• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:b5069fa40b3eb8bd30515e3d5adc6385' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 20pt\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"></span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 20pt\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 20pt\" lang=\"TH\"><span>     <span style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: black; font-size: 20pt\" lang=\"TH\">         ฝรั่งเศสเข้ามาติดต่อกับกรุงศรีอยุธยาในช่วงพุธศตวรรษที่</span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; color: black; font-size: 20pt\"> <span lang=\"TH\"> 23</span> <span lang=\"TH\">หลังชาวยุโรปชาติอื่นๆ</span> <span lang=\"TH\"> ความสัมพันธ์กับฝรั่งเศสเป็นระยะเวลาค่อนข้างสั้นเฉพาะในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราชเท่านั้น</span> <span lang=\"TH\"> สมเด็จพระนารายณ์มหาราชทรงให้การต้อนรับคณะบาทหลวงชาวฝรั่งเศสเป็นอย่างดี</span>  <span lang=\"TH\">นอกจากจะเผยแพร่คริสต์ศาสนาแล้ว</span> <span lang=\"TH\"> พวกบาทหลวงยังทำหน้าที่เป็นตัวกลางระหว่างรัฐบาลของพระเจ้าหลุยส์ที่</span> <span lang=\"TH\"> 14</span> <span lang=\"TH\"> กับราชสำนักอยุธยา</span> <span lang=\"TH\"> พ่อค้าฝรั่งเศสได้รับอนุญาตให้เข้ามาทำการค้าที่กรุงศรีอยุธยา</span> <span lang=\"TH\"> หลังจากนั้นทั้งสองฝ่ายได้แลกเปลี่ยนคณะทูตระหว่างกัน คณะทูตของฝรั่งเศสชุดแรกเข้ามาใน</span> <span lang=\"TH\"> พ.ศ.</span> <span lang=\"TH\"> 2228</span> <span lang=\"TH\"> โดยมีเชอวาเลีย</span> <span lang=\"TH\"> เดอ</span> <span lang=\"TH\"> โชมอง เป็นราชทูต</span> <span lang=\"TH\"> คณะทูตชุดที่ 2 เข้ามาใน พ.ศ.</span> <span lang=\"TH\"> 2230</span> <span lang=\"TH\"> มีลาลูแบร์</span> <span lang=\"TH\"> เป็นราชทูต</span> <span lang=\"TH\"> ส่วนคณะทูตของไทยที่เดินทางไปถึงฝรั่งเศสและมีชื่อเสียงเป็นที่เลื่องลือคือคณะทูตที่มี</span> <span lang=\"TH\"> พระวิสุทธสุนทร ( โกษาปาน )</span> <span lang=\"TH\"> เป็นราชทูตได้เดินทางไปฝรั่งเศสใน พ.ศ. 2229จุดมุ่งหมายหลักของฝรั่งเศสอยู่ที่การติดต่อการค้ากับไทย</span> <span lang=\"TH\"> และพยายามโน้มน้าวให้สมเด็จพระนารายณ์มหาราชและคนไทยยอมรับนับถือคริสต์ศาสนานิการโรมันคาทอลิก</span> <span lang=\"TH\"> แต่ฝ่ายไทยให้ความสนใจในเรื่องการค้าและความสัมพันธ์ทางการทูตมากกว่า</span> <span lang=\"TH\"> ทั้งนี้ก็เพื่อถ่วงดุลอำนาจของฮอลันดา</span> <span lang=\"TH\"> เนื่องจากฮอลันดาไม่ใจระบบการผูกขาดสินค้าของกรุงศรีอยุธยา</span>  <span lang=\"TH\">จึงมีท่าทีแข็งกร้าวต่อกรุงศรีอยุธยาความสัมพันธ์ระหว่างสองประเทศเกิดความสับสนขึ้น</span>  <span