครือข่ายอีกด้วย นับว่าซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการเครือข่าย มีความสำคัญต่อเครือข่ายคอมพิวเตอร์อย่างยิ่ง ตัวอย่าง ซอฟต์แวร์ประเภทนี้ได้แก่ ระบบปฏิบัติการ Windows NT , Linux , Novell Netware , Windows XP ,Windows 2000 , Solaris , Unix เป็นต้น\n</p>\n<p>\n<img border=\"0\" width=\"320\" src=\"http://st.mengrai.ac.th/users/paisan/e-learning/internet/pic18.gif\" height=\"203\" style=\"width: 269px; height: 157px\" />\n</p>\n<p>\nอ้างอิงจาก <a href=\"http://st.mengrai.ac.th/users/paisan/e-learning/internet/pic18.gif\">http://st.mengrai.ac.th/users/paisan/e-learning/internet/pic18.gif</a>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p><!--pagebreak--><!--pagebreak--></p><p>   องค์ประกอบของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์\n</p>\n<p>\nระบบเครือข่ายแบ่งตามลักษณะการทำงาน แบ่งเป็น 3 ประเภท คือ ระบบเครือข่ายรวมศูนย์กลาง (Centralized Networks) ระบบเครือข่าย Peer-to-Peer และระบบเครือข่าย Client/Server 1) ระบบเครือข่ายแบบรวมศูนย์ (Centralized Network) เป็นการวางทรัพยากรสำคัญ เช่น File server, Database server เป็นต้น เอาไว้ในบริเวณเดียวกันหรือที่ศูนย์กลาง มีเครื่องเทอร์มินัลที่เชื่อมต่อโดยตรงด้วยสายเคเบิล การประมวลผลอยู่บนเครื่องคอมพิวเตอร์หลักซึ่งตั้งอยู่ที่ศูนย์กลาง ซึ่งการบริหารจัดการเครือข่ายแบบรวมศูนย์นี้ทำได้ง่ายกว่ารูปแบบอื่น ๆ ข้อดีประการหนึ่งคือมีความปลอดภัยสูง เพราะสามารถจัดการทรัพยากรที่สำคัญได้ในที่เดียวกัน เครื่องคอมพิวเตอร์ที่เป็นศูนย์กลางควรตั้งอยู่ในห้องปิด ล๊อกหรือมีการป้องกันภัยเป็นอย่างดี การ backup ข้อมูลสามารถทำได้สะดวกจากที่เดียว ข้อเสียคือหากศูนย์กลางมีปัญหาจะทำให้ทั้งระบบใช้งานไม่ได้ นอกจากนี้ค่าใช้จ่ายในการวางระบบค่อนข้างสูงเนื่องจากต้องใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ที่เป็นศูนย์กลางหรือเครื่องเซิร์ฟเวอร์ (Server) ที่มีสมรรถนะค่อนข้างสูงและต้องมีระบบสำรองที่ดีเพื่อไม่ให้การใช้งานในระบบเครือข่ายหยุดชะงัก 2) ระบบเครือข่าย Peer-to-Peer คือ รูปแบบของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ในความหมายที่ว่าเครื่องคอมพิวเตอร์ทั้งหมดบนเครือข่าย คือ Peer (ท่า) ที่มีความเท่าเทียมกัน โดยที่เครื่องแต่ละเครื่องหรือเครื่องทั้งหมดในเครือข่ายสามารถที่จะเป็นทรัพยากรของระบบ และมีหน้าที่จัดเตรียมไฟล์ เครื่องพิมพ์ หรือแม้แต่เป็นที่เก็บข้อมูลให้กับเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องอื่น ในขณะเดียวกันเครื่องคอมพิวเตอร์ทั้งหมดนี้จะต้องมีขีดความสามารถในการทำงานได้ด้วยตนเอง