• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:31a9e067896fad39f08bc5508c207279' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #0000ff\"><b><span style=\"font-size: 25pt; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">ใบงานที่4 เรื่อง โปรแกรมที่ใช้ในงานVideo </span></b></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<br />\n1. ให้นักเรียนอธิบายวิธีการใช้งาน โปรแกรม Movie<br />\nMaker  อย่างละเอียด \n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\nตอบ \n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<b><span style=\"font-size: medium; color: #cc0000\"><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"font-size: small\">1. ส่วนประกอบของโปรแกรม</span></span></span></b>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<img width=\"400\" src=\"http://www.tlcthai.com/backoffice/upload_images/movie_maker/pic_movie/movie02.gif\" height=\"288\" /> <b><span style=\"font-size: medium; color: #cc0000\"><span style=\"color: #ff0000\"></span></span></b>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #ff0000\"></span><b><span style=\"font-size: medium; color: #cc0000\"></span></b>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #000000\">1 เมนูบาร์ และส่วนของไอคอนบาร์ เป็นส่วนที่ใช้สำหรับเรียกคำสั่งต่างๆ ของการสร้าง movie<br />\n</span>\n</p>\n<ol>\n <span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: medium; color: #cc0000\"><br />\n <span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: small\">2 Collections เป็นส่วนที่ใช้เก็บ resource ของการสร้าง movie ไม่ว่าจะเป็น ภาพนิ่ง เสียงเพลง และ movie clip อื่นๆ<br />\n 3 หน้าต่างที่ใช้สำหรับการแสดงของ Collections ต่างๆ เช่น เมื่อเราคลิกเลือก Collections ภาพนิ่ง หน้าต่างนี้จะแสดงภาพนิ่งต่างๆ ที่เรา import เข้ามา เป็นต้น เราสามารถปรับแต่งมุมมองในการ view ได้โดยคลิกเลือกเมนู View เลือก Thumbnails, List หรือ Details<br />\n 4 หน้าต่างแสดงผลงาน หรือ movie ที่เรากำลังสร้าง หรือแก้ไข<br />\n 5 Timeline เป็นส่วนที่ใช้สำหรับแสดง movie ภาพ หรือเสียงที่เราลือกมาปรับแต่ง โดยมีระยะเวลาเป็นตัวกำหนดให้ว่า แต่ละอย่างจะแสดงด้วยความยาวเท่าใด </span></span></span></span></span></span><b><span style=\"font-size: medium; color: #cc0000\"><span style=\"color: #000000\"><br />\n </span>\n<p> <span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"font-size: small\">2. เริ่มต้นการสร้างหนังเรื่องแรก<br />\n </span><span style=\"color: #000000\"><br />\n </span><br />\n </span></p></span></b><span style=\"font-size: medium; color: #cc0000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\">การที่เราจะสร้างหนัง สิ่งสำคัญก่อนที่จะลงมือ คือ เราจะต้องวางแผน หรือวางเค้าโครงเรื่องเสียก่อนว่า หนังของเราจะต้องประกอบไปด้วยอะไรบ้าง เช่น มีฉากเริ่มต้นว่าเป็นเรื่องอะไร ในแต่ละฉากมีตอนใดบ้าง มีเสียงดนตรีแบบไหน และตอนจบจะเป็นอย่างไร (แนะนำให้ลองดู Video ที่เราดูกันเป็นตัวอย่างก่อน) ถ้าพูดเป็นภาษาของการสร้างหนังก็คือ การสร้าง Storyboard ก่อน.. หลังจากได้แล้ว ก็เตรียมการโดยสร้างฉากต่างๆ ที่เราต้องการ ไม่ว่าจะเป็นภาพนิ่ง อาจสร้างด้วยโปรแกรม Adobe Photoshop เป็นต้น</span> </span>\n<p>\n &nbsp;\n </p>\n<p> </p></span><br />\n <span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><b>ทดลองสร้างหนังเรื่องแรก</b></span></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"> \n<p>\n 1. เริ่มต้นการด้วยเปิดโปรแกรม จะมีหน้าต่าง project ใหม่ให้สร้างอัตโนมัติ แต่ถ้าต้องการเปิดงานใหม่ ให้คลิกเมนู File เลือก New และคลิก Project (การสร้าง project จะสร้างครั้งละหนึ่ง Project เท่านั้น)<br />\n 2. นำมูลข้อมูลที่สร้างเตรียมไว้ มาเก็บใน Collections ก่อน กรณีสร้างสร้างจากไฟล์ VCD ที่เรามีอยู่ (เพื่อนำมาตัดต่อ) ให้คลิกที่เมนู File เลือก Import และคลิกเลือกไฟล์หนังในแผ่น CD ที่ต้องการ (คำแนะนำ กรณีดึงไฟล์หนังจากแผ่น VCD โปรแกรมจะนำไฟล์จากแผ่น VCD มาเก็บไว้เป็น Movie Clip เล็ก ๆ ซึ่งกว่าจะดึงไฟล์ได้หมด จะต้องใช้เวลานานพอสมควร ทั้งนี้ขึ้นกับคุณสมบัติของเครื่องคอมฯ ของคุณเอง) ดูภาพประกอบ</p>\n<p>\n </p>\n<p> </p></span></span>\n</ol>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><img width=\"300\" src=\"http://www.tlcthai.com/backoffice/upload_images/movie_maker/pic_movie/movie03.gif\" height=\"216\" /></span>\n</p>\n<ol>\n <span style=\"color: #000000\"><br />\n </span>\n</ol>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><br />\n</span>\n</p>\n<ol>\n <span style=\"color: #000000\"><br />\n </span>\n</ol>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"></span>\n</p>\n<ol>\n <span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: medium; color: #cc0000\"><span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\">3. ขอย้ำ Movie ที่ดึงเข้ามาเก็บไว้ใน Collections จะถูกแบ่งเป็นส่วนเล็กๆ<br />\n 4. เริ่มต้นสร้างโดยการดึงภาพจากด้านบน มาวางไว้บน Timeline ด้านล่าง จะได้ดังภาพประกอบดังนี้<br />\n </span>\n<p> </p></span></span></span>\n</ol>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: small\"><img width=\"300\" src=\"http://www.tlcthai.com/backoffice/upload_images/movie_maker/pic_movie/movie01.gif\" height=\"216\" /><br />\n</span></span>\n</p>\n<ol>\n <span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: medium; color: #cc0000\"><br />\n <span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #000000\">5. ถ้าต้องการดู