• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:c8e47eff6dad7a3e7ee219668239b33b' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><b><span style=\"font-size: 28pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">เศรษฐกิจไทยสมัยอยุทธยา<o:p></o:p></span></b><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span>      </span></span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span>    </span></span> </p>\n<p>\n<span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span>  </span></span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span></span>อาณาจักรอยุธยาเป็นอาณาจักรไทยที่คนไทยทุกคนมีความภาคภูมิใจในความยิ่งใหญ่และความเจริญรุ่งเรืองที่สร้างสมมายาวนานถึง</span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\">  417  <span lang=\"TH\">ปี วัฒนธรรมด้านต่าง ๆ มีความเป็นเอกลักษณ์เฉพาะของตนเอง โดยเฉพาะทางด้านศิลปวัฒนธรรมแขนงต่าง ๆ </span> <span lang=\"TH\">อันเกิดจากการผสมผสานระหว่างศิลปวัฒนธรรมดั้งเดิมของอยุธยาเอง กับศิลปวัฒนธรรมที่รับมาจากดินแดนอื่น ๆ </span> <span lang=\"TH\">ทั้งจีน </span> <span lang=\"TH\">อินเดีย </span> <span lang=\"TH\">เขมร </span> <span lang=\"TH\">และชาติตะวันตก</span>  <span lang=\"TH\">มาประยุกต์รวมกันเข้าจนกลายเป็นแบบอย่างศิลปวัฒนธรรมสมัยอยุธยาที่มีความงดงาม</span>  <span lang=\"TH\">เป็นแบบเฉพาะ </span> <span lang=\"TH\">และได้เป็นมรดกส่วนหนึ่งที่ถ่ายทอดสืบต่อมายังอาณาจักรรุ่นหลัง ๆ</span>    <br />\n           <span lang=\"TH\">ลักษณะศิลปวัฒนธรรมไทยสมัยอยุธยามีดังนี้</span><o:p></o:p></span> </p>\n<p>\n<b><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\">       <span lang=\"TH\">ศิลปกรรม</span></span></b><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\">  <span lang=\"TH\">ประกอบด้วย</span>  <br />\n               1.  <span lang=\"TH\">สถาปัตยกรรม </span> <span lang=\"TH\">ศิลปะการก่อสร้าง</span> <br />\n               2.  <span lang=\"TH\">ประติมากรรม </span> <span lang=\"TH\">ศิลปะการสร้างพระพุทะรูป</span> <br />\n               3.  <span lang=\"TH\">จิตรกรรม</span>  <span lang=\"TH\">ศิลปะการวาดภาพ เขียนภาพ</span><br />\n               4.  <span lang=\"TH\">ประณีตศิลป์</span>  <span lang=\"TH\">ศิลปะที่ใช้ความละเอียด เรียบร้อย สวยงาม</span><br />\n               5.  <span lang=\"TH\">นาฏศิลป์</span>   <span lang=\"TH\">ศิลปะการแสดง</span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\"></span><o:p><b><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"> </span></b></o:p></span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><b><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\">1. <span lang=\"TH\">สถาปัตยกรรม</span></span></b><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"> <br />\n       <span lang=\"TH\">นับตั้งแต่สมัยพระรามาธิบดีที่ </span> 1 (<span lang=\"TH\">อู่ทอง) ทรงสถาปนากรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี </span> <span lang=\"TH\">จนถึงแผ่นดินพระบรมไตรโลกนาถ</span>  <span lang=\"TH\">สถาปัตยกรรมนิยมสร้างแบบศิลปะลพบุรี หรืออู่ทอง </span> <span lang=\"TH\">เช่น </span> <span lang=\"TH\">พระปรางค์ที่วัดพุทไธศวรรย์ </span> <span lang=\"TH\">วัดพระราม </span> <span lang=\"TH\">วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ </span> <span lang=\"TH\">วัดราชบูรณะ</span><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"> <span>     </span><span lang=\"TH\">ต่อมาภายหลังเมื่อสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถเสด็จขึ้นไปเสวยราช ณ เมืองพิษณุโลก ได้รับแบบอย่างสถาปัตยกรรมศิลปะสุโขทัยเข้ามาด้วย โดยมักสร้างพระสถูปอันเป็นหลักของพระอาราม <span> </span>เป็นเจดีย์แบบทรงลังกา มากกว่าการสร้างพระปรางค์อย่างตอนแรก <span> </span>เช่น เจดีย์ใหญ่ <span> </span></span>3<span>  </span><span lang=\"TH\">องค์ ในวัดพระศรีสรรเพชญ <span> </span>พระเจดีย์ใหญ่วัดชัยมงคล</span><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><span>         </span><span lang=\"TH\">ในสมัยพระเจ้าปราสาททองทรงปราบได้กัมพูชามาขึ้นกับกรุงศรีอยุธยาอีกครั้ง จึงเกิดนิยมถ่ายแบบอย่างพระปรางค์และสถาปัตยกรรมของขอมมาสร้างในอยุธยา เช่น พระปรางค์ใหญ่ที่วัดไชยวัฒนาราม<span>   </span>และนิยมสร้างพระเจดีย์เหลี่ยมหรือเจดีย์ย่อมุมไม้สิบสองขึ้นด้วย<span>  </span>องค์ที่งดงามมาก เช่น ที่วัดชุมพลนิกายาราม</span><o:p></o:p></span><span style=\"display: none; font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p> </o:p></span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><span>                </span><span lang=\"TH\">ในสมัยพระนารายณ์มหาราชมีชาวฝรั่งเศสเข้ามารับราชการในกรุงศรีอยุธยาจึงมีการสร้างตำหนักและอาคาร </span>2 <span lang=\"TH\">ชั้นที่ก่อด้วยอิฐ ซึ่งมีความมั่นคงและถาวรมากขึ้น <span> </span>ต่างจากเดิมที่เคยใช้อิฐหรือศิลาเฉพาะการสร้างศาสนสถานเท่านั้น </span><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\">      <span lang=\"TH\">ในสมัยพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศจนถึงเสียกรุงศรีอยุธยา </span> <span lang=\"TH\">พ.ศ.</span>2310  <span lang=\"TH\">การสร้างเจดีย์ย่อมุมไม้สิบสองยังเป็นที่นิยมกัน เช่น เจดีย์วัดภูเขาทอง</span>  <br />\n        <span lang=\"TH\">โบสถ์วิหารสมัยอยุธยาตอนปลายมักทำฐานและหลังคาเป็นเส้นอ่อนโค้ง</span>  <span lang=\"TH\">มักใช้เสากลมก่ออิฐสอปูน </span> <span lang=\"TH\">ตรงหัวเสาจะมีบัวทำเป็นบัวตูม</span><o:p></o:p></span><b><span style=\"font-size: 10pt; color: #575757; font-family: \'MS Sans Serif\'\"> </span></b></o:p></span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><b><span style=\"font-size: 10pt; color: #575757; font-family: \'MS Sans Serif\'\"></span></b></o:p></span> <span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><b><span style=\"font-size: 10pt; color: #575757; font-family: \'MS Sans Serif\'\"></span></b></o:p></span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><b><span style=\"font-size: 10pt; color: #575757; font-family: \'MS Sans Serif\'\"></span></b></o:p></span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><b><span style=\"font-size: 10pt; color: #575757; font-family: \'MS Sans Serif\'\"></span></b><b><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\">2. <span lang=\"TH\">ประติมากรรม</span></span></b><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\">  <br />\n         <span lang=\"TH\">สมัยอยุธยานิยมสร้างพระพุทธรูปแบบศิลปะอู่ทอง ซึ่งแพร่หลายอยู่ในบริเวณแถบนี้ก่อนที่จะมีการสถาปนากรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี</span>  <span lang=\"TH\">ความนิยมนี้สืบต่อมาจนถึงสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ </span> <span lang=\"TH\">ลักษณะของพระพุทธรูปแบบอู่ทอง คือ จะมีไรพระศกและชายจีวรปลายตัดเป็นเส้นตรงต่อมาภายหลังเมื่อสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถได้เสด็จไปเสวยราชย์ที่พิษณุโลก ทำให้ศิลปะแบบสุโขทัยแพร่หลายเข้ามายังอยุธยามากกว่าแต่ก่อน</span>  <span lang=\"TH\">จึงเกิดมีประติมากรรมที่มีลักษณะเป็นแบบอยุธยาอย่างแท้จริง แต่รุ่นแรกยังมีลักษณะของแบบอู่ทองปนอยู่บ้าง ส่วนมากไม่งามเท่าแบบสุโขทัย </span><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\">       <span lang=\"TH\">ในสมัยสมเด็จพระเจ้าปราสาททองและสมเด็จพระนารายณ์มหาราช</span>  <span lang=\"TH\">นิยมสลักพระพุทธรูปด้วยศิลา เชื่อกันว่าในสมัยสมเด็จพระเจ้าปราสาททองไทยปราบเขมรได้จึงนิยมใช้หิน(ศิลา)สลักพระพุทธรูปตามอย่างเขมรอยู่ระยะหนึ่ง ลักษณะเฉพาะคือมักมีพระเนตรและพระโอษฐ์เป็นขอบสองชั้น หรือมีพระมัสสุบาง ๆ อยู่เหนือพระโอษฐ์</span><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\">  <span lang=\"TH\">พระพุทธรูปทรงเครื่อง นิยมสร้างกันมากในตอนปลายสมัยอยุธยา มี </span>2 <span lang=\"TH\">แบบ คือ แบบทรงเครื่องใหญ่ และแบบทรงเครื่องน้อย เป็นลักษณะแบบอยุธยาอย่างแท้จริง</span></span></o:p></span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\"></span><o:p></o:p></span><span style=\"font-family: Arial\"><span style=\"font-size: small; color: #575757\"> </span></span></o:p></span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span style=\"font-family: Arial\"><span style=\"font-size: small; color: #575757\"></span></span></o:p></span> <span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span style=\"font-family: Arial\"><span style=\"font-size: small; color: #575757\"></span></span></o:p></span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span style=\"font-family: Arial\"><span style=\"font-size: small; color: #575757\"></span></span><b><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\">3.  <span lang=\"TH\">จิตรกรรม</span></span></b><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"> <br />\n             <span lang=\"TH\">จิตรกรรมในสมัยอยุธยาส่วนใหญ่จะเกี่ยวเนื่องกับพระพุทธศาสนา</span>  <span lang=\"TH\">ในระยะแรกได้รับอิทธิพลมาจากศิลปะแบบลพบุรี </span> <span lang=\"TH\">สุโขทัย </span> <span lang=\"TH\">และลังการวมอยู่ด้วย</span>  <span lang=\"TH\">โดยจะมีบางภาพที่มีลักษณะแข็งและหนัก </span> <span lang=\"TH\">ใช้สีดำ </span> <span lang=\"TH\">ขาว </span> <span lang=\"TH\">และแดง </span> <span lang=\"TH\">มีการปิดทองบนภาพบ้างเล็กน้อย </span> <span lang=\"TH\">เช่น </span> <span lang=\"TH\">ภาพเขียนบนผนังในกรุพระปรางค์วัดราชบูรณะ</span>  <span lang=\"TH\">ซึ้งสร้างขึ้นสมัยสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ </span> 2 (<span lang=\"TH\">เจ้าสามพระยา)</span>   <span lang=\"TH\">แต่ระยะหลังจิตรกรรมในสมัยอยุธยามักเป็นภาพวาดเกี่ยวกับเรื่องไตรภูมิ</span>  <span lang=\"TH\">ซึ่งมีภาพพุทธประวัติประกอบ</span><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><span>                </span><span