• user warning: Duplicate entry '536306482' for key 'PRIMARY' query: INSERT INTO accesslog (title, path, url, hostname, uid, sid, timer, timestamp) values('หลักการแก้ปัญหากับภาษาคอมพิวเตอร์', 'node/107399', '', '3.147.66.156', 0, '18fbc733186c5e2f39940c3e38a224e4', 155, 1716643283) in /home/tgv/htdocs/modules/statistics/statistics.module on line 63.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:9be8bc3884078091192b8f878e0ec1ba' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><strong>มหัศจรรย์อาหาร มัธยมศึกษาปีที่ 2</strong></p>\n<p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;คอมพิวเตอร์ช่วยสอนวิชาวิทยาสาสตร์พื้นฐาน(ว202)มหัศรรย์อาหาร ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 (ช่วงชั้นที่1-3 )เพื่อให้ผู้สนใจค้นคว้าศึกษาเพิ่มเติม ซึ่งผู้จัดทำเว็ปเพจมหัศรรย์อาหาร&nbsp; ได้ศึกษาค้นคว้ามาจากตำราต่างๆเช่น&nbsp; วิทยาศาสตร์ช่วงชั้นที่1-3ของสสวท.,กระบวนการทาววิทยาศาสตร์สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ, วิทยาศาสตร์ช่วงชั้นที่1-3&nbsp;&nbsp; ของหนังสือแม็ค&nbsp; ขอขอบพระคุณมา ณ โอกาสนี้ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาของเยาวชนของชาติไม่ได้หวังผลทางการค้าใดๆทั้งสิ้น&nbsp;&nbsp; ถ้าผิดพลาดประการใดกราบขออภัยมา ผู้จัดทำหวังว่าเว็ปเพจมหัศจรรย์อาหารนี้คงจะมีประโยชน์ต่อผู้ศึกษาเป็นอย่างดี</p>\n<p>&nbsp;จุดประสงค์การเรียนรู้&nbsp;</p>\n<p>1.บอกความหมายของสารอาหารได้</p>\n<p>2.อธิบายความสัมพันธ์ของสารอาหารที่มีต่อร่างกายและเลือกรับประทานอาหารที่มีสารอาหารครบถ้วนเหมาะกับเพศและวัย</p>\n<p>3.อธิบายความหมายของสารเสพติดและผลของสารเสพติดต่อการทำงานของระบบต่างๆของร่างกาย</p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p>ตัวอย่าง</p>\n<p><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif;\"><strong>สารปนเปื้อนในอาหาร<img class=\"namo-hot\" src=\"/library/teachershow/bangkok/nongkran_t-ok/nth_userlib_custom_theme_thaigoodview_theme_bakery_hot.gif\" alt=\"\" border=\"0\" /></strong></span></p>\n<p><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif;\">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;สารปนเปื้อนในอาหาร &nbsp;เป็นสารพิษที่เกิดขึ้นจากธรรมชาติและจากการกระทำของมนุษย์ &nbsp;ซึ่งมีผลทำให้เกิดอันตรายต่อร่างกายจนถึงเสียชีวิตได้ &nbsp;สารปนเปื้อนในอาหารแบ่งตามลักษณะการเกิดได้ 2 ประเภทคือ</span></p>\n<p><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif;\">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;<img src=\"/library/teachershow/bangkok/nongkran_t-ok/picture/a_frog.gif\" alt=\"a_frog.gif\" width=\"39\" height=\"33\" border=\"0\" /><strong>1. &nbsp;สารพิษที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ &nbsp;</strong>แบ่งออกตามชนิดของสารพิษได้ดังนี้</span></p>\n<p><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif;\">1.1 &nbsp;สารพิษจากเชื้อจุลินทรีย์ &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;เช่น &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;สารอะฟลาทอกซิน &nbsp;(aflagoxin) &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;ซึ่งเป็นสารสร้างจากเชื้อราพวกแอสเพอร์จิลลัส &nbsp;(aspergillus spp) &nbsp;รานี้เจริญได้ดีในถั่วลิสงและเมล้ดพืชที่ชื้น &nbsp;ซึ่งความร้อนสูงไม่สามารถ<br /> ทำลายสารอะฟลาทอกซินได้ส่วนใหญ่สารนี้จะตกค้างที่ตับทำให้เกิดเป็นมะเร็งตับ</span></p>\n<p><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif;\">1.2 &nbsp;สารพิษจากเห็ดบางชิด &nbsp;ทำให้เมา &nbsp;มีอาการคลื่นไส้ &nbsp;และอาเจียน</span></p>\n<p><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif;\">1.3 &nbsp;&nbsp;สารพิษในพืชผัก &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;</span></p>\n<table style=\"width: 522px;\" cellspacing=\"0\" cellpadding=\"0\">\n<tbody>\n<tr>\n<td width=\"522\">\n<p><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif;\">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;<img src=\"/library/teachershow/bangkok/nongkran_t-ok/picture/Untitled-14.jpg\" alt=\"Untitled-14.jpg\" width=\"150\" height=\"100\" border=\"0\" /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;<img src=\"/library/teachershow/bangkok/nongkran_t-ok/picture/จุนลินทรีย์.jpg\" alt=\"จุนลินทรีย์.jpg\" width=\"145\" height=\"95\" border=\"0\" /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;<img src=\"/library/teachershow/bangkok/nongkran_t-ok/picture/Untitled-12.jpg\" alt=\"Untitled-12.jpg\" width=\"143\" height=\"92\" border=\"0\" /></span></p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td width=\"522\">\n<p align=\"left\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif;\">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;สีผสมอาหาร &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;เชื้อจุลินทรีย์ &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;ภาชนะบรรจุอาหาร</span></p>\n</td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n<p><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif;\">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;<img src=\"/library/teachershow/bangkok/nongkran_t-ok/picture/a_monky_orange.gif\" alt=\"a_monky_orange.gif\" width=\"41\" height=\"31\" border=\"0\" /><strong>&nbsp;2. &nbsp;สารพิษที่เกิดจากการกระทำของมนุษย์</strong> &nbsp;ส่วนให่เป็นผลมาจากความเจริญทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่เรานำมาใช้ใน<br /> ชีวิตประจำวัน &nbsp;มีดังนี้<br /> </span></p>\n<p><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif;\">&nbsp;2.1 &nbsp;สารตกค้างจากการเกษตร &nbsp;เช่น &nbsp;ดีดีที &nbsp;ปุ๋ย &nbsp;ยาปราบศัตรูพืช &nbsp;ซึ่งอาจสะสมในอาหาร &nbsp;เมื่อรับประทาน<br /> เข้าไปจะเกิดอันตรายต่อสิ่งมีชีวิต</span></p>\n<table style=\"width: 508px;\" cellspacing=\"0\" cellpadding=\"0\">\n<tbody>\n<tr>\n<td width=\"508\" height=\"26\">\n<p><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif;\">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;<img src=\"/library/teachershow/bangkok/nongkran_t-ok/picture/Untitled-10.jpg\" alt=\"Untitled-10.jpg\" width=\"159\" height=\"102\" border=\"0\" /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;<img src=\"/library/teachershow/bangkok/nongkran_t-ok/picture/Untitled-14.jpg\" alt=\"Untitled-14.jpg\" width=\"163\" height=\"105\" border=\"0\" /></span></p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td width=\"508\">\n<p><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif;\">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;</span><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif;\">&nbsp;&nbsp;ยาฆ่าแมลงและปราบศัตรูพืช &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;เชื้อรา</span></p>\n</td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n<p><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif;\">2.2 &nbsp;สิ่งเจือปนในอาหาร &nbsp;แบ่งออกเป็น 3 ประเภทคือ</span></p>\n<p><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif;\">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;1. &nbsp;สารกันอาหารเสีย &nbsp;เป็นสารที่ช่วยให้อาหารคงสภาพ &nbsp;รส &nbsp;กลิ่น &nbsp;เหมือนเมื่อแรกผลิตและเก็บไว้<br /> ได้นาน &nbsp;เช่น &nbsp;สารกันบูด &nbsp;สารกันหืด &nbsp;เป็นต้น</span></p>\n<p align=\"left\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif;\">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;2.สารแต่งกลิ่นหรือรส &nbsp;เป็นสารที่ช่วยให้อาหารมีรสและกลิ่นถูกใจผู้บริโภค &nbsp;หรือใช้แต่งกลิ่นรส &nbsp;<br /> ผู้บริโภคเข้าใจคิดผิดว่าเป็นของแท้ หรือมีส่วนผสมอยู่มากหรือน้อยทั้งที่เป็นของเทียน สารเหล่านี้ได้แก่ &nbsp;&nbsp;</span></p>\n<div align=\"left\">\n<table style=\"width: 530px;\" cellspacing=\"0\" cellpadding=\"0\">\n<tbody>\n<tr>\n<td width=\"520\">\n<p><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif;\">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;<img src=\"/library/teachershow/bangkok/nongkran_t-ok/picture/Untitled-11.jpg\" alt=\"Untitled-11.jpg\" width=\"141\" height=\"92\" border=\"0\" /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;<img src=\"/library/teachershow/bangkok/nongkran_t-ok/picture/Untitled-9.jpg\" alt=\"Untitled-9.jpg\" width=\"147\" height=\"96\" border=\"0\" /></span></p>\n</td>\n</tr>\n<tr>\n<td width=\"520\">\n<p><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif;\">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;</span><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif;\">บอแรกซ์ &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;สารเคมี</span></p>\n</td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n</div>\n<p align=\"left\"><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif;\">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;- เครื่องเทศ<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;- สารกลิ่นผลไม้<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;- สารรสหวานประเภทน้ำตาลเทียม ซึ่งเป็นสารที่ให้ความหวานแต่ไม่ใช่น้ำตาล<br /> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;- ผงชูรสเป็นสารประกอบที่เรียกว่ามอนอโซเดียมกลูเมต &nbsp;ถ้าเป็นผงชูรสปลอมจะใส่สารโซเดียม<br /> เมตาฟอสเฟตและบอแรกซ์ &nbsp;ซึ่งเป็นอันตรายต่อชีวิตมาก &nbsp;</span></p>\n<p><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif;\">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;3. สีผสมอาหาร &nbsp;เป็นสีที่ใส่เพื่อจะช่วยแต่งเติมให้อาหารน่ารับประทานยิ่งขึ้น &nbsp;มีทั้งสีจากธรรมชาติซึ่ง<br /> เป็นสีที่ได้จากพืชและสัตว์ไม่เป็นอันตรายต่อสิ่งมีชีวิต &nbsp;&nbsp;&nbsp;เช่&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;สีดำจากถ่าน &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;สีแดงจากครั่ง &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;เป็นต้น <br /> และ สีสังเคราะหส่วนมากจะเป็นสารพิษที่ร้ายแรงต่อร่างกาย มักมีตะกั่วและโครเมียมอยู่ เช่น สีย้อมผ้า</span></p>\n<p><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif;\"><strong><img src=\"/library/teachershow/bangkok/nongkran_t-ok/picture/i_butterfly_syellow.gif\" alt=\"i_butterfly_syellow.gif\" width=\"32\" height=\"23\" border=\"0\" /><img src=\"/library/teachershow/bangkok/nongkran_t-ok/picture/i_butterfly_spink.gif\" alt=\"i_butterfly_spink.gif\" width=\"32\" height=\"23\" border=\"0\" />สารพิษปนเปื้อนในอาหารที่ควรทราบมีดังนี้<img class=\"namo-cool\" src=\"/library/teachershow/bangkok/nongkran_t-ok/nth_userlib_custom_theme_thaigoodview_theme_bakery_cool.gif\" alt=\"\" border=\"0\" /></strong></span></p>\n<p><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif;\">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;1.ดินประสิว (โพแทกเซียมไนเตรต)มีสูตรเคมีKMO3 นิยมใส่ในอาหารประเภทเนื้อหมู &nbsp;เนื้อปลา &nbsp;<br /> เนื้อวัว &nbsp;&nbsp;&nbsp;ทำเนื้อเปื่อย &nbsp;สีสวย &nbsp;รสดี &nbsp;และเก็บไว้ได้นาน &nbsp;ซึ่งเป็นสารที่ก่อให้เกิดสารไนโตรซามีน(nitrosamine)ซึ่งเป็นสารก่อให้เกิดมะเร็ง</span></p>\n<p><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif;\">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;2.ปรอท &nbsp;พิษของสารปรอทที่ไปสะสมในสมอง &nbsp;ทำให้ประสาทหลอน &nbsp;ความจำเสื่อม &nbsp;เป็นอัมพาต <br /> เด็กในครรภ์ประสาทจะถูกทำลาย &nbsp;นิ้วมือหงิกงอ &nbsp;ปัญญาอ่อน &nbsp;และอาจตายได้ &nbsp;อาการเช่นนี้เรียกว่า &nbsp;<br /> โรคมินามาตะ</span></p>\n<p><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif;\">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;3.ตะกั่ว &nbsp;พิษตะกั่วเกิดจากสีและไอเสียรถยนต์ &nbsp;จะทำลายเซลล์สมอง &nbsp;ทำลายเม็ดเลือดแดง &nbsp;ปวดศีรษะ<br /> และอาจตายได้</span></p>\n<p><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif;\">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;4.โครเมียม &nbsp;สารประกอบของโครเมียมใช้ทำสีย้อม &nbsp;พิษของโคเมียมเป็นอันตรายต่อผิวหนังและปอด</span></p>\n<p><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif;\">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;5.แคดเมียม &nbsp;มีพิษต่อปอดและไต &nbsp;ทำให้เกิดโรคอิไต-อิไต</span></p>\n<p><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif;\">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;6.สารหนุ &nbsp;ทำให้เกิดโรคไข้ดำ &nbsp;มีอาการเจียน &nbsp;ปวดท้องรุนแรง &nbsp;เป็นตะคริว</span></p>\n<p><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif;\">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;7.สารกันบูด &nbsp;สารที่นิยมใช้เป็นสารกันบูด &nbsp;ได้แก่ &nbsp;กรดซาลิวาลิก &nbsp;กรอดบอริก &nbsp;และดวเดียมเบนโซเอต</span></p>\n<p><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif;\">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;8.น้ำประสานทองหรือบอแร็กซ์ &nbsp;มีชื่อทางเคมีว่า &nbsp;“โซเดียมบอเรต (sodium borate)” &nbsp;ชาวบ้าน &nbsp;เรียกว่า &nbsp;<strong>“ผงกรอบ”</strong> &nbsp;หรือคนจีนเรียกว่า <strong>&nbsp;“เพ่งแช”</strong> &nbsp;ใช้ใส่ลูกชิ้น &nbsp;แป้งกรอบ &nbsp;ทำให้ไตอักเสบได้</span></p>\n<p><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif;\">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;9.ผงเนื้อนุ่ม &nbsp;คือบอแรกซ์ผสมโซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนต &nbsp;สารนี้ซึมเข้าสู่ผิวหนังได้ &nbsp;ทำให้เกิดอาการคล้ายเยื่อหุ้มสมองอักเสบ &nbsp;มีพิษต่อไตและเซลล์ต่างๆของร่างกาย</span></p>\n<p><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif;\">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;10.น้ำตาลเทียม &nbsp;คือสารให้ความหวานแต่ไม่ใช่น้ำตาล &nbsp;เช่น</span></p>\n<p><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif;\">-&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;ซอร์บิทอล &nbsp;หวานกว่าน้ำตาลทราย 2 ใน 3 เท่า</span></p>\n<p><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif;\">-&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;ไซคลาเมต &nbsp;หวานกว่าน้ำตาลทราย 30 เท่า</span></p>\n<p><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif;\">-&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;แอสพาร์เทม &nbsp;หวานกว่าน้ำตาลทราย 180 เท่า &nbsp;ใช้แทนน้ำตาลในเครื่องดื่ม &nbsp;ลูกกวาด &nbsp;หมากฝรั่ง</span></p>\n<p><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif;\">-&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;ขัณฑสกรหรือแช็กคาริน &nbsp;หวานกว่าน้ำตาลทราย 550 เท่า &nbsp;เป็นน้ำตาลเทียม &nbsp;ถ้ารับประทานมากจะเกิดอาการคลื่นไส้ &nbsp;อาเจียน &nbsp;ท้องเดิน &nbsp;ชัก &nbsp;ใช้แทนน้ำตาลทรายสำหรับผู้ป่วยเป็นโรคเบาหวานและผู้ที่อ้วนมาก</span></p>\n<p><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif;\">&nbsp;<strong>&nbsp;<img src=\"/library/teachershow/bangkok/nongkran_t-ok/picture/f_octopus_blue.gif\" alt=\"f_octopus_blue.gif\" width=\"50\" height=\"52\" border=\"0\" />อาหารบางชนิดเป็นพิษต่อผู้บริโภค</strong> &nbsp;ซึ่งอาการที่เกิดจากสารพิษแต่ละชนิดจำแนกได้ 2 ลักษณะ &nbsp;คือ</span></p>\n<p><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif;\">1. &nbsp;อาการเป็นพิษแบบเฉียบพลัน &nbsp;คือการเกิดอาการเป็นพิษภายหลังจากรับประทานอาหารนั้นๆเข้าไปไม่<br /> นานนักภายในเวลา 2-6 ชั่วโมง &nbsp;ลักษณะอาการที่พบ &nbsp;คือ &nbsp;ท้องเสียรุนแรง &nbsp;คลื่นไส้ &nbsp;หายใจไม่ออก &nbsp;เป็นอัมพาตในเวลารวดเร็ว &nbsp;อาจถึงตายได้</span></p>\n<p><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif;\">2. &nbsp;อาการเป็นพิษแบบเรื้อรัง &nbsp;คือการเกิดอาการเป็นพิษเนื่องจากรับประทานอาหารที่มีสิ่งเป็นพิษปะปนอยู่ในปริมาณน้อยและมีการสะสมอย่างต่อเนื่องมากขึ้นทุกวันจนมีปริมาณสารพิษในร่างกายมากขึ้น &nbsp;อาการจึงจะแสดงออกมาตามลักษณะอาการของพิษและชนิดของสาร</span></p>\n<p><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif;\"><img src=\"/library/teachershow/bangkok/nongkran_t-ok/picture/f_inkfish.gif\" alt=\"f_inkfish.gif\" width=\"40\" height=\"59\" border=\"0\" /></span><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif;\"><strong>แนวทางการปฏิบัติตนให้ปลอดภัยจากสารปนเปื้อนในอาหาร</strong> &nbsp;<strong>มีดังนี้</strong></span></p>\n<p><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif;\">1. &nbsp;เลือกซื้ออาหารที่มั่นใจว่าไม่มีสารพิษเจือปน</span></p>\n<p><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif;\">2. &nbsp;แช่ผักและผลไม้ในสารละลายน้ำส้มสายชูหรือสารละลายด่างทับทิมก่อนนำมารับประทานทุกครั้ง</span></p>\n<p><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif;\">3. &nbsp;เลือกรับประทานอาหารที่ใช้สีปรุงแต่งจากธรรมชาติ</span></p>\n<p><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif;\">4. &nbsp;เลือกซื้อสินค้าที่ได้รับอนุญาตจากองค์การอาหารและยา &nbsp;กระทรวงสาธารณสุข &nbsp;เพื่อ &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;รับรองความปลอดภัยของอาหารนั้นๆ</span></p>\n<p><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif;\"><strong><img src=\"/library/teachershow/bangkok/nongkran_t-ok/picture/a_cathead_grayblue.gif\" alt=\"a_cathead_grayblue.gif\" width=\"37\" height=\"34\" border=\"0\" />การรับประทานอาหารให้ถูกสัดส่วน</strong></span></p>\n<p><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif;\">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;ในแต่ละวันร่างกายของมนุษย์เราต้องการพลังงานจากอาหารเพื่อนำไปใช้ในกิจกรรมต่างๆในปริมาณท<br /> ี่แตกต่างกัน &nbsp;ซึ่งพลังงานที่ใช้ในกิจกรรมแต่ละอย่างแตกต่างกันขึ้นอยู่กับเพศ &nbsp;วัย &nbsp;สภาพร่างกาย &nbsp;และกิจกรรม<br /> ของแต่ละบุคคล &nbsp;ดังนี้</span></p>\n<p><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif;\">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;1. &nbsp;ความแตกต่างของเพศ &nbsp;เพศชายต้องการปริมาณอาหารมากกว่าเพศหญิง &nbsp;เนื่องจากการทำกิจกรรมและการใช้พลังงานของเพศชายมากกว่าเพศหญิง</span></p>\n<p><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif;\">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;2. &nbsp;ความแตกต่างของวัย &nbsp;วัยต่างกันต้องการปริมาณอาหารที่แตกต่างกัน &nbsp;เนื่องจากการเจริญเติบโตและการ<br /> ทำกิจกรรมต่างกัน</span></p>\n<p><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif;\">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;3. &nbsp;ความแตกต่างของสภาพร่างกาย &nbsp;หญิงในระยะตั้งครรภ์หรือระยะให้นมบุตร &nbsp;ต้องการสารอาหารทุก<br /> ประเภทในปริมาณสูงกว่าปกติ &nbsp;โดยเฉพาะแคลเซียมและฟอสฟอรัส &nbsp;เป็นแร่ธาตุที่ต้องการในปริมาณสูงเพราะสารอาหารที่รีบประทานเข้าไปส่วนหนึ่งจะถูกนำไปใช้ในการเจริญเติบโตของทารกในครรภ์และการผลิต<br /> น้ำนม</span></p>\n<p><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif;\">&nbsp;</span><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif;\">ตัวอย่าง<img class=\"namo-new\" src=\"/library/teachershow/bangkok/nongkran_t-ok/nth_userlib_custom_theme_thaigoodview_theme_bakery_new.gif\" alt=\"\" border=\"0\" /></span></p>\n<p><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif;\">ใ</span><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif;\">นการทำกิจกรรมจะเห็นว่า &nbsp;กิจกรรมแต่ละอย่างใช้พลังงานแตกต่างกัน &nbsp;นอกจากนั้นเพศชายและเพศหญิงที่ทำกิจกรรมอย่างเดียวกันยังใช้พลังงานในการทำกิจกรรมไม่เท่ากัน &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;โดยปกติเพศชายจะใช้พลังงานมากกว่า<br /> เพศหญิง &nbsp;ซึ่งสามารถคำนวณหาค่าพลังงานที่ใช้ในการทำกิจกรรมต่างๆได้ดังนี้ (ขับรถ 1 ชั่วโมง ใช้พลังงาน 2.23 kcal ,&nbsp;ว่ายน้ำ 1 ชม. &nbsp;ใช้พลังงาน&nbsp;&nbsp;4.37&nbsp;kcal &nbsp;)</span></p>\n<p><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif;\">ตัวอย่าง &nbsp;แอนนาหนัก 50 กก. &nbsp;ขับรถ 2 ชม. &nbsp;แล้วไปว่ายน้ำ 1 ชม. &nbsp;แอนนาใช้พลังงานไปเท่าไร</span></p>\n<p><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif;\">วิธีทำ&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;ขับรถ 1 ชม. &nbsp;ใช้พลังงาน&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;= &nbsp;2.23&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; &nbsp;&nbsp;kcal</span></p>\n<p><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif;\">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;ว่ายน้ำ 1 ชม. &nbsp;ใช้พลังงาน&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;= &nbsp;4.37&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; &nbsp;&nbsp;&nbsp;kcal</span></p>\n<p><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif;\">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;หาพลังงานที่ใช้ในการขับรถ</span></p>\n<p><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif;\">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;แอนนาหนัก 1 kg &nbsp;ขับรถ 1 ชม. ใช้พลังงาน&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;= &nbsp;2.23&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;kcal</span></p>\n<p><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif;\">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;แอนนาหนัก 50 &nbsp;kg &nbsp;ขับรถ 1 ชม. ใช้พลังงาน&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;= &nbsp;2.23 x 50&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;kcal</span></p>\n<p><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif;\">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;แอนนาหนัก 50 &nbsp;kg &nbsp;ขับรถ 2 ชม. ใช้พลังงาน&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;= &nbsp;2.23 x 50 x 2 &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;kcal</span></p>\n<p><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif;\">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;ดังนั้นแอนนาใช้พลังงานในการขับรถ&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;= &nbsp;223&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;kcal</span></p>\n<p><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif;\">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;หาพลังงานที่ใช้ในการว่ายน้ำ</span></p>\n<p><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif;\">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;แอนนาหนัก 1 kg &nbsp;ว่ายน้ำ 1 ชม. ใช้พลังงาน&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;= &nbsp;4.37&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;kcal</span></p>\n<p><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif;\">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;แอนนาหนัก 50 kg &nbsp;ว่ายน้ำ 1 ชม. ใช้พลังงาน&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;= &nbsp;4.37 x 50&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;kcal</span></p>\n<p><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif;\">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;ดังนั้นแอนนาใช้พลังงานในการว่ายน้ำ&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;= &nbsp;218.5 &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;kcal</span></p>\n<p><span style=\"font-size: x-small; font-family: MS Sans Serif;\">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;ดังนั้นแอนนาใช้พลังงานไปทั้งหมด&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;= &nbsp;223 + 218.5 = 441.5&nbsp;kcal</span></p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p align=\"center\"><a href=\"/library/teachershow/bangkok/nongkran_t-ok/index.html\" target=\"_blank\">ศึกษาข้อมูลทั้งหมด คลิกที่นี่</a></p>\n<p align=\"center\"><span style=\"font-family: MS Sans Serif;\"><span style=\"font-size: 10pt;\">จำนวนผู้เข้าใช้งาน<br /> ตั้งแต่วันศุกร์ที่ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2547<br /> <img src=\"/cgi-bin/Count.cgi?df=www.thaigoodview.com-library_teachershow_bangkok_nongkran_t_22102547.html&amp;dd=B\" alt=\"\" /></span></span></p>\n<p align=\"center\"><span style=\"font-family: MS Sans Serif;\"><span style=\"font-size: 10pt;\">thaigoodview.com Version 12.0<br /> บริหารและจัดการโดยทีมงานชาวมัธยมศึกษา</span></span></p>\n', created = 1716643293, expire = 1716729693, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:9be8bc3884078091192b8f878e0ec1ba' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