โดยมีทรัพยากรอยู่ภายในเครื่อง เช่น ดิสต์สำหรับเก็บข้อมูล มีหน่วยความจำและหน่วยประมวลผลที่เพียงพอ เพื่อทำให้เครื่องสามารถทำงานได้อย่างอิสระ (Stand alone) ได้ ตัวอย่างระบบปฏิบัติการที่สนับสนุนเครือข่ายแบบ Peer-to-Peer ได้แก่ Windows Workstation ระบบเครือข่ายแบบ Peer-to-Peer มีความง่ายในการจัดตั้ง ราคาถูก และสะดวกต่อการบริหารจัดการ ข้อเสียของระบบนี้คือ การถูกจำกัดด้วยขนาด และไม่มีการออกแบบในเรื่องการรักษาความปลอดภัยที่ดีพอ ผู้ใช้แต่ละรายต้องรับผิดชอบในการรักษาความปลอดภัยและบริหารจัดการเครื่องของตนเอง BitTorrent เป็นเทคโนโลยี peer-to-peer หนึ่งที่ช่วยให้สมาชิกผู้ใช้ไคลเอ็นต์สามารถแบ่งปันไฟล์ขนาดใหญ่ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตได้อย่างสะดวกง่ายดาย ซึ่งทำให้มีผู้ใช้นิยมแบ่งปันไฟล์วิดีโอของภาพยนต์ตลอดจนไฟล์เพลงผ่านเครือข่ายของ BitTorrent เป็นจำนวนมากจนเกิดเป็นคดีละเมิดฯ ในช่วงที่ผ่านมา 3) ระบบเครือข่ายแบบ Client/Server เป็นระบบที่มีประสิทธิภาพสูงกว่า และมีการใช้กันอย่างกว้างขวางมากกว่าระบบเครือข่ายแบบ Peer-to-Peer เนื่องจากสนับสนุนให้มีลูกข่ายได้เป็นจำนวนมาก และยังสามารถเชื่อมต่อเครื่องคอมพิวเตอร์ได้หลายแพลตฟอร์ม(Platform) ระบบนี้สร้างขึ้นโดยมีเครื่องเซิร์ฟเวอร์ที่เป็นศูนย์กลางจำนวน 1 เครื่องหรือมากกว่า เช่นเดียวกับระบบเครือข่ายแบบรวมศูนย์กลางคือมีการบริหารจัดการจากส่วนกลาง แต่ต่างกันตรงที่ระบบเครือข่าย Client/Server คือจะใช้เครื่องที่เป็นศูนย์กลางที่มีสมรรถนะน้อยกว่าแบบรวมศูนย์ เนื่องจากเครื่องลูกข่ายสามารถประมวลผลและมีพื้นที่จัดเก็บ บส352 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูล อ.แววตา เตชาทวีวรร ภาคการเรียนที่ 1/2549 4 ข้อมูลเป็นของตนเอง ดังนั้นจึงลดภาระเครื่องที่เป็นศูนย์กลาง นอกจากนี้ระบบเครือข่าย Client/Server ยังสนับสนุนระบบ Multiprocessor จึงสามารถขยายขนาด หรือเพิ่มจำนวนผู้ใช้ได้ตามต้องการ รวมทั้งการเพิ่มเครื่องเซิร์ฟเวอร์เข้าไปในระบบเครือข่ายซึ่งช่วยกระจายภาระของระบบได้ และสามารถรองรับข้อมูลที่เพิ่มมากขึ้นได้ การบริหารเครือข่ายค่อนข้างยุ่งยากและซับซ้อนกว่าแบบรวมศูนย์ เครื่องเซิร์ฟเวอร์ที่ใช้จะต้องมีความสามารถในการใช้ระบบปฏิบัติการเครือข่าย เช่น Windows Server, Novell NetWare เป็นต้น ซึ่งระบบปฏิบัติการเหล่านี้มีความซับซ้อนมากกว่าระบบปฏิบัติการสำหรับเครื่องคอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะโดยทั่วไป นอกจากนี้การรักษาความปลอดภัยทำได้ยากกว่า ข้อดีของการจัดวางเครือข่ายแบบClient/Server คือ ค่าใช้จ่ายในการจัดวางต่ำกว่าแบบรวมศูนย์ เพราะว่าไม่จำเป็นต้องใช้เซิร์ฟเวอร์ที่มีสมรรถนะสูงมากนัก นอกจากนี้ยังสนับสนุนการทำงานแบบ Multi-user สามารถเพิ่มผู้ใช้ได้จำนวนมาก แต่ถ้าเปรียบเทียบกับระบบเครือข่าย Peer-to-Peer ระบบ Client/Server นั้นราคาแพงกว่า และมีความยุ่งยากในการติดตั้งมากกว่า รวมทั้งต้องการบุคลากรบริหารจัดการระบบโดยเฉพาะ <img border=\"0\" width=\"292\" src=\"http://www.school.net.th/library/snet1/hardware/network.gif\" height=\"171\" />\n</p>\n<p>\nอ้งอิงจาก <a href=\"http://www.school.net.th/library/snet1/hardware/network.gif\">http://www.school.net.th/library/snet1/hardware/network.gif</a>\n</p>\n<p><!--pagebreak--><!--pagebreak--></p><p> เครือข่ายคอมพิวเตอร์\n</p>\n<p>\n                 การที่ระบบเครือข่ายมีบทบาทและความสำคัญเพิ่มขึ้น เพราะไมโครคอมพิวเตอร์ได้รับการใช้งานอย่างแพร่หลาย จึงเกิดความต้องการที่จะเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เหล่านั้นถึงกับเพื่อเพิ่มขีดความสามารถของระบบให้สูงขึ้น เพิ่มการใช้งานด้านต่าง ๆ และลดต้นทุนระบบโดยรวมลง มีการแบ่งใช้งานอุปกรณ์และข้อมูลต่าง ๆ ตลอดจนสามารถทำงานร่วมกันได้\n</p>\n<p>\nสิ่งสำคัญที่ทำให้ระบบข้อมูลมีขีดความสามารถเพิ่มขึ้น คือ การโอนย้ายข้อมูลระหว่างกัน และการเชื่อมต่อหรือการสื่อสาร การโอนย้ายข้อมูลหมายถึงการนำข้อมูลมาแบ่งกันใช้งาน หรือการนำข้อมูลไปใช้ประมวลผลในลักษณะแบ่งกันใช้ทรัพยากร เช่น แบ่งกันใช้ซีพียู แบ่งกันใช้ฮาร์ดดิสก์ แบ่งกันใช้โปรแกรม และแบ่งกันใช้อุปกรณ์อื่น ๆ ที่มีราคาแพงหรือไม่สามารถจัดหาให้ทุกคนได้ การเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เป็นเครือข่ายจึงเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้งานให้กว้างขวางและมากขึ้นจากเดิม\n</p>\n<p>\nการเชื่อมต่อในความหมายของระบบเครือข่ายท้องถิ่น ไม่ได้จำกัดอยู่ที่การเชื่อมต่อระหว่างเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ แต่ยังรวมไปถึงการเชื่อมต่ออุปกรณ์รอบข้าง เทคโนโลยีที่ก้าวหน้าทำให้การทำงานเฉพาะมีขอบเขตกว้างขวางยิ่งขึ้น มีการใช้เครื่องบริการแฟ้มข้อมูลเป็นที่เก็บรวบควมแฟ้มข้อมูลต่างๆ มีการทำฐานข้อมูลกลาง มีหน่วยจัดการระบบสือสารหน่วยบริการใช้เครื่องพิมพ์ หน่วยบริการการใช้ซีดี หน่วยบริการปลายทาง และอุปกรณ์ประกอบสำหรับต่อเข้าในระบบเครือข่ายเพื่อจะทำงานเฉพาะเจาะจงอย่างใดอย่างหนึ่ง ในรูป เป็นตัวอย่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่จัดกลุ่มเชื่อมโยงเป็นระบบ\n</p>\n<p>\n เครื่องคอมพิวเตอร์ มาเชื่อมต่อเข้าด้วยกัน โดยอาศัยช่องทางการสื่อสารข้อมูล เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ และการใช้ทรัพยากรของระบบร่วมกัน (Shared Resource) ในเครือข่ายนั้น ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ มีองค์ประกอบที่สำคัญ เพื่อการเชื่อมต่อเป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ได้แก่ คอมพิวเตอร์แม่ข่าย (File Server) ช่องทางการสื่อสาร (Communication Chanel) สถานีงาน (Workstation or Terminal) และ อุปกรณ์ในเครือข่าย (Network Operation System)\n</p>\n<p>\nคอมพิวเตอร์แม่ข่าย หมายถึงคอมพิวเตอร์ ที่ทำหน้าที่เป็นผู้ให้บริการทรัพยากร (Resources) ต่าง ๆ ซึ่งได้แก่ หน่วยประมวลผล หน่วยความจำ หน่วยความจำสำรอง ฐานข้อมูล และ โปรแกรมต่าง ๆ เป็นต้น ในระบบเครือข่ายท้องถิ่น (LAN) มักเรียกว่าคอมพิวเตอร์แม่ข่าย ในระบบเครือข่ายระยะไกล ที่ใช้เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ หรือ มินิคอมพิวเตอร์เป็นศูนย์กลางของเครือข่าย เรานิยมเรียกว่า Host Computer และเรียกเครื่องที่รอรับบริการว่าลูกข่ายหรือสถานีงาน<img border=\"0\" width=\"1\" src=\"http://www.school.net.th/library/snet1/hardware/network.html\" height=\"1\" />\n</p>\n<p>\n <img border=\"0\" width=\"800\" src=\"http://learners.in.th/file/tackle/1.jpg\" height=\"600\" style=\"width: 246px; height: 136px\" />\n</p>\n<p>\nอ้างอิงจาก <a href=\"http://learners.in.th/file/tackle/1.jpg\">http://learners.in.th/file/tackle/1.jpg</a>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p><!--pagebreak--><!--pagebreak--></p><p>   สรุป.....\n</p>\n<p>\n      การที่เรามีระบบคอมพิวเตอร์นั้นมีหลายระบบดังนั้นเราสามารถพัฒนาระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ให้ดีขึ้นกว่าเดิมเทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง เทคโนโลยีที่รวมการประมวลผลและการสื่อสารเพื่อการเชื่อมต่อข้อมูลเข้าด้วยกั เ คุณลักษณะที่สำคัญของยุคเทคโนโลยีสารสนเทศ คือ การสื่อสารข้อมูล และการกำหนด กฎ ระเบียบการสื่อสาร เ ดังนั้นจึงสรุปได้ว่าเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT) มีองค์ประกอบที่สำคัญอยู่ 3 ส่วน ได้แก่\n</p>\n<p>\n1. เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ 2. เทคโนโลยีโทรคมนาคม หรือเทคโนโลยีการสื่อสาร 3. บุคลากร เทคโนโลยีสารสนเทศ คือ เทคโนโลยีที่เกี่ยวกับการจัดการข้อมูล ซึ่งการจัดการข้อมูลมีดังนี้ 1. การจัดเก็บ 2. การค้นคืน 3. การประมวลผล 4. การนำเสนอ 5. การส่งต่อข้อมูลหรือการส่งต่อสารสนเทศ\n</p>\n<p>\n     เทคโนโลยีสารสนเทศมีบทบาทต่อสังคมปัจจุบัน ดังต่อไปนี้ - ทำให้สังคมอุตสาหกรรมกลายเป็นสังคมสารสนเทศ โดยการนำเทคโนโลยีต่าง