lang=\"TH\">ตั้งแต่สมัยสมเด็จพระเชษฐาธิราชจนสิ้นสุดสมัยอยุธยาจิตรกรรมอยุธยาแสดงให้เห็นถึงลักษณะของจิตรกรรมไทยบริสุทธิ์อย่างสมบูรณ์</span></span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"> <span> </span></span><span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">สีที่วาดนิยมใช้หลายสี</span></span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"> <span> </span></span><span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">นิยมปิดทองลงบนรูปและลวดลาย</span></span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"> <span> </span></span><span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">แต่การเขียนภาพต้นไม้</span></span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"> <span> </span></span><span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ภูเขา</span></span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"> <span> </span></span><span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">และน้ำ แสดงให้เห็นอิทธิพลของศิลปะจีนอยู่บ้าง</span></span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p> </o:p></span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p> </o:p></span><span style=\"color: #575757; font-family: Arial\"><span><span style=\"font-size: small\">         </span></span></span></o:p></span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span style=\"color: #575757; font-family: Arial\"><span><span style=\"font-size: small\"></span></span></span></o:p></span> <span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span style=\"color: #575757; font-family: Arial\"><span><span style=\"font-size: small\"></span></span></span></o:p></span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><b><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\">4. </span></b><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><span> </span><b><span lang=\"TH\">ประณีตศิลป์</span></b><span lang=\"TH\"> <span> </span><span> </span><br />\n<span> </span><span> </span><span> </span><span> </span><span> </span><span> </span><span> </span><span> </span><span> </span><span> </span><span> </span>ตั้งแต่สมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ </span>1 (<span lang=\"TH\">อู่ทอง</span>)<span>  </span><span lang=\"TH\">ถึงสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ <span> </span>งานประณีตศิลป์แบบอยุธยาที่พบ ได้แก่ <span> </span>เครื่องไม้ <span> </span>เช่น <span> </span>ประตูจำหลัก <span> </span>ธรรมาสน์ <span> </span><span> </span><span> </span>ตู้หนังสือพระไตรปิฎก <span> </span>หีบใส่หนังสือสวดและหนังสือเทศน์ <span> </span><span> </span>เครื่องไม้เหล่านี้มักทำฐานหรือหลังคาเป็นแบบอ่อนโค้ง</span><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><span>              </span> </span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">นอกจากนี้วัตถุที่ขุดพบในพระเจดีย์หรือพระปรางค์ต่าง ๆ</span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"> <span> </span></span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">อาจจัดรวมอยู่ในประณีตศิลป์ได้</span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"> <span> </span></span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">เช่น</span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"> <span> </span></span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">วัตถุที่ขุดพบที่พระปรางค์วัดราชบูรณะ</span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><br />\n</span><span><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-family: Times New Roman\"><span>  </span></span></span></span></o:p></span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-family: Times New Roman\"><span></span></span></span></span></o:p></span> <span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-family: Times New Roman\"><span></span> </span></span></span><b><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\">5. </span></b><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><span> </span><b><span lang=\"TH\">นาฏศิลป</span></b><span lang=\"TH\">์ </span><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><span> </span><span lang=\"TH\">นับตั้งแต่สมัยพระรามาธิบดีที่ </span>1 (<span lang=\"TH\">อู่ทอง</span>) <span lang=\"TH\">จนถึงสมัยสมเด็จพระเจ้าทรงธรรม <span> </span><span> </span>การแสดงแต่เดิมคงจะเป็นการละเล่นพื้นบ้าน ส่วนใหญ่เป็นการฟ้อนรำในพิธีกรรมต่าง ๆ ทั้งพระราชพิธีและพิธีของชาวบ้าน โดยศิลปะการแสดงเริ่มมีแบบแผนขึ้นในสมัยสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ </span>2 (<span lang=\"TH\">เจ้าสามพระยา</span>) <span lang=\"TH\">ซึ่งได้รับแบบอย่างมาจากละครหลวงของเขมร โดยโปรดเกล้า ฯ ให้มี </span>“<span lang=\"TH\">การเล่นดึกดำบรรพ์</span>”<span>  </span><span lang=\"TH\">ซึ่งได้รับอิทธิพลมาจากเขมร ภายหลังได้พัฒนามาเป็นนาฎศิลป์ไทยประเภทหนึ่งที่เรียกว่า </span>“<span lang=\"TH\">โขน</span>”<o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><span>        </span> <span lang=\"TH\">ตั้งแต่สมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราชเป็นต้นมา ศิลปะการแสดงที่สำคัญของไทย คือ โขน ละคร และระบำ ซึ่งใช้ผู้ชายเป็นผู้แสดง และมีการฟ้อนรำที่ผู้หญิงแสดงเป็นหมู่ <span> </span><br />\n</span><span>                </span><span lang=\"TH\">ในสมัยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ พระองค์โปรดการเล่นละครมาก จึงได้มีการส่งเสริมการละครจนเจริญรุ่งเรืองสืบต่อมา <span> </span>สมัยนี้จะมีละคร <span> </span></span>2 <span lang=\"TH\">ประเภท คือ ละครใน ใช้ตัวละครเป็นหญิงทั้งหมด <span> </span>และละครนอกใช้ตัวละครเป็นผู้ชายทั้งหมด</span><o:p></o:p></span><span style=\"color: #575757\"><span style=\"font-size: 10pt; font-family: \'MS Sans Serif\'\">  </span><span style=\"font-family: \'Times New Roman\'\"><o:p></o:p></span></span><o:p><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\"> </span></o:p><o:p><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\"> </span></o:p><o:p><span style=\"font-size: small; font-family: Times New Roman\"> </span></o:p> </o:p></span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-size: 14pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p></p>\n', created = 1726719437, expire = 1726805837, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:c8e47eff6dad7a3e7ee219668239b33b' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:c41dc01a5b89b32ce4ab310df222a005' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><img border=\"0\" src=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-innocent.gif\" alt=\"Innocent\" title=\"Innocent\" />ขาดแหล่งอ้างอิง ชื่อ และหัวข้อเรื่องกับเนื้อหาไม่เหมือนกัน ตกลงจะทำเรื่องศิลปวัฒนธรรม หรือเรื่องเศรษฐกิจกันแน่ </p>\n', created = 1726719437, expire = 1726805837, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:c41dc01a5b89b32ce4ab310df222a005' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

