• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:f4c6269a525a56aad47e147a893b6c2b' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><span style=\"font-size: 16px; color: #000000\" class=\"Apple-style-span\"></span><br />\n<tr valign=\"top\">\n<td style=\"font: normal normal normal 12px/normal Tahoma; color: #000000; background-color: #ffffff; padding: 15px\" class=\"content\">\n<table align=\"center\" border=\"0\" cellspacing=\"0\" cellpadding=\"0\" width=\"100%\">\n<tbody>\n<tr>\n<td style=\"font: normal normal normal 12px/normal Tahoma; color: #000000\"><span style=\"font: normal normal normal 14px/normal Tahoma; font-weight: bold; display: inline; color: #a46e05\" class=\"h1\">อาณาจักรโบราณ</span><br />\n<p style=\"font: normal normal normal 12px/normal Tahoma; color: #000000; margin-top: 0in; margin-right: 0in; margin-bottom: 0pt; margin-left: 0in; text-align: justify\" class=\"MsoNormal\"> <b><span style=\"font-size: 12pt; font-family: \'Microsoft Sans Serif\'\" lang=\"TH\">ความสัมพันธ์ของเมืองนครศรีธรรมราชกับอาณาจักรโบราณ</span></b><b><span style=\"font-size: 12pt; font-family: \'Microsoft Sans Serif\'\"><o:p></o:p></span></b> </p>\n<p style=\"font: normal normal normal 12px/normal Tahoma; color: #000000; margin-top: 12pt; margin-right: 0in; margin-bottom: 0pt; margin-left: 0in; text-indent: 56.9pt\" class=\"MsoNormal\"> <b><span style=\"font-size: 12pt; font-family: \'Microsoft Sans Serif\'\">1.<span>  </span><span lang=\"TH\">การเป็นสหพันธรัฐของอาณาจักรศรีวิชัย<span> </span></span><o:p></o:p></span></b> </p>\n<p style=\"font: normal normal normal 12px/normal Tahoma; color: #000000; margin-top: 0in; margin-right: 0in; margin-bottom: 0pt; margin-left: 0in; text-align: justify\" class=\"MsoNormal\"> <span style=\"font-size: 12pt; font-family: \'Microsoft Sans Serif\'\"><span>            </span><span>    </span><span lang=\"TH\">ในพุทธศตวรรษที่ </span>13 <span lang=\"TH\">อาณาจักรศรีวิชัยเป็นอาณาจักรที่เข้าครอบครองดินแดนบริเวณตั้งแต่เกาะสุมาตราจนถึงเมืองไชยา </span>(<span lang=\"TH\">อำเภอไชยาจังหวัดสุราษฎร์ธานี</span>) <span lang=\"TH\">แต่เนื่องจากขณะนี้งานค้นคว้าเรื่องอาณาจักรศรีวิชัยยังไม่กว้างขวางมากพอ นักประวัติศาสตร์และโบราณคดีจึงไม่อาจสรุปได้ว่าอาณาจักรนี้มีราชธานีอยู่ที่ใด นอกจากสันนิษฐานเอาว่าน่าจะอยู่ที่ปาเล็มบัง<span>  </span>ประเทศอินโดนีเซียบ้าง<span>  </span>ที่ไชยาบ้าง<span>  </span>นักโบราณคดีบางกลุ่มให้ความเห็นว่าด้วยเหตุที่อาณาจักรศรีวิชัยมีอาณาเขตไพศาลมาก ดังนั้นน่าจะแบ่งการปกครองเป็นแคว้น ๆ รวม</span>3 <span lang=\"TH\">แคว้น<span>  </span>คือ แคว้นชวากลาง แคว้นสุมาตรา และแคว้นมลายูซึ่งมีการปกครองอยู่ที่ไชยา อาณาจักรศรีวิชัยได้ส่งทูตไปเจริญสัมพันธไมตรีกับจีนเป็นครั้งแรกเมื่อ พ</span>.<span lang=\"TH\">ศ</span>.1213 <span lang=\"TH\">จึงชวนให้เข้าใจว่าอาณาจักรนี้คงก่อตั้งขึ้นก่อนหน้านี้ไม่กี่ปี<span>  </span>ด้วยเหตุนี้อาณาจักรศรีวิชัยก่อตั้งและมีอิทธิพลมาถึงไชยา<span>  </span>จึงชวนให้เข้าใจว่าตามพรลิงค์คงกลายเป็นสหพันธ์รัฐของศรีวิชัยไปด้วย</span><o:p></o:p></span> </p>\n<p style=\"font: normal normal normal 12px/normal Tahoma; color: #000000; margin-top: 0in; margin-right: 0in; margin-bottom: 0pt; margin-left: 0in; text-align: justify\" class=\"MsoNormal\"> <span style=\"font-size: 12pt; font-family: \'Microsoft Sans Serif\'\"><span>            </span><span>     </span><span lang=\"TH\">ครั้นถึงต้นพุทธศตวรรษที่<span>  </span></span>17<span>  </span><span lang=\"TH\">อาณาจักรศรีวิชัยก็สลายไป<span>  </span>เพราะถูกอาณาจักรชวารุกราน<span>  </span>ขณะเดียวกันตามพรลิงค์ก็กลายเป็นรัฐอิสระ และมีอำนาจเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ</span><o:p></o:p></span> </p>\n<p style=\"font: normal normal normal 12px/normal Tahoma; color: #000000; margin-top: 0in; margin-right: 0in; margin-bottom: 0pt; margin-left: 0in; text-indent: 0.7in\" class=\"MsoNormal\"> <b><span style=\"font-size: 12pt; font-family: \'Microsoft Sans Serif\'\">2.