ๆ มาใช้งานร่วมกันในรูปของเครือข่าย - ช่วยสนับสนุนด้านการบันเทิง เพื่อตอบสนองความต้องการต่าง ๆ - ทำให้สามารถทำงานได้ทุกสถานที่และทุกเวลา  (คือการทำงานที่บ้านโดยใช้เทคโนโลยีโทรคมนาคมติดต่อระหว่างที่ทำงานและที่บ้าน (คือการทำงานที่ไหนก็ได้ เช่น บ้าน, รถยนต์ โดยใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีการสื่อสารเข้ามาช่วยในการทำงาน) เป็นต้น - ทำให้เศรษฐกิจแห่งชาติกลายเป็นเศรษฐกิจระดับโลก - ทำให้องค์กรต่าง ๆ มีลักษณะผูกพันกัน - ทำให้องค์กรมีการวางแผนระยะยาว\n</p>\n<p>\n    อีเทอร์เน็ตเป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่พัฒนามาจากโครงสร้างการเชื่อมต่อแบบสายสัญญาณร่วม  โดยใช้สายสัญญาณแบบแกนร่วม คือ สายโคแอกเชียล  เป็นตัวเชื่อม  สำหรับระบบบัส เป็นระบบ เทคโนโลยีที่คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องเชื่อม โยงเข้ากับสายสัญญาณเส้นเดียวกัน คือ เมื่อมีผู้ต้องการส่งข้อมูล  ก็ส่งข้อมูลได้เลย  แต่เนื่องจากไม่มีวิธีการค้นหาเส้นทางที่ส่งว่างหรือเปล่า   จึงไม่ทราบว่ามีอุปกรณ์ใดหรือคอมพิวเตอร์ เครื่องใดที่ส่งข้อมูลมาในช่วงเวลาเดียวกัน  จะทำให้เกิดการชนกันขึ้นและเกิดการสูญหายของข้อมูล   ผู้ส่งต้องส่งข้อมูล ไปยังปลายทางอีกครั้งหนึ่ง  ทำให้เสียเวลามาก จึงมีการพัฒนาระบบการรับส่งข้อมูลผ่านอุปกรณ์กลางที่เรียกว่า ฮับ   และเรียกระบบใหม่นี้ว่า เทนเบสที   โดยใช้สายสัญญาณที่มีขนาดเล็กลงและราคาถูกซึ่งเรียกว่า  สายคู่บิตเกลียวชนิดไม่หุ้มฉนวน  ทำให้การเชื่อมต่อนี้ มีลักษณะแบบดาว\n</p>\n<p>\n <img border=\"0\" width=\"190\" src=\"http://www.yupparaj.ac.th/RoomNet2545/activity7/images/client.gif\" height=\"193\" /> อ้างอิงจาก <a href=\"http://www.yupparaj.ac.th/RoomNet2545/activity7/images/client.gif\">http://www.yupparaj.ac.th/RoomNet2545/activity7/images/client.gif</a>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n อ้างอิงข้อมูลจาก\n</p>\n<p>\n <a href=\"http://st.mengrai.ac.th/users/paisan/e-learning/internet/page13.htm\">http://st.mengrai.ac.th/users/paisan/e-learning/internet/page13.htm</a>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\nอ้างอิงข้อมูลจาก  <a href=\"http://st.mengrai.ac.th/users/paisan/e-learning/internet/page13.htm\">http://st.mengrai.ac.th/users/paisan/e-learning/internet/page13.htm</a>\n</p>\n', created = 1714612880, expire = 1714699280, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:7ddd98bee225b9f221d45a0b0e5ea428' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