มหัศจรรย์อาหาร มัธยมศึกษาปีที่ 2

รูปภาพของ ssspoonsak

มหัศจรรย์อาหาร มัธยมศึกษาปีที่ 2

       คอมพิวเตอร์ช่วยสอนวิชาวิทยาสาสตร์พื้นฐาน(ว202)มหัศรรย์อาหาร ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 (ช่วงชั้นที่1-3 )เพื่อให้ผู้สนใจค้นคว้าศึกษาเพิ่มเติม ซึ่งผู้จัดทำเว็ปเพจมหัศรรย์อาหาร  ได้ศึกษาค้นคว้ามาจากตำราต่างๆเช่น  วิทยาศาสตร์ช่วงชั้นที่1-3ของสสวท.,กระบวนการทาววิทยาศาสตร์สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ, วิทยาศาสตร์ช่วงชั้นที่1-3   ของหนังสือแม็ค  ขอขอบพระคุณมา ณ โอกาสนี้ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาของเยาวชนของชาติไม่ได้หวังผลทางการค้าใดๆทั้งสิ้น   ถ้าผิดพลาดประการใดกราบขออภัยมา ผู้จัดทำหวังว่าเว็ปเพจมหัศจรรย์อาหารนี้คงจะมีประโยชน์ต่อผู้ศึกษาเป็นอย่างดี

 จุดประสงค์การเรียนรู้ 

1.บอกความหมายของสารอาหารได้

2.อธิบายความสัมพันธ์ของสารอาหารที่มีต่อร่างกายและเลือกรับประทานอาหารที่มีสารอาหารครบถ้วนเหมาะกับเพศและวัย

3.อธิบายความหมายของสารเสพติดและผลของสารเสพติดต่อการทำงานของระบบต่างๆของร่างกาย

 

ตัวอย่าง

สารปนเปื้อนในอาหาร

        สารปนเปื้อนในอาหาร  เป็นสารพิษที่เกิดขึ้นจากธรรมชาติและจากการกระทำของมนุษย์  ซึ่งมีผลทำให้เกิดอันตรายต่อร่างกายจนถึงเสียชีวิตได้  สารปนเปื้อนในอาหารแบ่งตามลักษณะการเกิดได้ 2 ประเภทคือ

       a_frog.gif1.  สารพิษที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ  แบ่งออกตามชนิดของสารพิษได้ดังนี้

1.1  สารพิษจากเชื้อจุลินทรีย์       เช่น        สารอะฟลาทอกซิน  (aflagoxin)           ซึ่งเป็นสารสร้างจากเชื้อราพวกแอสเพอร์จิลลัส  (aspergillus spp)  รานี้เจริญได้ดีในถั่วลิสงและเมล้ดพืชที่ชื้น  ซึ่งความร้อนสูงไม่สามารถ
ทำลายสารอะฟลาทอกซินได้ส่วนใหญ่สารนี้จะตกค้างที่ตับทำให้เกิดเป็นมะเร็งตับ

1.2  สารพิษจากเห็ดบางชิด  ทำให้เมา  มีอาการคลื่นไส้  และอาเจียน

1.3   สารพิษในพืชผัก                                                                         

        Untitled-14.jpg        จุนลินทรีย์.jpg     Untitled-12.jpg

                สีผสมอาหาร                                      เชื้อจุลินทรีย์                                ภาชนะบรรจุอาหาร

          a_monky_orange.gif 2.  สารพิษที่เกิดจากการกระทำของมนุษย์  ส่วนให่เป็นผลมาจากความเจริญทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่เรานำมาใช้ใน
ชีวิตประจำวัน  มีดังนี้

 2.1  สารตกค้างจากการเกษตร  เช่น  ดีดีที  ปุ๋ย  ยาปราบศัตรูพืช  ซึ่งอาจสะสมในอาหาร  เมื่อรับประทาน
เข้าไปจะเกิดอันตรายต่อสิ่งมีชีวิต

       Untitled-10.jpg                   Untitled-14.jpg

       ยาฆ่าแมลงและปราบศัตรูพืช                                               เชื้อรา

2.2  สิ่งเจือปนในอาหาร  แบ่งออกเป็น 3 ประเภทคือ

                1.  สารกันอาหารเสีย  เป็นสารที่ช่วยให้อาหารคงสภาพ  รส  กลิ่น  เหมือนเมื่อแรกผลิตและเก็บไว้
ได้นาน  เช่น  สารกันบูด  สารกันหืด  เป็นต้น

                 2.สารแต่งกลิ่นหรือรส  เป็นสารที่ช่วยให้อาหารมีรสและกลิ่นถูกใจผู้บริโภค  หรือใช้แต่งกลิ่นรส  
ผู้บริโภคเข้าใจคิดผิดว่าเป็นของแท้ หรือมีส่วนผสมอยู่มากหรือน้อยทั้งที่เป็นของเทียน สารเหล่านี้ได้แก่   

           Untitled-11.jpg                        Untitled-9.jpg

                   บอแรกซ์                                                                  สารเคมี

                - เครื่องเทศ
                - สารกลิ่นผลไม้
               - สารรสหวานประเภทน้ำตาลเทียม ซึ่งเป็นสารที่ให้ความหวานแต่ไม่ใช่น้ำตาล
               - ผงชูรสเป็นสารประกอบที่เรียกว่ามอนอโซเดียมกลูเมต  ถ้าเป็นผงชูรสปลอมจะใส่สารโซเดียม
เมตาฟอสเฟตและบอแรกซ์  ซึ่งเป็นอันตรายต่อชีวิตมาก  