<span>  </span><span lang=\"TH\">ความสัมพันธ์กับกรุงสุโขทัย</span><o:p></o:p></span></b> </p>\n<p style=\"font: normal normal normal 12px/normal Tahoma; color: #000000; margin-top: 0in; margin-right: 0in; margin-bottom: 0pt; margin-left: 0in; text-align: justify\" class=\"MsoNormal\"> <span style=\"font-size: 12pt; font-family: \'Microsoft Sans Serif\'\"><span>            </span><span>     </span><span lang=\"TH\">เมืองนครศรีธรรมราชกำเนิดและรุ่งเรืองมาก่อนอาณาจักรสุโขทัยจะเกิดขึ้น แต่</span><o:p></o:p></span> </p>\n<p style=\"font: normal normal normal 12px/normal Tahoma; color: #000000; margin-top: 0in; margin-right: 0in; margin-bottom: 0pt; margin-left: 0in; text-align: justify\" class=\"MsoNormal\"> <span style=\"font-size: 12pt; font-family: \'Microsoft Sans Serif\'\" lang=\"TH\">เมื่ออาณาจักรสุโขทัยรุ่งเรืองขึ้น นครศรีธรรมราชก็กลายเป็นเมืองประเทศราชของสุโขทัยในที่สุด<span>  </span>ลักษณะการเป็นเมืองขึ้นนั้นมิได้เกิดจากการที่สุโขทัยยกทัพไปปราบปราม เนื่องจากไม่ปรากฏหลักฐานการทำสงครามระหว่างนครศรีธรรมราชกับสุโขทัย<span>  </span>แต่คงเข้าลักษณะค่อยเป็นค่อยไป<span>  </span>และไม่อยู่ในลักษณะเมืองขึ้นที่ต้องส่งเครื่องราชบรรณาการประจำเหมือนเมืองอื่น ๆ<span> </span></span><span style=\"font-size: 12pt; font-family: \'Microsoft Sans Serif\'\"><o:p></o:p></span> </p>\n<p style=\"font: normal normal normal 12px/normal Tahoma; color: #000000; margin-top: 0in; margin-right: 0in; margin-bottom: 0pt; margin-left: 0in; text-align: justify\" class=\"MsoNormal\"> <span style=\"font-size: 12pt; font-family: \'Microsoft Sans Serif\'\"><span>            </span><span>      </span><span lang=\"TH\">ความสัมพันธ์ประการสำคัญระหว่างนครศรีธรรมราชกับสุโขทัย<span>  </span>คือ ความ</span><o:p></o:p></span> </p>\n<p style=\"font: normal normal normal 12px/normal Tahoma; color: #000000; margin-top: 0in; margin-right: 0in; margin-bottom: 0pt; margin-left: 0in; text-align: justify\" class=\"MsoNormal\"> <span style=\"font-size: 12pt; font-family: \'Microsoft Sans Serif\'\" lang=\"TH\">สัมพันธ์ทางศาสนา<span>  </span>มีหลักฐานกล่าวว่า<span>  </span>พระร่วงแห่งกรุงสุโขทัยได้เสด็จพระราชดำเนินไปขอพระพุทธสิหิงค์<span>  </span>เพราะทราบว่าประเทศลังกามีพระพุทธรูปนี้<span>   </span>จึงได้ตรัสสั่งให้พระเจ้าศิริธรรมราชซึ่งรู้จักกับพระเจ้ากรุงลังกา<span>  </span>ให้ส่งทูตไปบังคับเอาพระพุทธสิหิงค์จากลังกามา</span><span style=\"font-size: 12pt; font-family: \'Microsoft Sans Serif\'\"><o:p></o:p></span> </p>\n<p style=\"font: normal normal normal 12px/normal Tahoma; color: #000000; margin-top: 0in; margin-right: 0in; margin-bottom: 0pt; margin-left: 0in; text-align: justify\" class=\"MsoNormal\"> <span style=\"font-size: 12pt; font-family: \'Microsoft Sans Serif\'\"><span>            </span><span>       </span><span lang=\"TH\">นอกเหนือจากนี้พ่อขุนรามคำแหงยังได้อาราธนามหาเถรสังฆราชและปราชญ์</span><o:p></o:p></span> </p>\n<p style=\"font: normal normal normal 12px/normal Tahoma; color: #000000; margin-top: 0in; margin-right: 0in; margin-bottom: 0pt; margin-left: 0in\" class=\"MsoBodyText\"> <span style=\"font-size: 12pt; font-family: \'Microsoft Sans Serif\'\" lang=\"TH\">ทางศาสนาจากนครศรีธรรมราช<span>  </span>มาสั่งสอนเผยแพร่พุทธศาสนานิการหินยาน ลัทธิลังกาวงศ์ในสุโขทัยอีกด้วย</span><span style=\"font-size: 12pt; font-family: \'Microsoft Sans Serif\'\"><o:p></o:p></span> </p>\n<h3 style=\"margin-top: 0in; margin-right: 0in; margin-bottom: 0pt; margin-left: 0in\"><span style=\"font-size: 12pt; font-family: \'Microsoft Sans Serif\'\"><span> </span><span>         </span>3.<span>  </span><span lang=\"TH\">ความสัมพันธ์กับกรุงศรีอยุธยา</span><o:p></o:p></span></h3>\n<p style=\"font: normal normal normal 12px/normal Tahoma; color: #000000; margin-top: 0in; margin-right: 0in; margin-bottom: 0pt; margin-left: 0in; text-align: justify\" class=\"MsoNormal\"> <span style=\"font-size: 12pt; font-family: \'Microsoft Sans Serif\'\"><span>            </span><span>       </span><span lang=\"TH\">เมื่อกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานีของไทยใน<span>  </span>พ</span>.<span lang=\"TH\">ศ</span>. 