• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:1d2f4d31b972f075aa800c0a482ac17b' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<span style=\"background-color: #ccffff; color: #ff00ff\"><span style=\"color: #0000ff\"> </span></span><span style=\"background-color: #ccffff; color: #ff00ff\"><span style=\"color: #0000ff\">ประวัติโดยย่อ...(กาพย์แห่เรือ)</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ccffff; color: #ff00ff\"><span style=\"color: #0000ff\"></span> <img border=\"0\" src=\"/files/u8026/3.jpg\" style=\"width: 119px; height: 169px\" height=\"375\" width=\"250\" /><span style=\"background-color: #ccffff; color: #ff00ff\"><span style=\"color: #0000ff\"></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ccffff; color: #ff00ff\">     เรือพระที่นั่งอนันตนาคราช เป็นเรือพระที่นั่งบัลลังก์ในกระบวนพยุหยาตราชลมารค <br />\nสร้างขึ้นตั้งแต่สมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ลำปัจจุบันมีการสร้างใหม่ <br />\nในสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว สำเร็จเมื่อวันที่ ๑๕ เมษายน พ.ศ. ๒๔๕๗ <br />\nลำเรือภายนอกทาสีเขียว ท้องเรือภายในทาสีแดง ยาว ๔๒.๙๕ เมตร กว้าง ๒.๙๕ เมตร <br />\nลึก ๐.๗๖ เมตร กินน้ำลึก ๐.๓๑ เมตร กำลัง ๓.๐๒ เมตร ฝีพาย ๕๔ คน นายท้าย ๒ คน <br />\nนายเรือ ๒ คน คนถือธงท้าย ๑ คน พลสัญญาณ ๑ คน คนเห่เรือ ๑ คน </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ccffff; color: #ff00ff\">     โขนเรือเป็น &quot;พญาอนันตนาคราช&quot; หรือนาค ๗ เศียร โดยปกติจะใช้เป็นเรือพระที่นั่งรอง <br />\nหรือเรือเชิญผ้าพระกฐิน หรือประดิษฐานบุษบกสำหรับพระพุทธรูปสำคัญ <br />\nนับเป็นเรือพระที่นั่งที่มีความงดงามอีกลำหนึ่ง อนึ่ง เคยมีการพิมพ์รูปเรือพระที่นั่ง<br />\nอนันตนาคราชด้านหลังธนบัตร ๒๐ บาท โดยจัดพิมพ์และใช้ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๑๕ ปัจจุบัน<br />\nเลิกพิมพ์แล้ว </span>\n</p>\n<p><!--pagebreak--><!--pagebreak--></p><p><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"background-color: #ccffff\">  <span style=\"color: #0000ff\">  </span></span><span style=\"background-color: #99ccff\"><span style=\"color: #0000ff\"> เรือพระที่นั่งอนันตนาคราชในกาพย์เห่เรือ</span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"background-color: #99ccff\"><span style=\"color: #0000ff\"></span><br />\nกาพย์เห่เรือ พระนิพนธ์ในเจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ เมื่องานพระบรมราชาภิเษกสมโภชลล พ.ศ. 2454 มีดังนี้ <br />\n๏ เรืออนันตนาคราช <br />\nกลาดหัวเสียดตัวเหยียดยาว <br />\nปากอ้าเขี้ยวตาพราว <br />\nราวนาคราชอาสน์นารายณ์ <br />\nกาพย์เห่เรือ นายฉันท์ ขำวิไล ประพันธ์ขึ้น ในวาระฉลอง 25 พุทธศตวรรษ มีดังนี้ <br />\n๏ อนันตนาคราช <br />\nธรรมาสน์อันอำไพ <br />\nเลิศแล้วแลวิไล <br />\nช่างสดใสในสาคร <br />\nกาพย์เห่เรือ นายหรีด เรืองฤทธิ์ ประพันธ์ขึ้น ในวาระฉลอง 25 พุทธศตวรรษ มีดังนี้ <br />\n๏ อนันตนาคราช <br />\nอาสน์พระธรรมเอี่ยมอำไพ <br />\nอเนกชาติภุชงค์ชัย <br />\nอาสน์พระสงฆ์ทรงสิกขา </span></span>\n</p>\n<p><!--pagebreak--><!--pagebreak--></p><p><span style=\"color: #ff00ff\">    <span style=\"background-color: #ccffcc\"><span style=\"color: #0000ff\"> กาพย์แห่เรือ</span> </span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ccffcc; color: #ff00ff\">กาพย์เห่เรือนั้น ใช้คำประพันธ์ 2 ชนิดด้วยกัน นั่นคือ กาพย์ยานี 11 และโคลงสี่สุภาพ เรียงร้อยกันในลักษณะที่เรียกว่า กาพย์ห่อโคลง โดยมักขึ้นต้นด้วยโคลง 1 บท แล้วตามด้วยกาพย์ยานี เรื่อยไป จนจบตอนหนึ่งๆ เมื่อจะขึ้นตอนใหม่ ก็จะยกโคลงสี่สุภาพมาอีกหนึ่งบท แล้วตามด้วยกาพย์จนจบตอน เช่นนี้สลับกันไป </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ccffcc; color: #ff00ff\">กาพย์เห่เรือที่เก่าแก่ที่สุด