    3. สีผสมอาหาร  เป็นสีที่ใส่เพื่อจะช่วยแต่งเติมให้อาหารน่ารับประทานยิ่งขึ้น  มีทั้งสีจากธรรมชาติซึ่ง
เป็นสีที่ได้จากพืชและสัตว์ไม่เป็นอันตรายต่อสิ่งมีชีวิต    เช่    สีดำจากถ่าน      สีแดงจากครั่ง       เป็นต้น
และ สีสังเคราะหส่วนมากจะเป็นสารพิษที่ร้ายแรงต่อร่างกาย มักมีตะกั่วและโครเมียมอยู่ เช่น สีย้อมผ้า

i_butterfly_syellow.gifi_butterfly_spink.gifสารพิษปนเปื้อนในอาหารที่ควรทราบมีดังนี้

                1.ดินประสิว (โพแทกเซียมไนเตรต)มีสูตรเคมีKMO3 นิยมใส่ในอาหารประเภทเนื้อหมู  เนื้อปลา  
เนื้อวัว    ทำเนื้อเปื่อย  สีสวย  รสดี  และเก็บไว้ได้นาน  ซึ่งเป็นสารที่ก่อให้เกิดสารไนโตรซามีน(nitrosamine)ซึ่งเป็นสารก่อให้เกิดมะเร็ง

                2.ปรอท  พิษของสารปรอทที่ไปสะสมในสมอง  ทำให้ประสาทหลอน  ความจำเสื่อม  เป็นอัมพาต
เด็กในครรภ์ประสาทจะถูกทำลาย  นิ้วมือหงิกงอ  ปัญญาอ่อน  และอาจตายได้  อาการเช่นนี้เรียกว่า  
โรคมินามาตะ

                3.ตะกั่ว  พิษตะกั่วเกิดจากสีและไอเสียรถยนต์  จะทำลายเซลล์สมอง  ทำลายเม็ดเลือดแดง  ปวดศีรษะ
และอาจตายได้

                4.โครเมียม  สารประกอบของโครเมียมใช้ทำสีย้อม  พิษของโคเมียมเป็นอันตรายต่อผิวหนังและปอด

                5.แคดเมียม  มีพิษต่อปอดและไต  ทำให้เกิดโรคอิไต-อิไต

                6.สารหนุ  ทำให้เกิดโรคไข้ดำ  มีอาการเจียน  ปวดท้องรุนแรง  เป็นตะคริว

                7.สารกันบูด  สารที่นิยมใช้เป็นสารกันบูด  ได้แก่  กรดซาลิวาลิก  กรอดบอริก  และดวเดียมเบนโซเอต

                8.น้ำประสานทองหรือบอแร็กซ์  มีชื่อทางเคมีว่า  “โซเดียมบอเรต (sodium borate)”  ชาวบ้าน  เรียกว่า  “ผงกรอบ”  หรือคนจีนเรียกว่า  “เพ่งแช”  ใช้ใส่ลูกชิ้น  แป้งกรอบ  ทำให้ไตอักเสบได้

                9.ผงเนื้อนุ่ม  คือบอแรกซ์ผสมโซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนต  สารนี้ซึมเข้าสู่ผิวหนังได้  ทำให้เกิดอาการคล้ายเยื่อหุ้มสมองอักเสบ  มีพิษต่อไตและเซลล์ต่างๆของร่างกาย

                10.น้ำตาลเทียม  คือสารให้ความหวานแต่ไม่ใช่น้ำตาล  เช่น

-       ซอร์บิทอล  หวานกว่าน้ำตาลทราย 2 ใน 3 เท่า

-       ไซคลาเมต  หวานกว่าน้ำตาลทราย 30 เท่า

-       แอสพาร์เทม  หวานกว่าน้ำตาลทราย 180 เท่า  ใช้แทนน้ำตาลในเครื่องดื่ม  ลูกกวาด  หมากฝรั่ง

-       ขัณฑสกรหรือแช็กคาริน  หวานกว่าน้ำตาลทราย 550 เท่า  เป็นน้ำตาลเทียม  ถ้ารับประทานมากจะเกิดอาการคลื่นไส้  อาเจียน  ท้องเดิน  ชัก  ใช้แทนน้ำตาลทรายสำหรับผู้ป่วยเป็นโรคเบาหวานและผู้ที่อ้วนมาก

  f_octopus_blue.gifอาหารบางชนิดเป็นพิษต่อผู้บริโภค  ซึ่งอาการที่เกิดจากสารพิษแต่ละชนิดจำแนกได้ 2 ลักษณะ  คือ

1.  อาการเป็นพิษแบบเฉียบพลัน  คือการเกิดอาการเป็นพิษภายหลังจากรับประทานอาหารนั้นๆเข้าไปไม่
นานนักภายในเวลา 2-6 ชั่วโมง  ลักษณะอาการที่พบ  คือ  ท้องเสียรุนแรง  คลื่นไส้  หายใจไม่ออก  เป็นอัมพาตในเวลารวดเร็ว  อาจถึงตายได้