lang=\"TH\">เมื่อคอนสแตนติน</span> <span lang=\"TH\"> ฟอลคอน ชาวกรีกของบริษัทอินเดียตะวันออกของอังกฤษ</span> <span lang=\"TH\"> ได้รับตำแหน่งเป็นเสนาบดีมีบรรดาศักดิ์เป็นออกญาวิไชเยนทร์และเป็นคนใกล้ชิดของสมเด็จพระนารายณ์มหาราช</span> <span lang=\"TH\"> ได้ใช้อิทธิพลที่มีอยู่ในราชสำนักสนับสนุนให้กองทหารฝรั่งเศสเข้ามาประจำการที่บางกอกและมะริด เพื่อป้องกันการก่อกบฏของขุนนางไทย</span> <span lang=\"TH\"> ขณะเดียวกันก็เป็นเครื่องค้ำประกันผลประโยชน์และอิทธิพลในราช-สำนักของฟอลคอนให้มั่นคงด้วย</span> <span lang=\"TH\"> </span>      <span lang=\"TH\"> ในปลายสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช</span> <span lang=\"TH\">ขุนนางไทยรวมตัวกันต่อต้านฟอลคอนและฝรั่งเศส</span> <span lang=\"TH\"> ขณะที่สมเด็จพระนารายณ์มหาราชประชวร</span> <span lang=\"TH\"> เกิดวิกฤตการณ์ทางการเมือง</span> <span lang=\"TH\"> โดยพระเพทราชาหัวหน้าขุนนางไทยได้เข้ายึดอำนาจการปกครอง</span> <span lang=\"TH\"> ฟอลคอนถูกประหาร กองทหารฝรั่งเศสถูกล้อมที่ป้อมเมืองบางกอก</span> <span lang=\"TH\"> และถูกขับไล่ออกไปใน พ.ศ. 2231ความสัมพันธ์กับฝรั่งเศสหยุดชะงักไปเป็นเวลา 15 ปี จึงได้เริ่มมีการติดต่อกันอีกครั้งแต่ความสัมพันธ์มิได้ก้าวหน้านัก</span> <span lang=\"TH\">เพราะอยุธยาระมัดระวังในการติดต่อกับต่างประเทศมากขึ้น</span> <span lang=\"TH\"> ขณะที่ฝรั่งเศสต้องทำสงครามในยุโรป</span> <span lang=\"TH\">อย่างไรก็ตาม</span> <span lang=\"TH\">คณะบาทหลวงชาวฝรั่งเศสก็ยังคงเผยแผ่คริสต์ศาสนาที่กรุงศรีอยุธยา</span> <span lang=\"TH\"> จนสิ้นสุดสมัยอยุธยาความสัมพันธ์กับฝรั่งเศสไม่ได้มีผลเฉพาะทางด้านการค้าและการเมืองเท่านั้น</span> <span lang=\"TH\"> แต่ศิลปวิทยาด้านต่างๆ ของฝรั่งเศสได้เผยแผ่ในอยุธยาด้วย</span> <span lang=\"TH\">โดยเฉพาะด้านสถาปัตยกรรมและวิศวกรรมวิศวกร</span> <span lang=\"TH\"> ชาวฝรั่งเศสเป็นผู้ออกแบบพระราชวังตึกเลี้ยงรับรองแขกเมือง</span> <span lang=\"TH\"> บ้านหลวงรับราชทูตที่ลพบุรี</span> <span lang=\"TH\"> สร้างและซ่อมแซมป้อมต่างๆ ทั้งที่ลพบุรีและบางกอกให้ได้มาตรฐานชองตะวันตก</span> <span lang=\"TH\"> ส่วนทางด้านการทหาร</span> <span lang=\"TH\"> นายทหารฝรั่งเศสได้เข้ามาฝึกกองทหารแบบยุโรป</span> <span lang=\"TH\"> ขณะเดียวกันบาทหลวงฝรั่งเศสไดมีบทบาททางการใช้เครื่องมือดาราศาสตร์</span> <span lang=\"TH\"> เช่น กล้องส่องดูดาวแก่กลุ่มเจ้านายน้อย ถึงกับสมเด็จพระนารายณ์มหาราชโปรดเกล้าฯ ให้สร้างหอดูดาวขึ้นที่ลพบุรี</span> <span lang=\"TH\"> นอกจากนี้ยังมีแพทย์ชาวฝรั่งเศสซึ่งเข้ามารับราชการเป็นแพทย์หลวง</span> <span lang=\"TH\">ได้รักษาคนป่วยด้านการผ่าตัดอย่างไรก็ตาม</span> <span lang=\"TH\">วิทยาการเหล่านี้ไม่ได้มีการสานต่อความรู้ให้สืบทอดต่อมา</span> <span