ที่พบในเวลานี้ คือ กาพย์เห่เรือในเจ้าฟ้าธรรมธิเบศร์ (เจ้าฟ้ากุ้ง) ในรัชกาลพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ สมัยอยุธยาตอนปลาย ทรงแต่งไว้ 2 เรื่อง คือบทเห่ชมเรือ ชมปลา ชมไม้ และชมนก มีลักษณะเป็นเหมือนนิราศ กับอีกเรื่องหนึ่ง คือเรื่องกากี </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ccffcc; color: #ff00ff\">สันนิษฐานกันว่ากาพย์เห่เรือ เดิมคงจะแต่งเพื่อขับเห่กันเมื่อเดินทางไกลในแม่น้ำลำคลอง แต่ในภายหลังคงมีแต่เจ้านายหรือพระราชวงศ์ชั้นสูง และสุดท้ายมีใช้แต่ในกระบวนเรือของพระเจ้าแผ่นดินเท่านั้น </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ccffcc; color: #ff00ff\">กาพย์เห่เรือไม่สู้จะนิยมประพันธ์กันมากนัก เนื่องจากถือเป็นคำประพันธ์สำหรับใช้ในพิธีการ คือ ในกระบวนเรือหลวง หรือกระบวนพยุยาตราชลมารค ไม่นิยมใช้ในพิธีหรือสถานการณ์อื่นใด การแต่งกาพย์เห่เรือจึงมักแต่งขึ้นสำหรับที่จะใช้เห่เรือจริงๆ ซึ่งในแต่ละรัชกาล มีการเห่เรือเพียงไม่กี่ครั้งเท่านั้น </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ccffcc; color: #ff00ff\"></span>\n</p>\n<p><!--pagebreak--><!--pagebreak--></p><p><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #0000ff\">   <span style=\"background-color: #c0c0c0\"> <span style=\"background-color: #cc99ff\"><span style=\"background-color: #33cccc\"> </span></span></span></span></span><span style=\"background-color: #ffffff\"><span style=\"background-color: #c0c0c0\"><span style=\"background-color: #33cccc\"><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #0000ff\">พยานาค</span></span> </span></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ffffff; color: #ff00ff\"><span style=\"background-color: #c0c0c0\"><span style=\"background-color: #33cccc\">นาค หรือ พญานาค งูใหญ่มีหงอน สัญลักษณ์แห่งความยิ่งใหญ่ ความอุดมสมบูรณ์ ความมีวาสนา และนาคยังเป็นสัญลักษณ์ของบันไดสายรุ้งสู่จักรวาล </span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ffffff; color: #ff00ff\"><span style=\"background-color: #c0c0c0\"><span style=\"background-color: #33cccc\">นาคเป็นเทพเจ้าแห่งท้องน้ำ บางแห่งก็ว่าเป็นเทพเจ้าแห่งฟ้า </span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ffffff; color: #ff00ff\"><span style=\"background-color: #c0c0c0\"><span style=\"background-color: #33cccc\">ตำนานความเชื่อเรืองพญานาคมีความเก่าแก่มาก ดูท่าว่าจะเก่ากว่าพุทธศาสนาอีกด้วย สืบค้นได้ว่ามีต้นกำเนิดมาจากอินเดียใต้ ด้วยเหตุจากภูมิประเทศทางอินเดียใต้เป็นป่าเขาจึงทำให้มีงูอยู่ชุกชุม และด้วยเหตุที่งูนั้นลักษณะทางกายภาพคือมีพิษร้ายแรง งูจึงเป็นสัตว์ที่มนุษย์ให้การนับถือว่ามีอำนาจ ชาวอินเดียใต้จึงนับถืองู </span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ffffff; color: #ff00ff\"><span style=\"background-color: #c0c0c0\"><span style=\"background-color: #33cccc\">เป็นสัตว์เทวะชนิดหนึ่งในเทพนิยายและตำนานพื้นบ้าน บ้างก็ว่าเป็นสัตว์ในป่าหิมพานต์ มีความเชื่อเรื่องพญานาคแพร่หลายในภูมิภาคต่างๆ ทั่วทวีปเอเชีย โดยเรียกชื่อต่างๆ กัน </span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ffffff; color: #ff00ff\"><span style=\"background-color: #c0c0c0\"><span style=\"background-color: #33cccc\">ต้นกำเนิดความเชื่อเรื่องพญานาคน่าจะอยู่ที่อินเดีย ด้วยมีนิยายหลายเรื่องเล่าถึงพญานาค โดยเฉพาะในมหากาพย์มหาภารตะ ซึ่งถือเป็นปรปักษ์ของพญาครุฑ ส่วนในตำนานพุทธประวัติ ก็เล่าถึงพญานาคไว้หลายครั้งด้วยกัน </span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ffffff; color: #ff00ff\"><span style=\"background-color: #33cccc\"><span style=\"background-color: #c0c0c0\">ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ยังมีตำนานเรื่องพญานาคอย่างแพร่หลาย ชาวบ้านในภูมิภาคนี้มักเชื่อกันว่าพญานาคอาศัยอยู่ในแม่น้ำโขง หรือเมืองบาดาล และเชื่อกันว่าเคยมีคนเคยพบรอยพญานาคขึ้นมาในวันออกพรรษาโดยจะมีลักษณะคล้ายรอยของงูขนาดใหญ่ และเมื่อไปเล่นน้ำในแม่น้ำโขงควรยกมือไหว้เพื่อเป็นการสักการะสิ่งศักดิ์สิทธิ์</span> </span></span>\n</p>\n<p><!