2.  อาการเป็นพิษแบบเรื้อรัง  คือการเกิดอาการเป็นพิษเนื่องจากรับประทานอาหารที่มีสิ่งเป็นพิษปะปนอยู่ในปริมาณน้อยและมีการสะสมอย่างต่อเนื่องมากขึ้นทุกวันจนมีปริมาณสารพิษในร่างกายมากขึ้น  อาการจึงจะแสดงออกมาตามลักษณะอาการของพิษและชนิดของสาร

f_inkfish.gifแนวทางการปฏิบัติตนให้ปลอดภัยจากสารปนเปื้อนในอาหาร  มีดังนี้

1.  เลือกซื้ออาหารที่มั่นใจว่าไม่มีสารพิษเจือปน

2.  แช่ผักและผลไม้ในสารละลายน้ำส้มสายชูหรือสารละลายด่างทับทิมก่อนนำมารับประทานทุกครั้ง

3.  เลือกรับประทานอาหารที่ใช้สีปรุงแต่งจากธรรมชาติ

4.  เลือกซื้อสินค้าที่ได้รับอนุญาตจากองค์การอาหารและยา  กระทรวงสาธารณสุข  เพื่อ       รับรองความปลอดภัยของอาหารนั้นๆ

a_cathead_grayblue.gifการรับประทานอาหารให้ถูกสัดส่วน

        ในแต่ละวันร่างกายของมนุษย์เราต้องการพลังงานจากอาหารเพื่อนำไปใช้ในกิจกรรมต่างๆในปริมาณท
ี่แตกต่างกัน  ซึ่งพลังงานที่ใช้ในกิจกรรมแต่ละอย่างแตกต่างกันขึ้นอยู่กับเพศ  วัย  สภาพร่างกาย  และกิจกรรม
ของแต่ละบุคคล  ดังนี้

        1.  ความแตกต่างของเพศ  เพศชายต้องการปริมาณอาหารมากกว่าเพศหญิง  เนื่องจากการทำกิจกรรมและการใช้พลังงานของเพศชายมากกว่าเพศหญิง

        2.  ความแตกต่างของวัย  วัยต่างกันต้องการปริมาณอาหารที่แตกต่างกัน  เนื่องจากการเจริญเติบโตและการ
ทำกิจกรรมต่างกัน

        3.  ความแตกต่างของสภาพร่างกาย  หญิงในระยะตั้งครรภ์หรือระยะให้นมบุตร  ต้องการสารอาหารทุก
ประเภทในปริมาณสูงกว่าปกติ  โดยเฉพาะแคลเซียมและฟอสฟอรัส  เป็นแร่ธาตุที่ต้องการในปริมาณสูงเพราะสารอาหารที่รีบประทานเข้าไปส่วนหนึ่งจะถูกนำไปใช้ในการเจริญเติบโตของทารกในครรภ์และการผลิต
น้ำนม

 ตัวอย่าง

นการทำกิจกรรมจะเห็นว่า  กิจกรรมแต่ละอย่างใช้พลังงานแตกต่างกัน  นอกจากนั้นเพศชายและเพศหญิงที่ทำกิจกรรมอย่างเดียวกันยังใช้พลังงานในการทำกิจกรรมไม่เท่ากัน          โดยปกติเพศชายจะใช้พลังงานมากกว่า
เพศหญิง  ซึ่งสามารถคำนวณหาค่าพลังงานที่ใช้ในการทำกิจกรรมต่างๆได้ดังนี้ (ขับรถ 1 ชั่วโมง ใช้พลังงาน 2.23 kcal , ว่ายน้ำ 1 ชม.  ใช้พลังงาน  4.37 kcal  )

ตัวอย่าง  แอนนาหนัก 50 กก.  ขับรถ 2 ชม.  แล้วไปว่ายน้ำ 1 ชม.  แอนนาใช้พลังงานไปเท่าไร

วิธีทำ            ขับรถ 1 ชม.  ใช้พลังงาน            =  2.23            kcal

                     ว่ายน้ำ 1 ชม.  ใช้พลังงาน          =  4.37             kcal

        หาพลังงานที่ใช้ในการขับรถ

        แอนนาหนัก 1 kg  ขับรถ 1 ชม. ใช้พลังงาน                   =  2.23                        kcal

        แอนนาหนัก 50  kg  ขับรถ 1 ชม. ใช้พลังงาน                =  2.23 x 50               kcal

        แอนนาหนัก 50  kg  ขับรถ 2 ชม. ใช้พลังงาน                =  2.23 x 50 x 2        kcal

        ดังนั้นแอนนาใช้พลังงานในการขับรถ                            =  223                       kcal

        หาพลังงานที่ใช้ในการว่ายน้ำ

        แอนนาหนัก 1 kg  ว่ายน้ำ 1 ชม. ใช้พลังงาน                =  4.37                         kcal

        แอนนาหนัก 50 kg  ว่ายน้ำ 1 ชม. ใช้พลังงาน             =  4.37 x 50                  kcal

        ดังนั้นแอนนาใช้พลังงานในการว่ายน้ำ                       =  218.5                        kcal

        ดังนั้นแอนนาใช้พลังงานไปทั้งหมด                           =  223 + 218.5 = 441.5 kcal

 

 

ศึกษาข้อมูลทั้งหมด คลิกที่นี่

จำนวนผู้เข้าใช้งาน
ตั้งแต่วันศุกร์ที่ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2547

thaigoodview.com Version 12.0
บริหารและจัดการโดยทีมงานชาวมัธยมศึกษา

สร้างโดย: 
ครูนงคราญ ธาราทิพยกุล โรงเรียนศึกษานารี เขตธนบุรี กรุงเทพฯ

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 202 คน กำลังออนไลน์