lang=\"TH\"> เพราะเกิดการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองในตอนปลายสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช</span> <span lang=\"TH\"> เมื่อขุนนางและข้าราชการไทยได้ปลุกระดมราษฎรให้ต่อต้านอิทธิพลของฝรั่งเศสในราชสำนักอย่างรุนแรง</span> <span lang=\"TH\"> ราชสำนักอยุธยาจึงมีความระมัดระวังมากยิ่งขึ้นในการติดต่อกับต่างประเทศ</span> <span lang=\"TH\">และแม้ว่าคณะบาทหลวงชาวฝรั่งเศสจะได้รับอนุญาตให้อยู่ที่กรุงศรีอยุธยาต่อไปได้</span> <span lang=\"TH\"> แต่ก็ถูกควบคุมเข้มงวดจากราชสำนัก</span> <span lang=\"TH\"> ศิลปะวิทยาการต่างๆ ที่ฝรั่งเศสนำมาเผยแพร่จึงสะดุดลง</span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 18pt\"><o:p></o:p></span></span></span></span></span> </p>\n', created = 1727486445, expire = 1727572845, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:b5069fa40b3eb8bd30515e3d5adc6385' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:01d244be83b18729e8796515d0f88f7a' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><img src=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-innocent.gif\" title=\"Innocent\" alt=\"Innocent\" border=\"0\" />  ขาดแหล่งอ้างอิง และชื่อผู้สร้าง </p>\n', created = 1727486445, expire = 1727572845, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:01d244be83b18729e8796515d0f88f7a' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ความสัมพันธ์ประหว่างประเทศไทย-ฝรั่งเศสในสมัยอยุธยา

              ฝรั่งเศสเข้ามาติดต่อกับกรุงศรีอยุธยาในช่วงพุธศตวรรษที่  23 หลังชาวยุโรปชาติอื่นๆ  ความสัมพันธ์กับฝรั่งเศสเป็นระยะเวลาค่อนข้างสั้นเฉพาะในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราชเท่านั้น  สมเด็จพระนารายณ์มหาราชทรงให้การต้อนรับคณะบาทหลวงชาวฝรั่งเศสเป็นอย่างดี  นอกจากจะเผยแพร่คริสต์ศาสนาแล้ว  พวกบาทหลวงยังทำหน้าที่เป็นตัวกลางระหว่างรัฐบาลของพระเจ้าหลุยส์ที่  14  กับราชสำนักอยุธยา  พ่อค้าฝรั่งเศสได้รับอนุญาตให้เข้ามาทำการค้าที่กรุงศรีอยุธยา  หลังจากนั้นทั้งสองฝ่ายได้แลกเปลี่ยนคณะทูตระหว่างกัน คณะทูตของฝรั่งเศสชุดแรกเข้ามาใน  พ.ศ.  2228  โดยมีเชอวาเลีย  เดอ  โชมอง เป็นราชทูต  คณะทูตชุดที่ 2 เข้ามาใน พ.ศ.  2230  มีลาลูแบร์  เป็นราชทูต  ส่วนคณะทูตของไทยที่เดินทางไปถึงฝรั่งเศสและมีชื่อเสียงเป็นที่เลื่องลือคือคณะทูตที่มี  พระวิสุทธสุนทร ( โกษาปาน )  เป็นราชทูตได้เดินทางไปฝรั่งเศสใน พ.