Movie ที่เราสร้างว่าเป็นอย่างไร ให้คลิกเมนู Play เลือก Play Entire Storyboard/Timeline<br />\n 6. บันทึก Movie ที่สร้างไว้ โดยคลิกเมนู File เลือก Save Movie ในหน้าต่าง Save Movie ให้คลิกปุ่มแต่งคุณภาพของ Movie โดยการคลิกที่ Setting ถ้าต้องการให้ Movie มีคุณภาพดีที่สุดให้คลิกเลือก High quality นอกจากนี้เรายังสามารถปรับ Movie ที่ได้และจัดส่งเป็น email ไปให้เพื่อนๆ ได้ชมได้ทันที โดยการคลิกเมนู File เลือก Sent Movie To และเลือก E-mail <br />\n </span><br />\n </span></span></span>\n</ol>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: small\"></span></span></span></span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: small\"></span></span>\n</p>\n<p>\n<b><span style=\"color: #ff0000\">3. การปรับแต่ง แก้ไข Movie</span></b>\n</p>\n<p>\nหลังจากที่เราทำความเข้าใจในการสร้าง Movie แล้วว่า มีขั้นตอนอย่างไร ตอนนี้จะแนะนำการปรับแต่ง แก้ไข Movie ที่เราสร้างขึ้น โดยเราสามารถแก้ไข เพิ่มเติมแก้ไข ปรับเปลี่ยนตำแหน่งของ Movie Clip ที่เราได้เลือกใส่ลงไปใน Timeline, สามารถปรับตำแหน่งเริ่มต้นและลงท้ายของแต่ละ Movie Clipได้ รวมทั้งเพิ่มความนุ่มนวลในการเปลี่ยนของแต่ละ Movie Clip ได้โดยมีขั้นตอนดังนี้\n</p>\n<p>\n<br />\nเพิ่มหรือลด Movie Clip, Image\n</p>\n<p>\nการ ทำงานย่อมมีอาจมีการเปลี่ยนใจกันได้ เช่น การใส่ Movie Clip ลงไปแล้ว หลังจากการทดสอบปรากฏว่า ไม่น่าดูหรือขัดๆ สายตา เป็นต้น ดังนั้น การแก้ไขย่อมเกิดขึ้นได้ สำหรับคำสั่งหรือวิธีการแก้ไข ให้ทำตามดังนี้\n</p>\n<p>\no ถ้าต้องการเพิ่ม Movie Clip หรือ Image ใดๆ ให้คลิกและลากไปวางไว้บน Timeline ในตำแหน่งที่ต้องการ (โปรแกรมจะทำการแทรกไฟล์ให้อัตโนมัติ)<br />\no ถ้าต้องการลบ Movie Clip หรือ Image ใดๆ ให้คลิกลือก Movie Clip หรือ Image ก่อน จากนั้นคลิกขวา เลือกคำสั่ง Delete<br />\no ถ้าต้องการย้ายตำแหน่งของ Movie Clip ที่ใส่ลงใน Timeline ให้คลิกเลือก คลิกค้างไว้ และลากไปวางในตำแหน่งที่ต้องการ\n</p>\n<p>\nเลือกตำแหน่งเริ่มต้นหรือตำแหน่งท้ายสุด ของ Movie Clip\n</p>\n<p>\nเนื่อง จาก Movie Clip ที่เรา import เข้ามา บางครั้งเราต้องการเพียงบางส่วน (ตัวอย่างเช่น ตอนต้นของ Movie Clip นั้นยาวเกินไป เป็นต้น) แต่เนื่องจากโปรแกรม Windows Movie Maker มีการ import เข้ามาอัตโนมัติ ซึ่งยังไม่เป็นที่ถูกใจของเรา เราสามารถยกเลิกการแสดงบางส่วนของ Movie Clip ได้ตามใจชอบ โดยมีคำสั่งในการใช้งานดังนี้..\n</p>\n<p>\n1. ให้คลิกปุ่ม Timeline หรือคลิกเมนู View เลือก Timeline จะได้ดังภาพประกอบ\n</p>\n<p>\n<br />\n<img width=\"262\" src=\"http://www.tlcthai.com/backoffice/upload_images/movie_maker/pic_movie/movie05.gif\" height=\"61\" /> \n</p>\n<p>\n2. ถ้าต้องการปรับตำแหน่งเริ่มต้น ให้คลิกสามเหลี่ยมด้านซ้ายมือ คลิกและลากไปยังขวามือ<br />\n3. ในทางกลับกัน ถ้าต้องการปรับตำแหน่งท้ายสุด ให้คลิกสามเหลี่ยมด้านขวามือ คลิกและลากไปยังซ้ายมือ เพิ่มความนุ่มนวลในขณะเปลี่ยน Movie Clip แต่ะละอัน การเปลี่ยนฉาก จากฉากหนึ่งเป็นอีกฉากหนึ่ง ถ้าเป็นการเปลี่ยนแบบห้วนๆ คือ เปลี่ยนเป็นอีกฉากหนึ่งทันที ย่อมอาจทำให้เกิดความรู้สึกสะดุด แต่ถ้าเปลี่ยนเป็นฉากที่มีการซ้อนภาพจากฉากหนึ่งไปเป็นอีกฉากหนึ่ง ย่อมทำให้เกิดความนุ่มนวล ราบรื่นในการแสดง Movie วิธีการนี้เราสามารถนำมาปรับแต่งใน Movie ของเราได้โดยมีวิธีการดังนี้..\n</p>\n<p>\n* ให้คลิกปุ่ม Timeline หรือคลิกเมนู View เลือก Timeline จะได้ดังภาพประกอบ\n</p>\n<p>\n<br />\n<img width=\"370\" src=\"http://www.tlcthai.com/backoffice/upload_images/movie_maker/pic_movie/movie04.gif\" height=\"161\" />\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n* คลิกเลือก Movie Clip ที่ต้องการปรับแต่ง ดูภาพตัวอย่างประกอบ\n</p>\n<p>\n<img width=\"262\" src=\"http://www.tlcthai.com/backoffice/upload_images/movie_maker/pic_movie/movie05.gif\" height=\"61\" />\n</p>\n<p>\n* คลิกและลากให้เลื่อมล้ำไปทางซ้าย มือเล็กน้อย (ทั้งนี้ การปรับความเลื่อมล้ำมากหรือน้อย จะมีผลกับการปรับเปลี่ยนภาพจากภาพหนึ่งเป็นอีกภาพหนึ่ง ซึ่งจะทำให้เกิดความนุ่มนวลในขณะเปลี่ยนภาพ)\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n-------------------------------------------------------------------------------------\n</p>\n<p>\n2.ให้นักเรียนอธิบายวิธีการใช้งาน โปรแกรม Ulead Video Studio  อย่างละเอียด<br />\nตอบ\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\"><b><br />\nเริ่มต้นใช้งาน</b></span> \n</p>\n<p>\nเมื่อเปิดโปรแกรม จะปรากฏหน้าจอให้เลือกโหมดในการตัดต่อวีดีโอดังต่อไปนี้\n</p>\n<p>\n<br />\n* DV-to-DVD Wizard เป็นการจับภาพจากกล้องวีดีโอ ใส่ธีม แล้วก็เขียนเป็น DVD<br />\n* VideoStudio Movie Wizard เหมาะสำหรับผู้ที่เริ่มตัดต่อวีดีโอ จะมีขั้นตอนแนะนำตั้งแต่เริ่มจับภาพ/นำไฟล์วีดีโอเข้ามา เลือกเทมเพลต แล้วก็เขียนวีดีโอลงแผ่น ด้วยขั้นตอนอย่างง่ายๆ หรือจะนำวีดีโอที่ได้ไปตัดต่อกับ VideoStudio Editor ก็ได้อีกเช่นกัน<br />\n* VideoStudio Editor โหมดนี้ให้คุณได้ใช้คุณลักษณะการตัดต่อวีดีโอของ Ulead ได้อย่างเต็มที่ เรียกได้ว่ามีเครื่องมือครบทุกอย่างในการสร้างแผ่น VCD/DVD จากกล้องวีดีโอดิจิตอล เริ่มตั้งแต่ จับภาพ/เพิ่มคลิปวีดีโอ ใส่เอ็ฟเฟ็กต์ ใส่ตัวหนังสือ ทำภาพซ้อน ใส่คำบรรยาย ดนตรีประกอบ ไปจนถึงเขียนวีดีโอลงบนแผ่น CD/DVD หรือนำไฟล์ไปเผยแพร่บนเว็บ\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<img width=\"582\" src=\"http://www.xirbit.com/html/programs/ulead9/start01.gif\" height=\"426\" />\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\nในที่นี้จะสอนเฉพาะการใช้งานแบบ VideoStudio Editor เท่านั้น เมื่อเลือกรายการ VideoStudio Editor แล้วก็สามารถสลับไปยังรายการอื่นๆ ได้โดยเลือกรายการจากเมนู Tools\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<b>จัดการกับคลิปวิดีโอ</b>\n</p>\n<p>\nเมื่อ เรานำคลิปวิดีโอเข้ามาไว้ที่ Library (Library มีตัวเลือกให้เราเลือกโหลดได้ทั้งไฟล์เสียง ไฟล์ภาพนิ่ง (ภาพถ่าย) นอกเหนือไปจากการให้โหลดไฟล์วิดีโอ) เมื่อเราคลิกไปยังคลิปวิดีโอตัวที่ต้องการ ในหน้าจอ Preview จะแสดงเนื้อหาของวิดีโอนั้นให้เราได้รับชมได้\n</p>\n<p>\n* งานแรกของคลิ ปวิดีโอ ส่วนใหญ่เราจะต้องทริม (Trim) เนื้อหาของวิดีโอนั้นๆ เพื่อตัดส่วนที่เราไม่ต้องการออกไป (แต่เนื้อหาของไฟล์วิดีโอตัวจริงยังอยู่ครบเหมือนเดิม) ซึ่งมีผลเฉพาะตอนเรานำเนื้อหามาใช้ตัดต่อในโปรแกรม Ulead Video Studio การทริมคลิปวิดีโอ เราสามารถใช้การเลื่อน Trim Handles ที่อยู่ด้านหน้า และด้านหลัง เลื่อนเพื่อได้เนื้อหาตามต้องการ (เป็นแถบสีน้ำเงิน) แล้วใช้การ Play ตรวจสอบดูว่า ได้ผลตรงใจแค่ไหน หรือเราจะใช้การทริมอีกวิธีหนึ่ง คือการเลื่อน Jog Slider ไปยังตำแหน่งที่ต้องการ หากต้องการเริ่มตัดตั้งแต่ตรงไหน ก็ให้ไปคลิกที่ปุ่ม Mark In และเลื่อนตัว Jog Slider ไปยังตำแหน่งสุดท้ายที่ต้องการตัด แล้วคลิกไปที่ปุ่ม Mark Out (จะได้ผลการเลือกที่เป็นแถบสีน้ำเงิน) (ดังรูปที่ 1)\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<br />\n<img width=\"450\" src=\"http://www.arip.co.th/images///2551/ctm/325/learn01.jpg\" height=\"304\" /><br />\nรูปที่ 1\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n* ถ้า ในกรณีที่คลิปวิดีโอยาวมากๆ การเลื่อนตัว Jog Slider ไปยังตำแหน่งต่างๆ ดูแล้วค่อนข้างยุ่งยาก เราสามารถใช้การแบ่งคลิปวิดีโอออกเป็น 2 ไฟล์ได้ (แต่ไฟล์จริงยังคงเหมือนเดิมอยู่) ให้เราเลื่อนตัว Jog Slider ไปยังตำแหน่งที่ต้องการ จากนั้นก็ไปคลิกที่ปุ่ม Cut เป็นรูปกรรไกร คลิปนั้นจะถูกแบ่งออกเป็น 2 ไฟล์ทันที ดูได้ที่ Library (ดังรูปที่ 2)\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<br />\n<img width=\"450\" src=\"http://www.arip.co.th/images///2551/ctm/325/learn02.jpg\" height=\"228\" /><br />\nรูปที่ 2\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n* เมื่อ เราเลือกคลิปวิดีโอไหน ตรงแท็บ Video มีตัวเลือกให้เราปรับค่าของคลิปวิดีโอนั้นอย่างมากมายครับ เช่นการปรับระดับเสียง ปิดเสียง หรือทำ Fade เสียงเข้าออก , การสั่งหมุนภาพ , ลด Speed ของการแสดงผลคลิปวิดีโอ (Playback Speed) เช่นเราต้องการทำภาพให้ Slow Motion หรือให้ภาพเดินเร็วขึ้น เหมือนหนังการ์ตูน นอกจากนี้ยังสามารถที่จะสั่งให้เล่นภาพจากหลังมาหน้าแทนได้ (Reverse video) แยกเสียงออกจากไฟล์ภาพ (Split Audio) การปรับสี (Color Correction) ปรับให้ภาพสว่างขึ้น มืดลง หรือเป็นภาพสีแนว Art แนว Pop ที่ใช้การปรับแบบเลื่อนแถบสไลด์ หากเราต้องการให้ค่าแถบสไลด์กลับมายังค่าเดิมให้ดับเบิลคลิกที่แถบสไลด์ เพื่อกลับคืนค่า (ดังรูปที่ 3)\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<br />\n<img width=\"400\" src=\"http://www.arip.co.th/images///2551/ctm/325/learn03.jpg\" height=\"390\" /><br />\nรูปที่ 3\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p>\nนำคลิปมาเรียงร้อยบน Timeline\n</p>\n<p>\nผม ขอเน้นอีกทีนะครับ คำว่าคลิป เหมารวมทั้งไฟล์วิดีโอ ไฟล์เสียง ไฟล์ภาพนิ่ง การเรียงร้อยวิดีโอเป็นเรื่องเป็นราว เรามักจะทำกันในโหมด Timeline ที่อยู่ด้านล่างของจอภาพโปรแกรม ซึ่งปกติจะเป็นโหมด Storyboard ให้เราคลิกที่ปุ่ม Timeline เพื่อสลับโหมด\n</p>\n<p>\nเมื่อเราเปิดทำงานในโหมด Timeline สังเกตดูนะครับ ลักษณะของ Timeline จะเหมือนกับโปรแกรมตัดต่อค่ายอื่นๆ คือมีหลายแทร็ก (บางท่านเรียกว่าหลายๆ ชั้น) เริ่มจากชั้นบนก่อนนะครับ เป็น Video Track สำหรับนำเอาไฟล์วิดีโอมาวางไว้, Overlay Track สำหรับใส่วิดีโอเหมือนกัน แต่เป็นลักษณะให้ไฟล์วิดีโอแสดงภาพซ้อนทับกันได้กับ Video Track ต่อมาเป็น Title Track สำหรับใส่ไตเติล ข้อความประกอบลงไปในวิดีโอ, Voice Track สำหรับอัดเสียงลงไป และ Music Track สำหรับใส่เสียงเพลงบรรเลงประกอบ<br />\nสิ่ง หนึ่งที่คุณจำเป็นต้องใช้กันบ่อยๆ เพื่อดูงานบน Timeline ก็คือการใช้ปุ่ม Zoom ครับ สำหรับให้ย่อ หรือขยายดูงานที่อยู่บน Timeline (ดังรูปที่ 4)\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<img width=\"400\" src=\"http://www.arip.co.th/images///2551/ctm/325/learn04.jpg\" height=\"313\" /> \n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\nรูปที่ 4\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\nเมื่อ เรานำคลิปมาเรียงร้อยกันบน Timeline ที่จอภาพ Preview เมื่อเราสั่ง Play จะกลายเป็นเล่นไฟล์งานที่อยู่บน Timeline แทน สังเกตง่ายๆ ข้อความตรงปุ่ม Play จะเปลี่ยนเป็นตัว Project (ตัวใหญ่กว่า) แทนที่จะเป็น Clip เหมือนกับตอนทริม การเลื่อนไปยังตำแหน่งบน Timeline ไม่ต้องบอกนะครับ เราก็ใช้ตัว Jog Slider ที่อยู่บนไม้บรรทัด Timeline เลื่อนไปมา\n</p>\n<p>\nเมื่อ เราวางคลิปวิดีโอไว้บน Timeline (ดึงไล่เรียงต่อๆ กันตามลำดับได้เลย วางไปแล้วสามารถคลิกเพื่อสลับตำแหน่งก็ยังได้) ลองเลื่อนเมาส์ไปยังต้นคลิป หรือท้ายคลิป เราสามารถที่จะทริมจากตรงนี้ได้เหมือนกัน และถ้าคุณกดปุ่ม Shift ค้างไว้ จากที่เป็นการทริม (ตัวลูกศรเปลี่ยนจากสีดำเป็นสีขาว) จะกลายเป็นการเปลี่ยน Speed ได้ ถ้าเราดึงคลิปให้ยืดออกไป จะกลายเป็นการทำภาพ Slow Motion และถ้าดึงคลิปให้ย่นเข้ามา จะเป็นการทำเร่ง Speed ภาพ (ดังรูปที่ 5)\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<img width=\"350\" src=\"http://www.arip.co.th/images///2551/ctm/325/learn05.jpg\" height=\"171\" />\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\nรูปที่ 5\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\nใส่กรอบให้วิดีโอ\n</p>\n<p>\nจาก คำถามที่หลายๆ ท่านเคยถามไถ่มา บอกว่าเห็นในไฟล์วิดีโองานแต่งงานของเพื่อน