1893<span>  </span><span lang=\"TH\">นครศรีธรรมราชก็กลาย</span><o:p></o:p></span> </p>\n<p style=\"font: normal normal normal 12px/normal Tahoma; color: #000000; margin-top: 0in; margin-right: 0in; margin-bottom: 0pt; margin-left: 0in; text-align: justify\" class=\"MsoNormal\"> <span style=\"font-size: 12pt; font-family: \'Microsoft Sans Serif\'\" lang=\"TH\">เป็นเมืองประเทศราชของกรุงศรีอยุธยา ครั้นถึงสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถได้ทรงเปลี่ยนฐานะเมืองนครศรีธรรมราชมาเป็นเมืองเอก<span>  </span>และควบคุมเมืองนครศรีธรรมราชไว้มากขึ้นโดยการส่งผู้ปกครองจากกรุงศรีอยุธยา<span>  </span>แทนการแต่งตั้งชาวนครศรีธรรมราชดังแต่ก่อน</span><span style=\"font-size: 12pt; font-family: \'Microsoft Sans Serif\'\"><o:p></o:p></span> </p>\n<p style=\"font: normal normal normal 12px/normal Tahoma; color: #000000; margin-top: 0in; margin-right: 0in; margin-bottom: 0pt; margin-left: 0in; text-align: justify\" class=\"MsoNormal\"> <span style=\"font-size: 12pt; font-family: \'Microsoft Sans Serif\'\"><span>            </span><span>      </span><span lang=\"TH\">ในสมัยสมเด็จพระนเรศวรยกกองทัพไปตีกัมพูชา<span>   </span>ใน<span>   </span>พ</span>.<span lang=\"TH\">ศ</span>.2136<span>  </span><span lang=\"TH\">เมือง</span><o:p></o:p></span> </p>\n<p style=\"font: normal normal normal 12px/normal Tahoma; color: #000000; margin-top: 0in; margin-right: 0in; margin-bottom: 0pt; margin-left: 0in; text-align: justify\" class=\"MsoNormal\"> <span style=\"font-size: 12pt; font-family: \'Microsoft Sans Serif\'\" lang=\"TH\">นครศรีธรรมราชก็มีหน้าที่จัดกำลังทัพเรือเข้าร่วมรบด้วย ครั้นถึงสมัยสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง<span>  </span>พ</span><span style=\"font-size: 12pt; font-family: \'Microsoft Sans Serif\'\">.<span lang=\"TH\">ศ</span>. 2172<span>  </span><span lang=\"TH\">เมืองนครศรีธรรมราชมีเจ้าเมืองเป็นชาวญี่ปุ่น<span>  </span>ยามาดา<span>  </span>นากามาซา<span>  </span>มีบรรดาศักดิ์เป็น<span>  </span>ออกญาเสนาภิมุข<span>  </span>เดิมออกญาเสนาภิมุขเป็นหัวหน้ากองกำลังญี่ปุ่นอยู่ในกรุงศรีอยุธยาในแผ่นดินพระอาทิตย์วงศ์<span>  </span>แต่เมื่อพระเจ้าปราสาททองซึ่งเดิมมีบรรดาศักดิ์เป็นเจ้าพระยากลาโหมสุริยวงศ์ต้องการชิงอำนาจจึงได้วางแผนกำจัดออกญาเสนาภิมุขเสีย โดยให้ออกไปเป็นเจ้าเมืองนครศรีธรรมราชจะได้ไม่กระทำการขัดขวาง ออกญาเสนาภิมุขออกไปอยู่นครศรีธรรมราชได้ไม่นานก็ถึงแก่อสัญกรรม<span>  </span>เพราะถูกยาพิษที่บาดแผล<span>  </span>ทหารญี่ปุ่นพร้อมออกขุนเสนาภิมุข </span>(<span lang=\"TH\">โอนิน</span>)<span>  </span><span lang=\"TH\">ผู้บุตรไม่อาจอยู่ในนครศรีธรรมราชได้เพราะขัดแย้งกับกรมเมือง และประชาชนอย่างรุนแรงถึงขั้นใช้อาวุธกัน</span><o:p></o:p></span> </p>\n<p style=\"font: normal normal normal 12px/normal Tahoma; color: #000000; margin-top: 0in; margin-right: 0in; margin-bottom: 0pt; margin-left: 0in; text-indent: 0.5in; text-align: justify\" class=\"MsoNormal\"> <span style=\"font-size: 12pt; font-family: \'Microsoft Sans Serif\'\"><span>             </span><span lang=\"TH\">เมืองนครศรีธรรมราชสงบมาระยะหนึ่ง<span>  </span>ครั้นถึงสมัยผลัดแผ่นดินพระเพทราชาได้ขึ้นครองราชย์ต่อจากพระนารายณ์มหาราช ใน พ</span>.<span lang=\"TH\">ศ</span>. 2227 <span lang=\"TH\">ก็เกิดการกบฏขึ้นโดยพระรามเดโชผู้เป็นเจ้าเมือง <span> </span>ไม่ยอมเข้าถวายน้ำพิพัฒน์สัตยาต่อพระเพทราชาถึง </span>3 <span lang=\"TH\">ปี<span>  </span>พระเพทราชาจึงให้ยกกองทัพบกและทัพเรือไปตีเมืองนครศรีธรรมราช<span>  </span>ปรากฏว่าต้องใช้เวลาปราบถึง<span>  </span></span>3<span>  </span><span lang=\"TH\">ปี<span>  </span>จึงสำเร็จ</span><o:p></o:p></span> </p>\n<p style=\"font: normal normal normal 12px/normal Tahoma; color: #000000; margin-top: 0in; margin-right: 0in; margin-bottom: 0pt; margin-left: 0in\" class=\"MsoNormal\"> <b><span style=\"font-size: 12pt; font-family: \'Microsoft Sans Serif\'\"><span> </span><span>         </span><span> </span>4.<span>  </span><span lang=\"TH\">ความสัมพันธ์กับกรุงธนบุรี</span><o:p></o:p></span></b> </p>\n<p style=\"font: normal normal normal 12px/normal Tahoma; color: #000000; margin-top: 0in; margin-right: 0in; margin-bottom: 0pt; margin-left: 0in\" class=\"MsoBodyText\"> <span style=\"font-size: 12pt; font-family: \'Microsoft Sans Serif\'\"><span>            </span><span>      </span><span lang=\"TH\">เมื่อกรุงศรีอยุธยาเสียแก่พม่าใน พ</span>.