--pagebreak--><!--pagebreak--></p><p><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #0000ff\">    </span><span style=\"background-color: #ffff99\"><span style=\"color: #0000ff\"> ลักษณะพยานาค</span> </span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ffff99; color: #ff00ff\">ลักษณะของพญานาคตามความเชื่อในแต่ละภูมิภาคจะแตกต่างกันไป <br />\nแต่พื้นฐานคือพญานาคนั้นมีลักษณะตัวเป็นงูตัวใหญ่มีหงอนสีทองและตาสีแดง <br />\nเกล็ดเหมือนปลามีหลายสีแตกต่างกันไปตามบารมี บ้างก็มีสีเขียว บ้างก็มีสีดำ<br />\n หรือบ้างก็มี7สี และที่สำคัญคือนาคตระกูลธรรมดาจะมีเศียรเดียว <br />\nแต่ตระกูลที่สูงขึ้นไปนั้นจะมีสามเศียร ห้าเศียร เจ็ดเศียรและเก้าเศียร <br />\nนาคจำพวกนี้จะสืบเชื้อสายมาจาก พญาเศษนาคราช(อนันตนาคราช) <br />\nผู้เป็นบัลลังก์ของพระวิษณุนารายณ์ปรมนาท ณ เกษียรสมุทร <br />\nอนันตนาคราชนั้นเล่ากันว่ามีกายใหญ่โตมหึมามีความยาวไม่สิ้นสุด มีพันศีรษะ <br />\nพญานาคนั้นมีทั้งเกิดในนำและบนบก เกิดจากครรภ์และจากไข่ <br />\nมีอิทฤทธิ์สามารถบันดาลให้เกิดคุณและโทษได้ นาคนั้นมักจะแปลงร่างเป็นมนุษย์รูปร่างสวยงาม </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ffff99; color: #ff00ff\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\"></span>\n</p>\n', created = 1715907098, expire = 1715993498, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:1d2f4d31b972f075aa800c0a482ac17b' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:37049c9930c1d0c4d9b5c61c5abbf5e5' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<span style=\"background-color: #ccffff; color: #ff00ff\"><span style=\"color: #0000ff\"> </span></span><span style=\"background-color: #ccffff; color: #ff00ff\"><span style=\"color: #0000ff\">ประวัติโดยย่อ...(กาพย์แห่เรือ)</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ccffff; color: #ff00ff\"><span style=\"color: #0000ff\"></span> <img border=\"0\" src=\"/files/u8026/3.jpg\" style=\"width: 119px; height: 169px\" height=\"375\" width=\"250\" /><span style=\"background-color: #ccffff; color: #ff00ff\"><span style=\"color: #0000ff\"></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ccffff; color: #ff00ff\">     เรือพระที่นั่งอนันตนาคราช เป็นเรือพระที่นั่งบัลลังก์ในกระบวนพยุหยาตราชลมารค <br />\nสร้างขึ้นตั้งแต่สมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ลำปัจจุบันมีการสร้างใหม่ <br />\nในสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว สำเร็จเมื่อวันที่ ๑๕ เมษายน พ.ศ. ๒๔๕๗ <br />\nลำเรือภายนอกทาสีเขียว ท้องเรือภายในทาสีแดง ยาว ๔๒.๙๕ เมตร กว้าง ๒.๙๕ เมตร <br />\nลึก ๐.๗๖ เมตร กินน้ำลึก ๐.๓๑ เมตร กำลัง ๓.๐๒ เมตร ฝีพาย ๕๔ คน นายท้าย ๒ คน <br />\nนายเรือ ๒ คน คนถือธงท้าย ๑ คน พลสัญญาณ ๑ คน คนเห่เรือ ๑ คน </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ccffff; color: #ff00ff\">     โขนเรือเป็น &quot;พญาอนันตนาคราช&quot; หรือนาค ๗ เศียร โดยปกติจะใช้เป็นเรือพระที่นั่งรอง <br />\nหรือเรือเชิญผ้าพระกฐิน หรือประดิษฐานบุษบกสำหรับพระพุทธรูปสำคัญ <br />\nนับเป็นเรือพระที่นั่งที่มีความงดงามอีกลำหนึ่ง อนึ่ง เคยมีการพิมพ์รูปเรือพระที่นั่ง<br />\nอนันตนาคราชด้านหลังธนบัตร ๒๐ บาท โดยจัดพิมพ์และใช้ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๑๕ ปัจจุบัน<br />\nเลิกพิมพ์แล้ว </span>\n</p>\n<p></p>', created = 1715907098, expire = 1715993498, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:37049c9930c1d0c4d9b5c61c5abbf5e5' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