...ความหมายและความเป็นมาของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์...

รูปภาพของ dsp6023

           ความเป็นมาของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ในโลกปัจจุบัน พัฒนาการสุดยอดแห่งยุค สารสนเทศ แทบไม่มีใครไม่รู้จัก สิ่งที่ทำให้โลก ไร้พรมแดน เส้นแบ่งเขตประเทศ หรือโซนเวลา คอมพิวเตอร์ ทุกคน ทุกบ้านเรือน เป็นส่วนหนึ่งของอภิมหาเน็ทเวิร์ค ยามเมื่อต่อเข้าบริการอินเทอร์เน็ตแล้ว ก็เปรียบเสมือน เพื่อนข้างโต๊ะทำงาน ติดต่อสื่อสารได้รวดเร็วทันใจ  ชั่วพริบตา  ทั้งส่งจดหมาย พูดคุย  ฟังเสียง  ดูภาพเคลื่อนไหว เป็นต้น เรื่องราวที่เกี่ยวพัน กับอภิมหาเน็ทเวิร์คระดับโลก หรืออินเทอร์เน็ต มีแง่มุมที่น่าสนใจ มากมายหลายด้าน และพัฒนาสิ่งใหม่เป็นรายวัน เพื่อให้เครือข่ายยักษ์นี้ ยืนอายุยาวนานตลอดกาล ความเร็วที่เพิ่มมากขึ้น แทบไร้การรอคอย ข้อมูลส่งได้มหาศาลขึ้น และจะเข้ามาเป็น ส่วนหนึ่งของ ชีวิตประจำวันอย่างแน่นอน คล้ายกับ ทีวี ตู้เย็น ฯลฯ เราจะทยอย คัดมานำเสนอเพิ่มขึ้น ทุกๆ เดือน เชิญติดตามอ่านได้เป็นประจำ ที่นี่ อินเทอร์เน็ต (Internet) มาจากคำว่า Inter Connection Network ซึ่งก็คือ ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ชนิดหนึ่ง ที่มีขนาดใหญ่ครอบคลุมทั้งโลก มีคอมพิวเตอร์นับสิบล้านเครื่อง ต่อโยงถึงกัน เสมือนใยแมงมุม โดยใช้ โปรโตคอล (Protocol) หรือ มาตรฐานในการรับส่งข้อมูล ภาพ เสียง ที่มีชื่อว่า ทีซีพี/ไอพี (TCP/IP : Transmission Control Protocol / Internet Protocol) ซึ่งสามารถเลือก เส้นทางในการติดต่อ ได้หลายๆ เส้นทาง หรือจะเรียกได้ว่า เป็นการสื่อสารแบบไร้มิติ ไซเบอร์เสปซ (CyberSpace)

ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ( Computer Network ) หมายถึง การเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ตั้งแต่ 2 เครื่องขึ้นไปเข้าด้วยกันด้วยสายเคเบิล หรือสื่ออื่นๆ ทำให้คอมพิวเตอร์สามารถรับส่งข้อมูลแก่กันและกันได้ ในกรณีที่เป็นการเชื่อมต่อระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์หลายๆ เครื่องเข้ากับเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่เป็นศูนย์กลาง เราเรียกคอมพิวเตอร์ที่เป็นศูนย์กลางนี้ว่า โฮสต์ (Host) และเรียกคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กที่เข้ามาเชื่อมต่อว่า ไคลเอนต์ (Client)

ระบบเครือข่าย (Network) จะเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เข้าด้วยกันเพื่อการติดต่อสื่อสาร   เราสามารถส่งข้อมูลภายในอาคาร หรือข้ามระหว่างเมืองไปจนถึงอีกซีกหนึ่งของโลก   ซึ่งข้อมูลต่างๆ อาจเป็นทั้งข้อความ รูปภาพ เสียง ก่อให้เกิดความสะดวก รวดเร็วแก่ผู้ใช้   ซึ่งความสามารถเหล่านี้ทำให้เครือข่ายคอมพิวเตอร์มีความสำคัญ และจำเป็นต่อการใช้งานในแวดวงต่างๆ

   

อ้างอิงจาก  http://st.mengrai.ac.th/users/paisan/e-learning/internet/int1.gif

        เครือข่ายคอมพิวเตอร์ หรือ คอมพิวเตอร์เน็ตเวิร์ก (computer network) คือ ระบบการสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์จำนวนตั้งแต่สองเครื่องขึ้นไป

การที่ระบบเครือข่ายมีบทบาทสำคัญมากขึ้นในปัจจุบัน เพราะมีการใช้งานคอมพิวเตอร์อย่างแพร่หลาย จึงเกิดความต้องการที่จะเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เหล่านั้นถึงกัน เพื่อเพิ่มความสามารถของระบบให้สูงขึ้น และลดต้นทุนของระบบโดยรวมลง

การโอนย้ายข้อมูลระหว่างกันในเครือข่าย ทำให้ระบบมีขีดความสามารถเพิ่มมากขึ้น การแบ่งการใช้ทรัพยากร เช่น หน่วยประมวลผล, หน่วยความจำ, หน่วยจัดเก็บข้อมูล, โปรแกรมคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่มีราคาแพงและไม่สามารถจัดหามาให้ทุกคนได้ เช่น เครื่องพิมพ์ เครื่องกราดภาพ (scanner) ทำให้ลดต้นทุนของระบบลงได้

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 501 คน กำลังออนไลน์