เศรษฐกิจสมัยอยุทธยา

เศรษฐกิจไทยสมัยอยุทธยา          

  อาณาจักรอยุธยาเป็นอาณาจักรไทยที่คนไทยทุกคนมีความภาคภูมิใจในความยิ่งใหญ่และความเจริญรุ่งเรืองที่สร้างสมมายาวนานถึง  417  ปี วัฒนธรรมด้านต่าง ๆ มีความเป็นเอกลักษณ์เฉพาะของตนเอง โดยเฉพาะทางด้านศิลปวัฒนธรรมแขนงต่าง ๆ  อันเกิดจากการผสมผสานระหว่างศิลปวัฒนธรรมดั้งเดิมของอยุธยาเอง กับศิลปวัฒนธรรมที่รับมาจากดินแดนอื่น ๆ  ทั้งจีน  อินเดีย  เขมร  และชาติตะวันตก  มาประยุกต์รวมกันเข้าจนกลายเป็นแบบอย่างศิลปวัฒนธรรมสมัยอยุธยาที่มีความงดงาม  เป็นแบบเฉพาะ  และได้เป็นมรดกส่วนหนึ่งที่ถ่ายทอดสืบต่อมายังอาณาจักรรุ่นหลัง ๆ    
           ลักษณะศิลปวัฒนธรรมไทยสมัยอยุธยามีดังนี้

       ศิลปกรรม  ประกอบด้วย  
               1.  สถาปัตยกรรม  ศิลปะการก่อสร้าง 
               2.  ประติมากรรม  ศิลปะการสร้างพระพุทะรูป 
               3.  จิตรกรรม  ศิลปะการวาดภาพ เขียนภาพ
               4.  ประณีตศิลป์  ศิลปะที่ใช้ความละเอียด เรียบร้อย สวยงาม
               5.  นาฏศิลป์   ศิลปะการแสดง

 1. สถาปัตยกรรม 
       นับตั้งแต่สมัยพระรามาธิบดีที่  1 (อู่ทอง) ทรงสถาปนากรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี  จนถึงแผ่นดินพระบรมไตรโลกนาถ  สถาปัตยกรรมนิยมสร้างแบบศิลปะลพบุรี หรืออู่ทอง  เช่น  พระปรางค์ที่วัดพุทไธศวรรย์  วัดพระราม  วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ  วัดราชบูรณะ
      ต่อมาภายหลังเมื่อสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถเสด็จขึ้นไปเสวยราช ณ เมืองพิษณุโลก ได้รับแบบอย่างสถาปัตยกรรมศิลปะสุโขทัยเข้ามาด้วย โดยมักสร้างพระสถูปอันเป็นหลักของพระอาราม  เป็นเจดีย์แบบทรงลังกา มากกว่าการสร้างพระปรางค์อย่างตอนแรก  เช่น เจดีย์ใหญ่  3  องค์ ในวัดพระศรีสรรเพชญ  พระเจดีย์ใหญ่วัดชัยมงคล         ในสมัยพระเจ้าปราสาททองทรงปราบได้กัมพูชามาขึ้นกับกรุงศรีอยุธยาอีกครั้ง จึงเกิดนิยมถ่ายแบบอย่างพระปรางค์และสถาปัตยกรรมของขอมมาสร้างในอยุธยา เช่น พระปรางค์ใหญ่ที่วัดไชยวัฒนาราม   และนิยมสร้างพระเจดีย์เหลี่ยมหรือเจดีย์ย่อมุมไม้สิบสองขึ้นด้วย  องค์ที่งดงามมาก เช่น ที่วัดชุมพลนิกายาราม                 ในสมัยพระนารายณ์มหาราชมีชาวฝรั่งเศสเข้ามารับราชการในกรุงศรีอยุธยาจึงมีการสร้างตำหนักและอาคาร 2 ชั้นที่ก่อด้วยอิฐ ซึ่งมีความมั่นคงและถาวรมากขึ้น  ต่างจากเดิมที่เคยใช้อิฐหรือศิลาเฉพาะการสร้างศาสนสถานเท่านั้น       ในสมัยพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศจนถึงเสียกรุงศรีอยุธยา  พ.ศ.2310  การสร้างเจดีย์ย่อมุมไม้สิบสองยังเป็นที่นิยมกัน เช่น เจดีย์วัดภูเขาทอง  
        โบสถ์วิหารสมัยอยุธยาตอนปลายมักทำฐานและหลังคาเป็นเส้นอ่อนโค้ง  มักใช้เสากลมก่ออิฐสอปูน  ตรงหัวเสาจะมีบัวทำเป็นบัวตูม
 
 2. ประติมากรรม  
         สมัยอยุธยานิยมสร้างพระพุทธรูปแบบศิลปะอู่ทอง ซึ่งแพร่หลายอยู่ในบริเวณแถบนี้ก่อนที่จะมีการสถาปนากรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี  ความนิยมนี้สืบต่อมาจนถึงสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ  ลักษณะของพระพุทธรูปแบบอู่ทอง คือ จะมีไรพระศกและชายจีวรปลายตัดเป็นเส้นตรงต่อมาภายหลังเมื่อสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถได้เสด็จไปเสวยราชย์ที่พิษณุโลก ทำให้ศิลปะแบบสุโขทัยแพร่หลายเข้ามายังอยุธยามากกว่าแต่ก่อน  จึงเกิดมีประติมากรรมที่มีลักษณะเป็นแบบอยุธยาอย่างแท้จริง แต่รุ่นแรกยังมีลักษณะของแบบอู่ทองปนอยู่บ้าง ส่วนมากไม่งามเท่าแบบสุโขทัย