ทำไมมีกรอบรูปหัวใจแสดงได้ด้วย อยากจะบอกว่า สำหรับ Ulead Video Studio เป็นเรื่องที่ง่ายมาก โดยเฉพาะท่านที่มีแผ่นโปรแกรม Ulead Video Studio 11+ ที่อยู่ในรูปแบบแผ่นซีดี ในแผ่นที่สองมีกรอบรูปแถมมาให้มากมายครับ\n</p>\n<p>\n* ตรง Library ให้เลือกไปที่ Decoration -&gt; Frame จากนั้นให้คลิกที่ปุ่ม Load Decoration แล้วก็ไปเลือกกรอบภาพจากแผ่นโปรแกรมแผ่นสองเข้ามา (ดังรูปที่ 6)\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<br />\n<img width=\"450\" src=\"http://www.arip.co.th/images///2551/ctm/325/learn06.jpg\" height=\"288\" /><br />\nรูปที่ 6\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n* ที่ Library ในโหมด Frame เราก็ลากกรอบรูปที่ต้องการ มาวางไว้ที่แทร็ก Overlay ปรับหรือลดเวลาในการแสดงกรอบให้เท่ากับตัววิดีโอ หรือจะน้อยกว่าก็ได้ เพราะถ้าคุณอยากจะใส่กรอบหลายๆ รูปแบบก็สามารถนำกรอบตัวอื่นมาวางเรียงต่อกันไปได้เรื่อยๆ ถ้ากรอบแสดงไม่เต็มจอ คุณสามารถคลิกขวาที่ตัวกรอบจากช่อง Preview เลือกคำสั่ง Fit to Screen กรอบก็จะแสดงแบบเต็มจอให้แล้ว (ดังรูปที่ 7)\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<img width=\"450\" src=\"http://www.arip.co.th/images///2551/ctm/325/learn07.jpg\" height=\"390\" />\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\nรูปที่ 7\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<b></b>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<b>ใส่ไตเติลบรรยายสรรพคุณ</b>\n</p>\n<p>\nโดยส่วนใหญ่โฮมวิดีโอ มักจะมีข้อความแซวกัน แนะนำว่าเป็นวิดีโอเกี่ยวกับอะไร ใครทำอะไร เมื่อไหร่ ที่ไหน การใส่ไตเติล หรือข้อความประกอบวิดีโอไม่ได้ยากเลยครับ โดยให้เราคลิกเลือกไปที่ Title แล้วก็เลื่อนตัว Jog Slider ไปยังตำแหน่งที่เราต้องการใส่ข้อความ\n</p>\n<p>\n* การใส่ข้อความแบบใส่เอง ให้เราดับเบิลคลิกที่ช่อง Preview จากนั้นก็ลงมือพิมพ์ข้อความลงไป ทำการปรับค่าเรื่องฟอนต์ ขนาด สี เลือกว่าจะเป็นข้อความแบบบรรทัดเดียว (Single title) หรือหลายบรรทัด (Multiple Titles) ให้มากำหนดที่แท็บ Edit (ดังรูปที่ 1)\n</p>\n<p>\n<img width=\"450\" src=\"http://www.arip.co.th/images///2551/ctm/325/learn15.jpg\" height=\"233\" /><br />\nรูปที่ 1\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n* ไต เติลที่เราพิมพ์เสร็จแล้ว จะไปอยู่ที่ Title Track คุณสามารถปรับแต่งเวลาที่ใช้ในการแสดงได้ตามใจชอบครับ นอกจากนี้ยังสามารถทำข้อความให้มีเอฟเฟ็กต์เช่นค่อยๆ โผล่โชว์ออกมาทีละตัวก็ยังได้ โดยการเลือกไปที่แท็บ Animation เลือกรูปแบบจากช่อง Type แล้วก็ติ้กรายการ Apply animation (ดังรูปที่ 2)\n</p>\n<p>\n<img width=\"450\" src=\"http://www.arip.co.th/images///2551/ctm/325/learn16.jpg\" height=\"291\" /><br />\nรูปที่ 2\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<b></b>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\nเสียงเพลงประกอบงาน\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\nเรื่อง แบบนี้ขาดกันไม่ได้ครับสำหรับเพลงประกอบแบ็กกราวนด์กับงานวิดีโอ ไม่งั้นเป็นหนังใบ้ (รับประทาน) แน่นอนครับ โปรแกรมนี้รองรับไฟล์ฟอร์แมตเสียงยอดนิยม ทั้ง .mp3 , mp4 , m4a , aif , au โดยเราสามารถดึงไฟล์เสียงเข้ามาไว้ใน Library ก่อน จากนั้นก็ลากไฟล์เสียงตามที่ต้องการไปวางไว้ที่ Audio Track กัน โดยไฟล์เสียงนี้ เราสามารถปรับลดเพิ่มเสียงได้ รวมถึงกำหนดให้มีการ Fade in Fade out ได้ด้วย\n</p>\n<p>\nสำหรับท่านที่อยากปรับลดระดับเสียงแบบ ตรงนี้ให้เบา ตรงนี้ให้ดัง สามารถปรับได้ครับ โดยให้คลิกเปลี่ยนโหมดเป็น Audio View จากนั้นไปคลิกไฟล์เสียงใน Audio Track เส้นสำหรับปรับระดับเสียงจะเป็นเส้นสีแดง การเพิ่มจุดให้คลิกตรงเส้นสีแดง จากนั้นก็ดึงจุดขึ้นลงเพื่อปรับระดับเสียงได้ตามใจชอบ (ดังรูปที่ 3)\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<img width=\"400\" src=\"http://www.arip.co.th/images///2551/ctm/325/learn17.jpg\" height=\"241\" />\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\nรูปที่ 3\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n&nbsp;\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\nทำผลงานออกไปอวด\n</p>\n<p>\nเสร็จ จากการอดทนจัดเรียงตัดต่อโฮมวิดีโอเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ก่อนส่งผลงานออกไปอวด ควรจะทำการเซฟโปรเจ็กต์เอาไว้ก่อน เพื่อเอาไว้ใช้สำหรับเรียกแก้ไขงานทีหลัง ไฟล์วิดีโอของเราหากมีการใส่เอฟเฟ็กต์ มีการตัดต่อเกิดขึ้น ตอนส่งผลงานออกไป จะต้องเสียเวลาไปไม่น้อย เพราะโปรแกรมจำเป็นต้องเรนเดอร์ภาพและเสียงกันใหม่\n</p>\n<p>\nการส่งผลงานออกไป ให้คลิกที่คำสั่ง Share มีตัวเลือกให้ทั้งสร้างผลงานออกมาเป็นไฟล์ (Create Video File) , เขียนออกมาเป็นแผ่น DVD หรือ VCD (Create Disc), แยกออกมาเฉพาะเสียง (Create Sound File), ส่งงานกลับไปยังม้วนเทป MiniDV (DV Recording) รวมถึงการทำเป็นไฟล์เพื่อใช้สำหรับเผยแพร่ทางอินเทอร์เน็ต (Share Video Online) (ดังรูปที่ 4)\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<img width=\"350\" src=\"http://www.arip.co.th/images///2551/ctm/325/learn18.jpg\" height=\"333\" />   <br />\nรูปที่ 4\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\">\n<br />\nการ ทำผลงานออกมาในรูปของไฟล์วิดีโอในฟอร์แมตมาตรฐาน เช่น MPEG-1 สำหรับนำไปเขียนใส่แผ่น CD, MPEG-2 เพื่อเขียนใส่แผ่น DVD , เป็นไฟล์ฟอร์แมต MPEG-4 ทั้งในมาตรฐาน H.264 เพื่อนำไปรับชมทางอุปกรณ์มือถือ คงทำได้ไม่ยาก เพราะโปรแกรมได้แบ่งออกเป็นหมวดหมู่ไว้ให้อย่างชัดเจน \n</p>\n', created = 1729452468, expire = 1729538868, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:31a9e067896fad39f08bc5508c207279' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ใบงานที่ 4