ศ. 2229จุดมุ่งหมายหลักของฝรั่งเศสอยู่ที่การติดต่อการค้ากับไทย  และพยายามโน้มน้าวให้สมเด็จพระนารายณ์มหาราชและคนไทยยอมรับนับถือคริสต์ศาสนานิการโรมันคาทอลิก  แต่ฝ่ายไทยให้ความสนใจในเรื่องการค้าและความสัมพันธ์ทางการทูตมากกว่า  ทั้งนี้ก็เพื่อถ่วงดุลอำนาจของฮอลันดา  เนื่องจากฮอลันดาไม่ใจระบบการผูกขาดสินค้าของกรุงศรีอยุธยา  จึงมีท่าทีแข็งกร้าวต่อกรุงศรีอยุธยาความสัมพันธ์ระหว่างสองประเทศเกิดความสับสนขึ้น  เมื่อคอนสแตนติน  ฟอลคอน ชาวกรีกของบริษัทอินเดียตะวันออกของอังกฤษ  ได้รับตำแหน่งเป็นเสนาบดีมีบรรดาศักดิ์เป็นออกญาวิไชเยนทร์และเป็นคนใกล้ชิดของสมเด็จพระนารายณ์มหาราช  ได้ใช้อิทธิพลที่มีอยู่ในราชสำนักสนับสนุนให้กองทหารฝรั่งเศสเข้ามาประจำการที่บางกอกและมะริด เพื่อป้องกันการก่อกบฏของขุนนางไทย  ขณะเดียวกันก็เป็นเครื่องค้ำประกันผลประโยชน์และอิทธิพลในราช-สำนักของฟอลคอนให้มั่นคงด้วย         ในปลายสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ขุนนางไทยรวมตัวกันต่อต้านฟอลคอนและฝรั่งเศส  ขณะที่สมเด็จพระนารายณ์มหาราชประชวร  เกิดวิกฤตการณ์ทางการเมือง  โดยพระเพทราชาหัวหน้าขุนนางไทยได้เข้ายึดอำนาจการปกครอง  ฟอลคอนถูกประหาร กองทหารฝรั่งเศสถูกล้อมที่ป้อมเมืองบางกอก  และถูกขับไล่ออกไปใน พ.ศ. 2231ความสัมพันธ์กับฝรั่งเศสหยุดชะงักไปเป็นเวลา 15 ปี จึงได้เริ่มมีการติดต่อกันอีกครั้งแต่ความสัมพันธ์มิได้ก้าวหน้านัก เพราะอยุธยาระมัดระวังในการติดต่อกับต่างประเทศมากขึ้น  ขณะที่ฝรั่งเศสต้องทำสงครามในยุโรป อย่างไรก็ตาม คณะบาทหลวงชาวฝรั่งเศสก็ยังคงเผยแผ่คริสต์ศาสนาที่กรุงศรีอยุธยา  จนสิ้นสุดสมัยอยุธยาความสัมพันธ์กับฝรั่งเศสไม่ได้มีผลเฉพาะทางด้านการค้าและการเมืองเท่านั้น  แต่ศิลปวิทยาด้านต่างๆ ของฝรั่งเศสได้เผยแผ่ในอยุธยาด้วย โดยเฉพาะด้านสถาปัตยกรรมและวิศวกรรมวิศวกร  ชาวฝรั่งเศสเป็นผู้ออกแบบพระราชวังตึกเลี้ยงรับรองแขกเมือง  บ้านหลวงรับราชทูตที่ลพบุรี  สร้างและซ่อมแซมป้อมต่างๆ ทั้งที่ลพบุรีและบางกอกให้ได้มาตรฐานชองตะวันตก  ส่วนทางด้านการทหาร  นายทหารฝรั่งเศสได้เข้ามาฝึกกองทหารแบบยุโรป  ขณะเดียวกันบาทหลวงฝรั่งเศสไดมีบทบาททางการใช้เครื่องมือดาราศาสตร์  เช่น กล้องส่องดูดาวแก่กลุ่มเจ้านายน้อย ถึงกับสมเด็จพระนารายณ์มหาราชโปรดเกล้าฯ ให้สร้างหอดูดาวขึ้นที่ลพบุรี  นอกจากนี้ยังมีแพทย์ชาวฝรั่งเศสซึ่งเข้ามารับราชการเป็นแพทย์หลวง ได้รักษาคนป่วยด้านการผ่าตัดอย่างไรก็ตาม วิทยาการเหล่านี้ไม่ได้มีการสานต่อความรู้ให้สืบทอดต่อมา  เพราะเกิดการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองในตอนปลายสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช  เมื่อขุนนางและข้าราชการไทยได้ปลุกระดมราษฎรให้ต่อต้านอิทธิพลของฝรั่งเศสในราชสำนักอย่างรุนแรง  ราชสำนักอยุธยาจึงมีความระมัดระวังมากยิ่งขึ้นในการติดต่อกับต่างประเทศ และแม้ว่าคณะบาทหลวงชาวฝรั่งเศสจะได้รับอนุญาตให้อยู่ที่กรุงศรีอยุธยาต่อไปได้  แต่ก็ถูกควบคุมเข้มงวดจากราชสำนัก  ศิลปะวิทยาการต่างๆ ที่ฝรั่งเศสนำมาเผยแพร่จึงสะดุดลง

รูปภาพของ silavacharee

Innocent  ขาดแหล่งอ้างอิง และชื่อผู้สร้าง 

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 277 คน กำลังออนไลน์