<span lang=\"TH\">ศ</span>. 2310 <span lang=\"TH\">ปลัดเมืองนครศรีธรรมราชซึ่งเข้าใจว่าชื่อ หนูได้ก่อตั้งชุมนุมคนไทยขึ้น เรียกว่าชุมนุมเจ้านคร มีอาณาเขตตั้งแต่ชุมพรจนถึงปะลิศ<span>  </span>แต่อยู่ได้<span>  </span></span>2<span>  </span><span lang=\"TH\">ปี<span>  </span>สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีปราบได้สำเร็จในปี พ</span>.<span lang=\"TH\">ศ</span>. 2312<span>  </span><span lang=\"TH\">แต่มิได้สำเร็จโทษเหมือนเจ้าชุมนุมอื่น ๆ<span>  </span>ภายหลังเจ้านคร<span>  </span></span>(<span lang=\"TH\">หนู</span>)<span>  </span><span lang=\"TH\">ก็ได้กลับมาครองเมืองนครศรีธรรมราชอีกครั้งหนึ่งในฐานะเจ้าประเทศราช<span>  </span>ทรงพระนามว่า<span>  </span>พระเจ้าขัตติราชนิคม<span>  </span>สมมติไหสวรรค์<span> </span>พระเจ้านครศรีธรรมราช</span><o:p></o:p></span> </p>\n<p style=\"font: normal normal normal 12px/normal Tahoma; color: #000000; margin-top: 0in; margin-right: 0in; margin-bottom: 0pt; margin-left: 0in\" class=\"MsoNormal\"> <b><span style=\"font-size: 12pt; font-family: \'Microsoft Sans Serif\'\"><span> </span><span>         </span><span> </span>5.<span>  </span><span lang=\"TH\">ความสัมพันธ์กับกรุงรัตน์โกสินทร์</span><o:p></o:p></span></b> </p>\n<p style=\"font: normal normal normal 12px/normal Tahoma; color: #000000; margin-top: 0in; margin-right: 0in; margin-bottom: 0pt; margin-left: 0in; text-align: justify\" class=\"MsoNormal\"> <span style=\"font-size: 12pt; font-family: \'Microsoft Sans Serif\'\"><span>            </span><span>       </span><span lang=\"TH\">เมื่อรัชกาลที่<span>  </span></span>1<span>  </span><span lang=\"TH\">แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ขึ้นครองราชย์ ได้โปรดให้ลดบรรดาศักดิ์</span><o:p></o:p></span> </p>\n<p style=\"font: normal normal normal 12px/normal Tahoma; color: #000000; margin-top: 0in; margin-right: 0in; margin-bottom: 0pt; margin-left: 0in; text-align: justify\" class=\"MsoNormal\"> <span style=\"font-size: 12pt; font-family: \'Microsoft Sans Serif\'\" lang=\"TH\">พระเจ้านครศรีธรรมราชจากเจ้าประเทศราชมาเป็นเจ้าพระยานคร<span>  </span>และภายหลังได้ปลดตำแหน่ง<span>  </span>แล้วโปรดเกล้า ฯ แต่งตั้งเจ้าพัฒน์ปลัดเมือง ขึ้นครองตำแหน่งเจ้าเมืองซึ่งมีบรรดาศักดิ์เป็นเจ้าพระยานครศรีธรรมราช<span>  </span>คนทั่วไปเรียกว่า<span>  </span>เจ้าพระยานคร<span>  </span></span><span style=\"font-size: 12pt; font-family: \'Microsoft Sans Serif\'\">(<span lang=\"TH\">พัฒน์</span>)<o:p></o:p></span> </p>\n<p style=\"font: normal normal normal 12px/normal Tahoma; color: #000000; margin-top: 0in; margin-right: 0in; margin-bottom: 0pt; margin-left: 0in; text-align: justify\" class=\"MsoNormal\"> <span style=\"font-size: 12pt; font-family: \'Microsoft Sans Serif\'\"><span>            </span><span>     </span><span lang=\"TH\">เจ้าเมืองนครศรีธรรมราชในสมัยรัตนโกสินทร์ ถึงสมัยปฏิรูปการบริหารราชการแผ่นดินนั้นมี<span>  </span></span>4<span>  </span><span lang=\"TH\">คน<span>  </span>คือ<span>  </span>เจ้าพระยานคร<span>  </span></span>(<span lang=\"TH\">พัฒน์</span>)<span>  </span><span lang=\"TH\">ถัดมาคือเจ้าพระยานคร<span>  </span></span>(<span lang=\"TH\">น้อย</span>)<span>  </span><span lang=\"TH\">ซึ่งกล่าวกันว่าเป็นโอรสของสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี<span>  </span>เจ้าเมืองผู้นี้นับว่าเป็นบุคคลสำคัญยิ่งในสมัยรัชกาลที่<span>  </span></span>2 – 3<span>  </span><span lang=\"TH\">เมื่อเจ้าพระยานคร<span>  </span></span>(<span lang=\"TH\">น้อย</span>)<span>  </span><span lang=\"TH\">ถึงแก่อสัญกรรมใน<span>  </span>พ</span>.<span lang=\"TH\">ศ</span>. 2382<span>  </span><span lang=\"TH\">ก็โปรดเกล้า ฯ แต่งตั้งบุตรขึ้นเป็น<span>  </span>พระยานครศรีธรรมราช<span>  </span></span>(<span lang=\"TH\">น้อยกลาง</span>)<span>  </span><span lang=\"TH\">และเมื่อถึงแก่อสัญกรรม ใน พ</span>.<span lang=\"TH\">ศ</span>. 