รูปภาพของ blm17848

ใบงานที่4 เรื่อง โปรแกรมที่ใช้ในงานVideo

 


1. ให้นักเรียนอธิบายวิธีการใช้งาน โปรแกรม Movie
Maker  อย่างละเอียด 

 

ตอบ 

 

1. ส่วนประกอบของโปรแกรม

 

 

1 เมนูบาร์ และส่วนของไอคอนบาร์ เป็นส่วนที่ใช้สำหรับเรียกคำสั่งต่างๆ ของการสร้าง movie


    2 Collections เป็นส่วนที่ใช้เก็บ resource ของการสร้าง movie ไม่ว่าจะเป็น ภาพนิ่ง เสียงเพลง และ movie clip อื่นๆ
    3 หน้าต่างที่ใช้สำหรับการแสดงของ Collections ต่างๆ เช่น เมื่อเราคลิกเลือก Collections ภาพนิ่ง หน้าต่างนี้จะแสดงภาพนิ่งต่างๆ ที่เรา import เข้ามา เป็นต้น เราสามารถปรับแต่งมุมมองในการ view ได้โดยคลิกเลือกเมนู View เลือก Thumbnails, List หรือ Details
    4 หน้าต่างแสดงผลงาน หรือ movie ที่เรากำลังสร้าง หรือแก้ไข
    5 Timeline เป็นส่วนที่ใช้สำหรับแสดง movie ภาพ หรือเสียงที่เราลือกมาปรับแต่ง โดยมีระยะเวลาเป็นตัวกำหนดให้ว่า แต่ละอย่างจะแสดงด้วยความยาวเท่าใด

    2. เริ่มต้นการสร้างหนังเรื่องแรก


    การที่เราจะสร้างหนัง สิ่งสำคัญก่อนที่จะลงมือ คือ เราจะต้องวางแผน หรือวางเค้าโครงเรื่องเสียก่อนว่า หนังของเราจะต้องประกอบไปด้วยอะไรบ้าง เช่น มีฉากเริ่มต้นว่าเป็นเรื่องอะไร ในแต่ละฉากมีตอนใดบ้าง มีเสียงดนตรีแบบไหน และตอนจบจะเป็นอย่างไร (แนะนำให้ลองดู Video ที่เราดูกันเป็นตัวอย่างก่อน) ถ้าพูดเป็นภาษาของการสร้างหนังก็คือ การสร้าง Storyboard ก่อน.. หลังจากได้แล้ว ก็เตรียมการโดยสร้างฉากต่างๆ ที่เราต้องการ ไม่ว่าจะเป็นภาพนิ่ง อาจสร้างด้วยโปรแกรม Adobe Photoshop เป็นต้น

     


    ทดลองสร้างหนังเรื่องแรก

    1. เริ่มต้นการด้วยเปิดโปรแกรม จะมีหน้าต่าง project ใหม่ให้สร้างอัตโนมัติ แต่ถ้าต้องการเปิดงานใหม่ ให้คลิกเมนู File เลือก New และคลิก Project (การสร้าง project จะสร้างครั้งละหนึ่ง Project เท่านั้น)
    2. นำมูลข้อมูลที่สร้างเตรียมไว้ มาเก็บใน Collections ก่อน กรณีสร้างสร้างจากไฟล์ VCD ที่เรามีอยู่ (เพื่อนำมาตัดต่อ) ให้คลิกที่เมนู File เลือก Import และคลิกเลือกไฟล์หนังในแผ่น CD ที่ต้องการ (คำแนะนำ กรณีดึงไฟล์หนังจากแผ่น VCD โปรแกรมจะนำไฟล์จากแผ่น VCD มาเก็บไว้เป็น Movie Clip เล็ก ๆ ซึ่งกว่าจะดึงไฟล์ได้หมด จะต้องใช้เวลานานพอสมควร ทั้งนี้ขึ้นกับคุณสมบัติของเครื่องคอมฯ ของคุณเอง) ดูภาพประกอบ




    3. ขอย้ำ Movie ที่ดึงเข้ามาเก็บไว้ใน Collections จะถูกแบ่งเป็นส่วนเล็กๆ
    4. เริ่มต้นสร้างโดยการดึงภาพจากด้านบน มาวางไว้บน Timeline ด้านล่าง จะได้ดังภาพประกอบดังนี้