       ในสมัยสมเด็จพระเจ้าปราสาททองและสมเด็จพระนารายณ์มหาราช  นิยมสลักพระพุทธรูปด้วยศิลา เชื่อกันว่าในสมัยสมเด็จพระเจ้าปราสาททองไทยปราบเขมรได้จึงนิยมใช้หิน(ศิลา)สลักพระพุทธรูปตามอย่างเขมรอยู่ระยะหนึ่ง ลักษณะเฉพาะคือมักมีพระเนตรและพระโอษฐ์เป็นขอบสองชั้น หรือมีพระมัสสุบาง ๆ อยู่เหนือพระโอษฐ์  พระพุทธรูปทรงเครื่อง นิยมสร้างกันมากในตอนปลายสมัยอยุธยา มี 2 แบบ คือ แบบทรงเครื่องใหญ่ และแบบทรงเครื่องน้อย เป็นลักษณะแบบอยุธยาอย่างแท้จริง
  3.  จิตรกรรม 
             จิตรกรรมในสมัยอยุธยาส่วนใหญ่จะเกี่ยวเนื่องกับพระพุทธศาสนา  ในระยะแรกได้รับอิทธิพลมาจากศิลปะแบบลพบุรี  สุโขทัย  และลังการวมอยู่ด้วย  โดยจะมีบางภาพที่มีลักษณะแข็งและหนัก  ใช้สีดำ  ขาว  และแดง  มีการปิดทองบนภาพบ้างเล็กน้อย  เช่น  ภาพเขียนบนผนังในกรุพระปรางค์วัดราชบูรณะ  ซึ้งสร้างขึ้นสมัยสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่  2 (เจ้าสามพระยา)   แต่ระยะหลังจิตรกรรมในสมัยอยุธยามักเป็นภาพวาดเกี่ยวกับเรื่องไตรภูมิ  ซึ่งมีภาพพุทธประวัติประกอบ
                ตั้งแต่สมัยสมเด็จพระเชษฐาธิราชจนสิ้นสุดสมัยอยุธยาจิตรกรรมอยุธยาแสดงให้เห็นถึงลักษณะของจิตรกรรมไทยบริสุทธิ์อย่างสมบูรณ์  สีที่วาดนิยมใช้หลายสี  นิยมปิดทองลงบนรูปและลวดลาย  แต่การเขียนภาพต้นไม้  ภูเขา  และน้ำ แสดงให้เห็นอิทธิพลของศิลปะจีนอยู่บ้าง           
 4.  ประณีตศิลป์   
           ตั้งแต่สมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่
1 (อู่ทอง)  ถึงสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ  งานประณีตศิลป์แบบอยุธยาที่พบ ได้แก่  เครื่องไม้  เช่น  ประตูจำหลัก  ธรรมาสน์    ตู้หนังสือพระไตรปิฎก  หีบใส่หนังสือสวดและหนังสือเทศน์   เครื่องไม้เหล่านี้มักทำฐานหรือหลังคาเป็นแบบอ่อนโค้ง
               นอกจากนี้วัตถุที่ขุดพบในพระเจดีย์หรือพระปรางค์ต่าง ๆ  อาจจัดรวมอยู่ในประณีตศิลป์ได้  เช่น  วัตถุที่ขุดพบที่พระปรางค์วัดราชบูรณะ
  
  5.  นาฏศิลป นับตั้งแต่สมัยพระรามาธิบดีที่ 1 (อู่ทอง) จนถึงสมัยสมเด็จพระเจ้าทรงธรรม   การแสดงแต่เดิมคงจะเป็นการละเล่นพื้นบ้าน ส่วนใหญ่เป็นการฟ้อนรำในพิธีกรรมต่าง ๆ ทั้งพระราชพิธีและพิธีของชาวบ้าน โดยศิลปะการแสดงเริ่มมีแบบแผนขึ้นในสมัยสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2 (เจ้าสามพระยา) ซึ่งได้รับแบบอย่างมาจากละครหลวงของเขมร โดยโปรดเกล้า ฯ ให้มี การเล่นดึกดำบรรพ์  ซึ่งได้รับอิทธิพลมาจากเขมร ภายหลังได้พัฒนามาเป็นนาฎศิลป์ไทยประเภทหนึ่งที่เรียกว่า โขน         ตั้งแต่สมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราชเป็นต้นมา ศิลปะการแสดงที่สำคัญของไทย คือ โขน ละคร และระบำ ซึ่งใช้ผู้ชายเป็นผู้แสดง และมีการฟ้อนรำที่ผู้หญิงแสดงเป็นหมู่  
                ในสมัยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ พระองค์โปรดการเล่นละครมาก จึงได้มีการส่งเสริมการละครจนเจริญรุ่งเรืองสืบต่อมา  สมัยนี้จะมีละคร  2 ประเภท คือ ละครใน ใช้ตัวละครเป็นหญิงทั้งหมด  และละครนอกใช้ตัวละครเป็นผู้ชายทั้งหมด
     

 

รูปภาพของ silavacharee

Innocentขาดแหล่งอ้างอิง ชื่อ และหัวข้อเรื่องกับเนื้อหาไม่เหมือนกัน ตกลงจะทำเรื่องศิลปวัฒนธรรม หรือเรื่องเศรษฐกิจกันแน่

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 680 คน กำลังออนไลน์