เรื่ออนันตนาคราช

รูปภาพของ pch6554

 ประวัติโดยย่อ...(กาพย์แห่เรือ)

 

     เรือพระที่นั่งอนันตนาคราช เป็นเรือพระที่นั่งบัลลังก์ในกระบวนพยุหยาตราชลมารค
สร้างขึ้นตั้งแต่สมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ลำปัจจุบันมีการสร้างใหม่
ในสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว สำเร็จเมื่อวันที่ ๑๕ เมษายน พ.ศ. ๒๔๕๗
ลำเรือภายนอกทาสีเขียว ท้องเรือภายในทาสีแดง ยาว ๔๒.๙๕ เมตร กว้าง ๒.๙๕ เมตร
ลึก ๐.๗๖ เมตร กินน้ำลึก ๐.๓๑ เมตร กำลัง ๓.๐๒ เมตร ฝีพาย ๕๔ คน นายท้าย ๒ คน
นายเรือ ๒ คน คนถือธงท้าย ๑ คน พลสัญญาณ ๑ คน คนเห่เรือ ๑ คน

     โขนเรือเป็น "พญาอนันตนาคราช" หรือนาค ๗ เศียร โดยปกติจะใช้เป็นเรือพระที่นั่งรอง
หรือเรือเชิญผ้าพระกฐิน หรือประดิษฐานบุษบกสำหรับพระพุทธรูปสำคัญ
นับเป็นเรือพระที่นั่งที่มีความงดงามอีกลำหนึ่ง อนึ่ง เคยมีการพิมพ์รูปเรือพระที่นั่ง
อนันตนาคราชด้านหลังธนบัตร ๒๐ บาท โดยจัดพิมพ์และใช้ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๑๕ ปัจจุบัน
เลิกพิมพ์แล้ว

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 272 คน กำลังออนไลน์