    5. ถ้าต้องการดู Movie ที่เราสร้างว่าเป็นอย่างไร ให้คลิกเมนู Play เลือก Play Entire Storyboard/Timeline
    6. บันทึก Movie ที่สร้างไว้ โดยคลิกเมนู File เลือก Save Movie ในหน้าต่าง Save Movie ให้คลิกปุ่มแต่งคุณภาพของ Movie โดยการคลิกที่ Setting ถ้าต้องการให้ Movie มีคุณภาพดีที่สุดให้คลิกเลือก High quality นอกจากนี้เรายังสามารถปรับ Movie ที่ได้และจัดส่งเป็น email ไปให้เพื่อนๆ ได้ชมได้ทันที โดยการคลิกเมนู File เลือก Sent Movie To และเลือก E-mail

3. การปรับแต่ง แก้ไข Movie

หลังจากที่เราทำความเข้าใจในการสร้าง Movie แล้วว่า มีขั้นตอนอย่างไร ตอนนี้จะแนะนำการปรับแต่ง แก้ไข Movie ที่เราสร้างขึ้น โดยเราสามารถแก้ไข เพิ่มเติมแก้ไข ปรับเปลี่ยนตำแหน่งของ Movie Clip ที่เราได้เลือกใส่ลงไปใน Timeline, สามารถปรับตำแหน่งเริ่มต้นและลงท้ายของแต่ละ Movie Clipได้ รวมทั้งเพิ่มความนุ่มนวลในการเปลี่ยนของแต่ละ Movie Clip ได้โดยมีขั้นตอนดังนี้


เพิ่มหรือลด Movie Clip, Image

การ ทำงานย่อมมีอาจมีการเปลี่ยนใจกันได้ เช่น การใส่ Movie Clip ลงไปแล้ว หลังจากการทดสอบปรากฏว่า ไม่น่าดูหรือขัดๆ สายตา เป็นต้น ดังนั้น การแก้ไขย่อมเกิดขึ้นได้ สำหรับคำสั่งหรือวิธีการแก้ไข ให้ทำตามดังนี้

o ถ้าต้องการเพิ่ม Movie Clip หรือ Image ใดๆ ให้คลิกและลากไปวางไว้บน Timeline ในตำแหน่งที่ต้องการ (โปรแกรมจะทำการแทรกไฟล์ให้อัตโนมัติ)
o ถ้าต้องการลบ Movie Clip หรือ Image ใดๆ ให้คลิกลือก Movie Clip หรือ Image ก่อน จากนั้นคลิกขวา เลือกคำสั่ง Delete
o ถ้าต้องการย้ายตำแหน่งของ Movie Clip ที่ใส่ลงใน Timeline ให้คลิกเลือก คลิกค้างไว้ และลากไปวางในตำแหน่งที่ต้องการ

เลือกตำแหน่งเริ่มต้นหรือตำแหน่งท้ายสุด ของ Movie Clip

เนื่อง จาก Movie Clip ที่เรา import เข้ามา บางครั้งเราต้องการเพียงบางส่วน (ตัวอย่างเช่น ตอนต้นของ Movie Clip นั้นยาวเกินไป เป็นต้น) แต่เนื่องจากโปรแกรม Windows Movie Maker มีการ import เข้ามาอัตโนมัติ ซึ่งยังไม่เป็นที่ถูกใจของเรา เราสามารถยกเลิกการแสดงบางส่วนของ Movie Clip ได้ตามใจชอบ โดยมีคำสั่งในการใช้งานดังนี้..

1. ให้คลิกปุ่ม Timeline หรือคลิกเมนู View เลือก Timeline จะได้ดังภาพประกอบ


 

2. ถ้าต้องการปรับตำแหน่งเริ่มต้น ให้คลิกสามเหลี่ยมด้านซ้ายมือ คลิกและลากไปยังขวามือ
3. ในทางกลับกัน ถ้าต้องการปรับตำแหน่งท้ายสุด ให้คลิกสามเหลี่ยมด้านขวามือ คลิกและลากไปยังซ้ายมือ เพิ่มความนุ่มนวลในขณะเปลี่ยน Movie Clip แต่ะละอัน การเปลี่ยนฉาก จากฉากหนึ่งเป็นอีกฉากหนึ่ง ถ้าเป็นการเปลี่ยนแบบห้วนๆ คือ เปลี่ยนเป็นอีกฉากหนึ่งทันที ย่อมอาจทำให้เกิดความรู้สึกสะดุด แต่ถ้าเปลี่ยนเป็นฉากที่มีการซ้อนภาพจากฉากหนึ่งไปเป็นอีกฉากหนึ่ง ย่อมทำให้เกิดความนุ่มนวล ราบรื่นในการแสดง Movie วิธีการนี้เราสามารถนำมาปรับแต่งใน Movie ของเราได้โดยมีวิธีการดังนี้..

* ให้คลิกปุ่ม Timeline หรือคลิกเมนู View เลือก Timeline จะได้ดังภาพประกอบ


 

* คลิกเลือก Movie Clip ที่ต้องการปรับแต่ง ดูภาพตัวอย่างประกอบ

* คลิกและลากให้เลื่อมล้ำไปทางซ้าย มือเล็กน้อย (ทั้งนี้ การปรับความเลื่อมล้ำมากหรือน้อย จะมีผลกับการปรับเปลี่ยนภาพจากภาพหนึ่งเป็นอีกภาพหนึ่ง ซึ่งจะทำให้เกิดความนุ่มนวลในขณะเปลี่ยนภาพ)

 

-------------------------------------------------------------------------------------

2.ให้นักเรียนอธิบายวิธีการใช้งาน โปรแกรม Ulead Video Studio  อย่างละเอียด
ตอบ


เริ่มต้นใช้งาน
 

เมื่อเปิดโปรแกรม จะปรากฏหน้าจอให้เลือกโหมดในการตัดต่อวีดีโอดังต่อไปนี้


* DV-to-DVD Wizard เป็นการจับภาพจากกล้องวีดีโอ ใส่ธีม แล้วก็เขียนเป็น DVD
* VideoStudio Movie Wizard เหมาะสำหรับผู้ที่เริ่มตัดต่อวีดีโอ จะมีขั้นตอนแนะนำตั้งแต่เริ่มจับภาพ/นำไฟล์วีดีโอเข้ามา เลือกเทมเพลต แล้วก็เขียนวีดีโอลงแผ่น ด้วยขั้นตอนอย่างง่ายๆ หรือจะนำวีดีโอที่ได้ไปตัดต่อกับ VideoStudio Editor ก็ได้อีกเช่นกัน
* VideoStudio Editor โหมดนี้ให้คุณได้ใช้คุณลักษณะการตัดต่อวีดีโอของ Ulead ได้อย่างเต็มที่ เรียกได้ว่ามีเครื่องมือครบทุกอย่างในการสร้างแผ่น VCD/DVD จากกล้องวีดีโอดิจิตอล เริ่มตั้งแต่ จับภาพ/เพิ่มคลิปวีดีโอ ใส่เอ็ฟเฟ็กต์ ใส่ตัวหนังสือ ทำภาพซ้อน ใส่คำบรรยาย ดนตรีประกอบ ไปจนถึงเขียนวีดีโอลงบนแผ่น CD/DVD หรือนำไฟล์ไปเผยแพร่บนเว็บ

 

ในที่นี้จะสอนเฉพาะการใช้งานแบบ VideoStudio Editor เท่านั้น เมื่อเลือกรายการ VideoStudio Editor แล้วก็สามารถสลับไปยังรายการอื่นๆ ได้โดยเลือกรายการจากเมนู Tools