2410<span>  </span><span lang=\"TH\">รัชกาลที่<span>  </span></span>5<span>  </span><span lang=\"TH\">ได้โปรดเกล้า ฯ ให้บุตร<span>  </span>คือ<span>  </span>พระเสน่หามนตรี<span>  </span></span>(<span lang=\"TH\">พร้อม</span>)<span>  </span><span lang=\"TH\">ขึ้นเป็นพระยาศรีธรรมราช<span>  </span>และเจ้าพระยาสุธรรมมนตรีในที่สุด</span><o:p></o:p></span> </p>\n<p style=\"font: normal normal normal 12px/normal Tahoma; color: #000000; margin-top: 0in; margin-right: 0in; margin-bottom: 0pt; margin-left: 0in; text-align: justify\" class=\"MsoNormal\"> <span style=\"font-size: 12pt; font-family: \'Microsoft Sans Serif\'\"><span>            </span><span>        </span><span lang=\"TH\">เมื่อเจ้าพระยาสุธรรมมนตรีถึงแก่อสัญกรรม<span>  </span>ใน<span>  </span>พ</span>.<span lang=\"TH\">ศ</span>. 2450<span>  </span><span lang=\"TH\">รัชกาลที่<span>  </span></span>5<span> </span><span lang=\"TH\">มิได้ทรงตั้งทายาทของพระเจ้าสุธรรมมนตรีเป็นเจ้าเมืองอีกต่อไป<span>  </span>เพราะพระองค์มีพระราชประสงค์ปรับปรุงระบบการปกครองส่วนภูมิภาคเสียใหม่ สำหรับหัวเมืองทางภาคใต้โปรดให้รวบรวมเมืองต่าง ๆ<span>  </span>เข้าเป็น </span>3 <span lang=\"TH\">มณฑล คือ มณฑลนครศรีธรรมราช<span>  </span>มณฑลภูเก็ต<span>  </span>และมณฑลชุมพร<span>  </span>สำหรับมณฑลนครศรีธรรมราช<span>  </span>โปรดเกล้า ฯ แต่งตั้งพระยาสุขุมนัยวินิจ<span>  </span></span>(<span lang=\"TH\">ปั้น<span> </span>สุขุม</span>)<span>  </span><span lang=\"TH\">เป็นข้าหลวงเทศาภิบาล</span><o:p></o:p></span> </p>\n<p style=\"font: normal normal normal 12px/normal Tahoma; color: #000000; margin-top: 0in; margin-right: 0in; margin-bottom: 0pt; margin-left: 0in; text-align: justify\" class=\"MsoNormal\"> <span style=\"font-size: 12pt; font-family: \'Microsoft Sans Serif\'\"><span>            </span><span>       </span><span lang=\"TH\">ครั้น พ</span>.<span lang=\"TH\">ศ</span>. 2458<span>  </span><span lang=\"TH\">รัชกาลที่<span>  </span></span>5<span>  </span><span lang=\"TH\">โปรดกล้า ฯ<span>  </span>แต่งตั้งเจ้าฟ้ายุคลทิฆัมพรกรมหลวงลพบุรีราเมศวร์เป็นอุปราชภาคใต้<span>  </span>เมื่อ พ</span>.<span lang=\"TH\">ศ</span>.2469 <span lang=\"TH\">ก็ยุบเลิกไป ครั้นถึง พ</span>.<span lang=\"TH\">ศ</span>.2475<span lang=\"TH\">เป็นต้นมา<span>  </span>นครศรีธรรมราชก็มีฐานะเป็นจังหวัดหนึ่งของประเทศไทยมาจนถึงทุกวันนี้</span><o:p></o:p></span> </p>\n<p style=\"font: normal normal normal 12px/normal Tahoma; color: #000000; margin-top: 0in; margin-right: 0in; margin-bottom: 0pt; margin-left: 0in; text-align: justify\" class=\"MsoNormal\"> <span style=\"font-size: 12pt; font-family: \'Microsoft Sans Serif\'\"><span>            </span><span>       </span><span lang=\"TH\">ประวัติความเป็นมาของนครศรีธรรมราชที่ได้กล่าวมาแล้ว<span>  </span>ย่อมแสดงให้เห็นว่า</span><o:p></o:p></span> </p>\n<p style=\"font: normal normal normal 12px/normal Tahoma; color: #000000; margin-top: 0in; margin-right: 0in; margin-bottom: 0pt; margin-left: 0in; text-align: justify\" class=\"MsoNormal\"> <span style=\"font-size: 12pt; font-family: \'Microsoft Sans Serif\'\" lang=\"TH\">นครศรีธรรมราชเคยเป็นเมืองและเป็นอาณาจักรที่ยิ่งใหญ่ในภูมิภาคแหลมอินโดจีนมาก่อน<span> </span>เมืองอื่น ๆ<span>  </span>หลายเมืองในประเทศไทย เคยมีความสำคัญและมีอิทธิพลต่อเมืองข้างเคียงอย่างมากมายรวมทั้งต่อสุโขทัย<span>   </span>ซึ่งถือว่าเป็นราชธานีแห่งแรกของไทย<span>  </span>เคยมีความเจริญรุ่งเรืองทางด้านการปกครอง<span>  </span>การทหาร<span>  </span>การศาสนา<span>  </span>การเศรษฐกิจ<span>  </span>สังคมและวัฒนธรรมอย่างมาก<span> </span>แต่แล้วเมื่อยุคแห่งความเจริญรุ่งเรืองได้ผ่านไป นครศรีธรรมราชก็กลายเป็นจังหวัดหนึ่งในราชอาณาจักรไทยที่ยังคงทิ้งร่องรอยของความรุ่งเรืองเอาไว้ให้อนุชนชาวนครศรีธรรมราช<span>  </span>ได้ภาคภูมิใจทุกครั้งที่มองเห็นหรือรำลึกถึง</span><span style=\"font-size: 12pt; font-family: \'Microsoft Sans Serif\'\"><o:p></o:p></span> </p>\n</td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n<p> <br />\n<div style=\"font: normal normal normal 12px/normal Tahoma; color: #000000\" align=\"left\"> <b><br /> </b> </div>\n<table border=\"0\" cellspacing=\"0\" cellpadding=\"0\" width=\"100%\"> </table>\n</p><p> </p></td>\n</tr>\n</p>', created = 1728203000, expire = 1728289400, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:f4c6269a525a56aad47e147a893b6c2b' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม


อาณาจักรโบราณ

ความสัมพันธ์ของเมืองนครศรีธรรมราชกับอาณาจักรโบราณ

1.  การเป็นสหพันธรัฐของอาณาจักรศรีวิชัย 

                ในพุทธศตวรรษที่ 13 อาณาจักรศรีวิชัยเป็นอาณาจักรที่เข้าครอบครองดินแดนบริเวณตั้งแต่เกาะสุมาตราจนถึงเมืองไชยา (อำเภอไชยาจังหวัดสุราษฎร์ธานีแต่เนื่องจากขณะนี้งานค้นคว้าเรื่องอาณาจักรศรีวิชัยยังไม่กว้างขวางมากพอ นักประวัติศาสตร์และโบราณคดีจึงไม่อาจสรุปได้ว่าอาณาจักรนี้มีราชธานีอยู่ที่ใด นอกจากสันนิษฐานเอาว่าน่าจะอยู่ที่ปาเล็มบัง  ประเทศอินโดนีเซียบ้าง  ที่ไชยาบ้าง  นักโบราณคดีบางกลุ่มให้ความเห็นว่าด้วยเหตุที่อาณาจักรศรีวิชัยมีอาณาเขตไพศาลมาก ดังนั้นน่าจะแบ่งการปกครองเป็นแคว้น ๆ รวมแคว้น  คือ แคว้นชวากลาง แคว้นสุมาตรา และแคว้นมลายูซึ่งมีการปกครองอยู่ที่ไชยา อาณาจักรศรีวิชัยได้ส่งทูตไปเจริญสัมพันธไมตรีกับจีนเป็นครั้งแรกเมื่อ พ..1213 จึงชวนให้เข้าใจว่าอาณาจักรนี้คงก่อตั้งขึ้นก่อนหน้านี้ไม่กี่ปี  ด้วยเหตุนี้อาณาจักรศรีวิชัยก่อตั้งและมีอิทธิพลมาถึงไชยา  จึงชวนให้เข้าใจว่าตามพรลิงค์คงกลายเป็นสหพันธ์รัฐของศรีวิชัยไปด้วย

                 ครั้นถึงต้นพุทธศตวรรษที่  17  อาณาจักรศรีวิชัยก็สลายไป  เพราะถูกอาณาจักรชวารุกราน  ขณะเดียวกันตามพรลิงค์ก็กลายเป็นรัฐอิสระ และมีอำนาจเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ

2.  ความสัมพันธ์กับกรุงสุโขทัย

                 เมืองนครศรีธรรมราชกำเนิดและรุ่งเรืองมาก่อนอาณาจักรสุโขทัยจะเกิดขึ้น แต่

เมื่ออาณาจักรสุโขทัยรุ่งเรืองขึ้น นครศรีธรรมราชก็กลายเป็นเมืองประเทศราชของสุโขทัยในที่สุด  ลักษณะการเป็นเมืองขึ้นนั้นมิได้เกิดจากการที่สุโขทัยยกทัพไปปราบปราม เนื่องจากไม่ปรากฏหลักฐานการทำสงครามระหว่างนครศรีธรรมราชกับสุโขทัย  แต่คงเข้าลักษณะค่อยเป็นค่อยไป  และไม่อยู่ในลักษณะเมืองขึ้นที่ต้องส่งเครื่องราชบรรณาการประจำเหมือนเมืองอื่น ๆ 

                  ความสัมพันธ์ประการสำคัญระหว่างนครศรีธรรมราชกับสุโขทัย  คือ ความ

สัมพันธ์ทางศาสนา  มีหลักฐานกล่าวว่า  พระร่วงแห่งกรุงสุโขทัยได้เสด็จพระราชดำเนินไปขอพระพุทธสิหิงค์  เพราะทราบว่าประเทศลังกามีพระพุทธรูปนี้   จึงได้ตรัสสั่งให้พระเจ้าศิริธรรมราชซึ่งรู้จักกับพระเจ้ากรุงลังกา  ให้ส่งทูตไปบังคับเอาพระพุทธสิหิงค์จากลังกามา

                   นอกเหนือจากนี้พ่อขุนรามคำแหงยังได้อาราธนามหาเถรสังฆราชและปราชญ์

ทางศาสนาจากนครศรีธรรมราช  มาสั่งสอนเผยแพร่พุทธศาสนานิการหินยาน ลัทธิลังกาวงศ์ในสุโขทัยอีกด้วย

          3.  ความสัมพันธ์กับกรุงศรีอยุธยา

                   เมื่อกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานีของไทยใน  .. 1893  นครศรีธรรมราชก็กลาย

เป็นเมืองประเทศราชของกรุงศรีอยุธยา ครั้นถึงสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถได้ทรงเปลี่ยนฐานะเมืองนครศรีธรรมราชมาเป็นเมืองเอก  และควบคุมเมืองนครศรีธรรมราชไว้มากขึ้นโดยการส่งผู้ปกครองจากกรุงศรีอยุธยา  แทนการแต่งตั้งชาวนครศรีธรรมราชดังแต่ก่อน

                  ในสมัยสมเด็จพระนเรศวรยกกองทัพไปตีกัมพูชา   ใน   ..2136  เมือง

นครศรีธรรมราชก็มีหน้าที่จัดกำลังทัพเรือเข้าร่วมรบด้วย ครั้นถึงสมัยสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง  .. 2172  เมืองนครศรีธรรมราชมีเจ้าเมืองเป็นชาวญี่ปุ่น  ยามาดา  นากามาซา  มีบรรดาศักดิ์เป็น  ออกญาเสนาภิมุข  เดิมออกญาเสนาภิมุขเป็นหัวหน้ากองกำลังญี่ปุ่นอยู่ในกรุงศรีอยุธยาในแผ่นดินพระอาทิตย์วงศ์  แต่เมื่อพระเจ้าปราสาททองซึ่งเดิมมีบรรดาศักดิ์เป็นเจ้าพระยากลาโหมสุริยวงศ์ต้องการชิงอำนาจจึงได้วางแผนกำจัดออกญาเสนาภิมุขเสีย โดยให้ออกไปเป็นเจ้าเมืองนครศรีธรรมราชจะได้ไม่กระทำการขัดขวาง ออกญาเสนาภิมุขออกไปอยู่นครศรีธรรมราชได้ไม่นานก็ถึงแก่อสัญกรรม  เพราะถูกยาพิษที่บาดแผล  ทหารญี่ปุ่นพร้อมออกขุนเสนาภิมุข (โอนิน)  ผู้บุตรไม่อาจอยู่ในนครศรีธรรมราชได้เพราะขัดแย้งกับกรมเมือง และประชาชนอย่างรุนแรงถึงขั้นใช้อาวุธกัน

             เมืองนครศรีธรรมราชสงบมาระยะหนึ่ง  ครั้นถึงสมัยผลัดแผ่นดินพระเพทราชาได้ขึ้นครองราชย์ต่อจากพระนารายณ์มหาราช ใน พ.. 2227 ก็เกิดการกบฏขึ้นโดยพระรามเดโชผู้เป็นเจ้าเมือง  ไม่ยอมเข้าถวายน้ำพิพัฒน์สัตยาต่อพระเพทราชาถึง ปี  พระเพทราชาจึงให้ยกกองทัพบกและทัพเรือไปตีเมืองนครศรีธรรมราช  ปรากฏว่าต้องใช้เวลาปราบถึง  3  ปี  จึงสำเร็จ