 

 

จัดการกับคลิปวิดีโอ

เมื่อ เรานำคลิปวิดีโอเข้ามาไว้ที่ Library (Library มีตัวเลือกให้เราเลือกโหลดได้ทั้งไฟล์เสียง ไฟล์ภาพนิ่ง (ภาพถ่าย) นอกเหนือไปจากการให้โหลดไฟล์วิดีโอ) เมื่อเราคลิกไปยังคลิปวิดีโอตัวที่ต้องการ ในหน้าจอ Preview จะแสดงเนื้อหาของวิดีโอนั้นให้เราได้รับชมได้

* งานแรกของคลิ ปวิดีโอ ส่วนใหญ่เราจะต้องทริม (Trim) เนื้อหาของวิดีโอนั้นๆ เพื่อตัดส่วนที่เราไม่ต้องการออกไป (แต่เนื้อหาของไฟล์วิดีโอตัวจริงยังอยู่ครบเหมือนเดิม) ซึ่งมีผลเฉพาะตอนเรานำเนื้อหามาใช้ตัดต่อในโปรแกรม Ulead Video Studio การทริมคลิปวิดีโอ เราสามารถใช้การเลื่อน Trim Handles ที่อยู่ด้านหน้า และด้านหลัง เลื่อนเพื่อได้เนื้อหาตามต้องการ (เป็นแถบสีน้ำเงิน) แล้วใช้การ Play ตรวจสอบดูว่า ได้ผลตรงใจแค่ไหน หรือเราจะใช้การทริมอีกวิธีหนึ่ง คือการเลื่อน Jog Slider ไปยังตำแหน่งที่ต้องการ หากต้องการเริ่มตัดตั้งแต่ตรงไหน ก็ให้ไปคลิกที่ปุ่ม Mark In และเลื่อนตัว Jog Slider ไปยังตำแหน่งสุดท้ายที่ต้องการตัด แล้วคลิกไปที่ปุ่ม Mark Out (จะได้ผลการเลือกที่เป็นแถบสีน้ำเงิน) (ดังรูปที่ 1)



รูปที่ 1

 

 

* ถ้า ในกรณีที่คลิปวิดีโอยาวมากๆ การเลื่อนตัว Jog Slider ไปยังตำแหน่งต่างๆ ดูแล้วค่อนข้างยุ่งยาก เราสามารถใช้การแบ่งคลิปวิดีโอออกเป็น 2 ไฟล์ได้ (แต่ไฟล์จริงยังคงเหมือนเดิมอยู่) ให้เราเลื่อนตัว Jog Slider ไปยังตำแหน่งที่ต้องการ จากนั้นก็ไปคลิกที่ปุ่ม Cut เป็นรูปกรรไกร คลิปนั้นจะถูกแบ่งออกเป็น 2 ไฟล์ทันที ดูได้ที่ Library (ดังรูปที่ 2)



รูปที่ 2

 

 

* เมื่อ เราเลือกคลิปวิดีโอไหน ตรงแท็บ Video มีตัวเลือกให้เราปรับค่าของคลิปวิดีโอนั้นอย่างมากมายครับ เช่นการปรับระดับเสียง ปิดเสียง หรือทำ Fade เสียงเข้าออก , การสั่งหมุนภาพ , ลด Speed ของการแสดงผลคลิปวิดีโอ (Playback Speed) เช่นเราต้องการทำภาพให้ Slow Motion หรือให้ภาพเดินเร็วขึ้น เหมือนหนังการ์ตูน นอกจากนี้ยังสามารถที่จะสั่งให้เล่นภาพจากหลังมาหน้าแทนได้ (Reverse video) แยกเสียงออกจากไฟล์ภาพ (Split Audio) การปรับสี (Color Correction) ปรับให้ภาพสว่างขึ้น มืดลง หรือเป็นภาพสีแนว Art แนว Pop ที่ใช้การปรับแบบเลื่อนแถบสไลด์ หากเราต้องการให้ค่าแถบสไลด์กลับมายังค่าเดิมให้ดับเบิลคลิกที่แถบสไลด์ เพื่อกลับคืนค่า (ดังรูปที่ 3)

 



รูปที่ 3

 

นำคลิปมาเรียงร้อยบน Timeline

ผม ขอเน้นอีกทีนะครับ คำว่าคลิป เหมารวมทั้งไฟล์วิดีโอ ไฟล์เสียง ไฟล์ภาพนิ่ง การเรียงร้อยวิดีโอเป็นเรื่องเป็นราว เรามักจะทำกันในโหมด Timeline ที่อยู่ด้านล่างของจอภาพโปรแกรม ซึ่งปกติจะเป็นโหมด Storyboard ให้เราคลิกที่ปุ่ม Timeline เพื่อสลับโหมด

เมื่อเราเปิดทำงานในโหมด Timeline สังเกตดูนะครับ ลักษณะของ Timeline จะเหมือนกับโปรแกรมตัดต่อค่ายอื่นๆ คือมีหลายแทร็ก (บางท่านเรียกว่าหลายๆ ชั้น) เริ่มจากชั้นบนก่อนนะครับ เป็น Video Track สำหรับนำเอาไฟล์วิดีโอมาวางไว้, Overlay Track สำหรับใส่วิดีโอเหมือนกัน แต่เป็นลักษณะให้ไฟล์วิดีโอแสดงภาพซ้อนทับกันได้กับ Video Track ต่อมาเป็น Title Track สำหรับใส่ไตเติล ข้อความประกอบลงไปในวิดีโอ, Voice Track สำหรับอัดเสียงลงไป และ Music Track สำหรับใส่เสียงเพลงบรรเลงประกอบ
สิ่ง หนึ่งที่คุณจำเป็นต้องใช้กันบ่อยๆ เพื่อดูงานบน Timeline ก็คือการใช้ปุ่ม Zoom ครับ สำหรับให้ย่อ หรือขยายดูงานที่อยู่บน Timeline (ดังรูปที่ 4)

 

 

รูปที่ 4

 

 

เมื่อ เรานำคลิปมาเรียงร้อยกันบน Timeline ที่จอภาพ Preview เมื่อเราสั่ง Play จะกลายเป็นเล่นไฟล์งานที่อยู่บน Timeline แทน สังเกตง่ายๆ ข้อความตรงปุ่ม Play จะเปลี่ยนเป็นตัว Project (ตัวใหญ่กว่า) แทนที่จะเป็น Clip เหมือนกับตอนทริม การเลื่อนไปยังตำแหน่งบน Timeline ไม่ต้องบอกนะครับ เราก็ใช้ตัว Jog Slider ที่อยู่บนไม้บรรทัด Timeline เลื่อนไปมา

เมื่อ เราวางคลิปวิดีโอไว้บน Timeline (ดึงไล่เรียงต่อๆ กันตามลำดับได้เลย วางไปแล้วสามารถคลิกเพื่อสลับตำแหน่งก็ยังได้) ลองเลื่อนเมาส์ไปยังต้นคลิป หรือท้ายคลิป เราสามารถที่จะทริมจากตรงนี้ได้เหมือนกัน และถ้าคุณกดปุ่ม Shift ค้างไว้ จากที่เป็นการทริม (ตัวลูกศรเปลี่ยนจากสีดำเป็นสีขาว) จะกลายเป็นการเปลี่ยน Speed ได้ ถ้าเราดึงคลิปให้ยืดออกไป จะกลายเป็นการทำภาพ Slow Motion และถ้าดึงคลิปให้ย่นเข้ามา จะเป็นการทำเร่ง Speed ภาพ (ดังรูปที่ 5)