           4.  ความสัมพันธ์กับกรุงธนบุรี

                  เมื่อกรุงศรีอยุธยาเสียแก่พม่าใน พ.. 2310 ปลัดเมืองนครศรีธรรมราชซึ่งเข้าใจว่าชื่อ หนูได้ก่อตั้งชุมนุมคนไทยขึ้น เรียกว่าชุมนุมเจ้านคร มีอาณาเขตตั้งแต่ชุมพรจนถึงปะลิศ  แต่อยู่ได้  2  ปี  สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีปราบได้สำเร็จในปี พ.. 2312  แต่มิได้สำเร็จโทษเหมือนเจ้าชุมนุมอื่น ๆ  ภายหลังเจ้านคร  (หนู)  ก็ได้กลับมาครองเมืองนครศรีธรรมราชอีกครั้งหนึ่งในฐานะเจ้าประเทศราช  ทรงพระนามว่า  พระเจ้าขัตติราชนิคม  สมมติไหสวรรค์ พระเจ้านครศรีธรรมราช

           5.  ความสัมพันธ์กับกรุงรัตน์โกสินทร์

                   เมื่อรัชกาลที่  1  แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ขึ้นครองราชย์ ได้โปรดให้ลดบรรดาศักดิ์

พระเจ้านครศรีธรรมราชจากเจ้าประเทศราชมาเป็นเจ้าพระยานคร  และภายหลังได้ปลดตำแหน่ง  แล้วโปรดเกล้า ฯ แต่งตั้งเจ้าพัฒน์ปลัดเมือง ขึ้นครองตำแหน่งเจ้าเมืองซึ่งมีบรรดาศักดิ์เป็นเจ้าพระยานครศรีธรรมราช  คนทั่วไปเรียกว่า  เจ้าพระยานคร  (พัฒน์)

                 เจ้าเมืองนครศรีธรรมราชในสมัยรัตนโกสินทร์ ถึงสมัยปฏิรูปการบริหารราชการแผ่นดินนั้นมี  4  คน  คือ  เจ้าพระยานคร  (พัฒน์)  ถัดมาคือเจ้าพระยานคร  (น้อย)  ซึ่งกล่าวกันว่าเป็นโอรสของสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี  เจ้าเมืองผู้นี้นับว่าเป็นบุคคลสำคัญยิ่งในสมัยรัชกาลที่  2 – 3  เมื่อเจ้าพระยานคร  (น้อย)  ถึงแก่อสัญกรรมใน  .. 2382  ก็โปรดเกล้า ฯ แต่งตั้งบุตรขึ้นเป็น  พระยานครศรีธรรมราช  (น้อยกลาง)  และเมื่อถึงแก่อสัญกรรม ใน พ.. 2410  รัชกาลที่  5  ได้โปรดเกล้า ฯ ให้บุตร  คือ  พระเสน่หามนตรี  (พร้อม)  ขึ้นเป็นพระยาศรีธรรมราช  และเจ้าพระยาสุธรรมมนตรีในที่สุด

                    เมื่อเจ้าพระยาสุธรรมมนตรีถึงแก่อสัญกรรม  ใน  .. 2450  รัชกาลที่  5 มิได้ทรงตั้งทายาทของพระเจ้าสุธรรมมนตรีเป็นเจ้าเมืองอีกต่อไป  เพราะพระองค์มีพระราชประสงค์ปรับปรุงระบบการปกครองส่วนภูมิภาคเสียใหม่ สำหรับหัวเมืองทางภาคใต้โปรดให้รวบรวมเมืองต่าง ๆ  เข้าเป็น มณฑล คือ มณฑลนครศรีธรรมราช  มณฑลภูเก็ต  และมณฑลชุมพร  สำหรับมณฑลนครศรีธรรมราช  โปรดเกล้า ฯ แต่งตั้งพระยาสุขุมนัยวินิจ  (ปั้น สุขุม)  เป็นข้าหลวงเทศาภิบาล

                   ครั้น พ.. 2458  รัชกาลที่  5  โปรดกล้า ฯ  แต่งตั้งเจ้าฟ้ายุคลทิฆัมพรกรมหลวงลพบุรีราเมศวร์เป็นอุปราชภาคใต้  เมื่อ พ..2469 ก็ยุบเลิกไป ครั้นถึง พ..2475เป็นต้นมา  นครศรีธรรมราชก็มีฐานะเป็นจังหวัดหนึ่งของประเทศไทยมาจนถึงทุกวันนี้

                   ประวัติความเป็นมาของนครศรีธรรมราชที่ได้กล่าวมาแล้ว  ย่อมแสดงให้เห็นว่า

นครศรีธรรมราชเคยเป็นเมืองและเป็นอาณาจักรที่ยิ่งใหญ่ในภูมิภาคแหลมอินโดจีนมาก่อน เมืองอื่น ๆ  หลายเมืองในประเทศไทย เคยมีความสำคัญและมีอิทธิพลต่อเมืองข้างเคียงอย่างมากมายรวมทั้งต่อสุโขทัย   ซึ่งถือว่าเป็นราชธานีแห่งแรกของไทย  เคยมีความเจริญรุ่งเรืองทางด้านการปกครอง  การทหาร  การศาสนา  การเศรษฐกิจ  สังคมและวัฒนธรรมอย่างมาก แต่แล้วเมื่อยุคแห่งความเจริญรุ่งเรืองได้ผ่านไป นครศรีธรรมราชก็กลายเป็นจังหวัดหนึ่งในราชอาณาจักรไทยที่ยังคงทิ้งร่องรอยของความรุ่งเรืองเอาไว้ให้อนุชนชาวนครศรีธรรมราช  ได้ภาคภูมิใจทุกครั้งที่มองเห็นหรือรำลึกถึง



มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 453 คน กำลังออนไลน์