 

รูปที่ 5

 

 

ใส่กรอบให้วิดีโอ

จาก คำถามที่หลายๆ ท่านเคยถามไถ่มา บอกว่าเห็นในไฟล์วิดีโองานแต่งงานของเพื่อน ทำไมมีกรอบรูปหัวใจแสดงได้ด้วย อยากจะบอกว่า สำหรับ Ulead Video Studio เป็นเรื่องที่ง่ายมาก โดยเฉพาะท่านที่มีแผ่นโปรแกรม Ulead Video Studio 11+ ที่อยู่ในรูปแบบแผ่นซีดี ในแผ่นที่สองมีกรอบรูปแถมมาให้มากมายครับ

* ตรง Library ให้เลือกไปที่ Decoration -> Frame จากนั้นให้คลิกที่ปุ่ม Load Decoration แล้วก็ไปเลือกกรอบภาพจากแผ่นโปรแกรมแผ่นสองเข้ามา (ดังรูปที่ 6)



รูปที่ 6

 

 

* ที่ Library ในโหมด Frame เราก็ลากกรอบรูปที่ต้องการ มาวางไว้ที่แทร็ก Overlay ปรับหรือลดเวลาในการแสดงกรอบให้เท่ากับตัววิดีโอ หรือจะน้อยกว่าก็ได้ เพราะถ้าคุณอยากจะใส่กรอบหลายๆ รูปแบบก็สามารถนำกรอบตัวอื่นมาวางเรียงต่อกันไปได้เรื่อยๆ ถ้ากรอบแสดงไม่เต็มจอ คุณสามารถคลิกขวาที่ตัวกรอบจากช่อง Preview เลือกคำสั่ง Fit to Screen กรอบก็จะแสดงแบบเต็มจอให้แล้ว (ดังรูปที่ 7)

 

รูปที่ 7

 

ใส่ไตเติลบรรยายสรรพคุณ

โดยส่วนใหญ่โฮมวิดีโอ มักจะมีข้อความแซวกัน แนะนำว่าเป็นวิดีโอเกี่ยวกับอะไร ใครทำอะไร เมื่อไหร่ ที่ไหน การใส่ไตเติล หรือข้อความประกอบวิดีโอไม่ได้ยากเลยครับ โดยให้เราคลิกเลือกไปที่ Title แล้วก็เลื่อนตัว Jog Slider ไปยังตำแหน่งที่เราต้องการใส่ข้อความ

* การใส่ข้อความแบบใส่เอง ให้เราดับเบิลคลิกที่ช่อง Preview จากนั้นก็ลงมือพิมพ์ข้อความลงไป ทำการปรับค่าเรื่องฟอนต์ ขนาด สี เลือกว่าจะเป็นข้อความแบบบรรทัดเดียว (Single title) หรือหลายบรรทัด (Multiple Titles) ให้มากำหนดที่แท็บ Edit (ดังรูปที่ 1)


รูปที่ 1

 

 

* ไต เติลที่เราพิมพ์เสร็จแล้ว จะไปอยู่ที่ Title Track คุณสามารถปรับแต่งเวลาที่ใช้ในการแสดงได้ตามใจชอบครับ นอกจากนี้ยังสามารถทำข้อความให้มีเอฟเฟ็กต์เช่นค่อยๆ โผล่โชว์ออกมาทีละตัวก็ยังได้ โดยการเลือกไปที่แท็บ Animation เลือกรูปแบบจากช่อง Type แล้วก็ติ้กรายการ Apply animation (ดังรูปที่ 2)


รูปที่ 2

 

เสียงเพลงประกอบงาน

 

เรื่อง แบบนี้ขาดกันไม่ได้ครับสำหรับเพลงประกอบแบ็กกราวนด์กับงานวิดีโอ ไม่งั้นเป็นหนังใบ้ (รับประทาน) แน่นอนครับ โปรแกรมนี้รองรับไฟล์ฟอร์แมตเสียงยอดนิยม ทั้ง .mp3 , mp4 , m4a , aif , au โดยเราสามารถดึงไฟล์เสียงเข้ามาไว้ใน Library ก่อน จากนั้นก็ลากไฟล์เสียงตามที่ต้องการไปวางไว้ที่ Audio Track กัน โดยไฟล์เสียงนี้ เราสามารถปรับลดเพิ่มเสียงได้ รวมถึงกำหนดให้มีการ Fade in Fade out ได้ด้วย

สำหรับท่านที่อยากปรับลดระดับเสียงแบบ ตรงนี้ให้เบา ตรงนี้ให้ดัง สามารถปรับได้ครับ โดยให้คลิกเปลี่ยนโหมดเป็น Audio View จากนั้นไปคลิกไฟล์เสียงใน Audio Track เส้นสำหรับปรับระดับเสียงจะเป็นเส้นสีแดง การเพิ่มจุดให้คลิกตรงเส้นสีแดง จากนั้นก็ดึงจุดขึ้นลงเพื่อปรับระดับเสียงได้ตามใจชอบ (ดังรูปที่ 3)

 

รูปที่ 3

 

 

ทำผลงานออกไปอวด

เสร็จ จากการอดทนจัดเรียงตัดต่อโฮมวิดีโอเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ก่อนส่งผลงานออกไปอวด ควรจะทำการเซฟโปรเจ็กต์เอาไว้ก่อน เพื่อเอาไว้ใช้สำหรับเรียกแก้ไขงานทีหลัง ไฟล์วิดีโอของเราหากมีการใส่เอฟเฟ็กต์ มีการตัดต่อเกิดขึ้น ตอนส่งผลงานออกไป จะต้องเสียเวลาไปไม่น้อย เพราะโปรแกรมจำเป็นต้องเรนเดอร์ภาพและเสียงกันใหม่

การส่งผลงานออกไป ให้คลิกที่คำสั่ง Share มีตัวเลือกให้ทั้งสร้างผลงานออกมาเป็นไฟล์ (Create Video File) , เขียนออกมาเป็นแผ่น DVD หรือ VCD (Create Disc), แยกออกมาเฉพาะเสียง (Create Sound File), ส่งงานกลับไปยังม้วนเทป MiniDV (DV Recording) รวมถึงการทำเป็นไฟล์เพื่อใช้สำหรับเผยแพร่ทางอินเทอร์เน็ต (Share Video Online) (ดังรูปที่ 4)

  
รูปที่ 4


การ ทำผลงานออกมาในรูปของไฟล์วิดีโอในฟอร์แมตมาตรฐาน เช่น MPEG-1 สำหรับนำไปเขียนใส่แผ่น CD, MPEG-2 เพื่อเขียนใส่แผ่น DVD , เป็นไฟล์ฟอร์แมต MPEG-4 ทั้งในมาตรฐาน H.264 เพื่อนำไปรับชมทางอุปกรณ์มือถือ คงทำได้ไม่ยาก เพราะโปรแกรมได้แบ่งออกเป็นหมวดหมู่ไว้ให้อย่างชัดเจน 

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 381 คน กำลังออนไลน์